SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Collaborative Technology = เทคโนโลยีททํางานรวมกัน
                                         ี่
สิ่งที่จะมาทําความรูจักกันในวันนี้ คือ Location Based Service (LBS)

Location Based Service (LBS) – คือ การบริการที่มีการบอกตําแหนง
เปนการใช Technology ของ Global Positioning System (หรือ GPS)
รวมกับเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อใหบริการตางๆ โดยระบุตาแหนงที่อยู
                                                   ํ
เพื่อความสะดวกในการติดตอและติดตาม ซึ่งวันนี้จะขอแนะนํา:
        1. GPS + RFID (Radio Frequency Identification)
        2. GPS + เทคโนโลยี mobile device (โทรศัพทมือถือ)
1. GPS + RFID (Radio Frequency Identification)

 RFID (อารเอฟไอดี) คืออะไร??
• RFID ยอมาจาก Radio Frequency Identification เปนระบบฉลากที่
นําเอาคลื่นวิทยุมาเปนพาหะในการสื่อสารขอมูล
• อุปกรณ RFID ประดิษฐขึ้นใชงานครั้งแรกในป ค.ศ. 1945 ทําหนาที่
เปนเครื่องมือดักจับสัญญาน โดย Leon Theremin สรางใหกับรัฐบาล
รัสเซีย
• พัฒนามาเปนระบบฉลากตั้งแตป ค.ศ. 1980
RFID System
RFID (อารเอฟไอดี) คืออะไร??

• ปจจุบัน RFID มีลักษณะเปนปายอิเล็กทรอนิกส (RFID Tag) ซึ่ง
นําไปฝงหรือติดอยูกับวัตถุตางๆ เชน ผลิตภัณฑ กลอง หรือสิ่งของใดๆ
• สามารถอานคาโดยใชเครื่องอานผานคลื่นวิทยุจากระยะหาง โดยไม
จําเปนตองอาศัยการสัมผัส (Contact-Less) หรือตองเห็นวัตถุนั้นๆ
• สามารถ ตรวจ ติดตามและบันทึกขอมูลที่ติดอยูกบปาย วาวัตถุ 1 ชิ้น
                                                  ั
นันคืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเปนผูผลิต ผลิตอยางไร ผลิตวันไหน และ
  ้                               
เมื่อไหร ประกอบไปดวยชิ้นสวนกี่ชิ้น และแตละชิ้นมาจากที่ไหน
RFID มีขอไดเปรียบเหนือกวาระบบบารโคดดังนี้

• สามารถบรรจุขอมูลไดมากกวา ทําใหสามารถแยกความแตกตางของ
สินคาไดมากกวา
• ความเร็วในการอานขอมูลจากแถบ RFID เร็วกวาการอานจากแถบ
บารโคดหลายสิบเทา
• สามารถสงขอมูลไปยังเครื่องรับไดโดยไมจําเปนตองนําไปจอในมุม
ที่เหมาะสมอยางการใชเครื่องอานบารโคด
• ความถูกตองของการอานขอมูลสูงกวาระบบบารโคด ( RFID อยูที่
ประมาณ 99.5 เปอรเซ็นต ระบบบารโคดอยูที่ 80 เปอรเซ็นต)
RFID มีขอไดเปรียบเหนือกวาระบบบารโคดดังนี้

• สามารถเขียนทับขอมูลได ทําใหนํากลับมาใชใหมไดซึ่งจะลดตนทุน
ของการผลิตปายสินคา ซึ่งคิดเปนประมาณ 5% ของรายรับของบริษัท
• สามารถขจัดปญหาที่เกิดขึ้นจากการอานขอมูลซ้ําที่อาจเกิดขึ้นจาก
ระบบบารโคด
• ความเสียหายของปายชื่อ (Tag) นอยกวาเนืองจากไมจําเปนตองติดไว
                                          ่
ภายนอกบรรจุภัณฑ
• ระบบความปลอดภัยสูงกวา ยากตอการปลอมแปลง-ลอกเลียนแบบ
• ทนทานตอความเปยกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก
ตัวอยางการนํา RFID มาใชงาน

• บัตรประจําตัวประชาชน บัตรพนักงาน
• บัตรเอทีเอ็ม บัตรสําหรับผานเขาออกหัองพัก บัตรจอดรถ
• บัตรทางดวน บัตรโดยสารรถไฟฟา บัตรโดยสารของสายการบิน
  บัตรจอดรถ
• ฉลากของสินคา ปดล็อคตูคอนแทนเนอร
• ฝงลงในตัวสัตวเพื่อบันทึกประวัติ การใหอาหาร การติดตามโรค
• บัตรผูปวย (บันทึกประวัตการรักษาผูปวย ติดตามการรักษาโรค)
                            ิ
• งานหองสมุด
การประยุกต RFID รวมกับ GPS กับงานดาน Logistics

ตัวอยางการติดตามตรวจสอบสินคา
บริษัท Dole ซึ่งเปนผูผลิตผักและผลไมรายใหญที่สุดในโลก ซึ่งมี
ผลิตภัณฑมากกวา 200 รายการ และสงสินคาไปยัง 90 ประเทศทั่วโลก
โดยมีบริษัทลูกคือ Dole Fresh Vegetables ซึ่งกําลังแกไขปญหาในการ
หาวิธีการหรือระบบติดตามผลิตภัณฑอาหารของตนอยางแมนยําและ
นาเชื่อถือ เพื่อปองกันไมใหถูกเรียกคืนสินคากลับเนืองจากมีปญหาการ
                                                      ่
ปนเปอน
การประยุกต RFID รวมกับ GPS กับงานดาน Logistics

ตัวอยางการติดตามตรวจสอบสินคา

เพื่อแกไขปญหานี้ บริษัทไดใชเทคโนโลยี RFID เพื่อติดตามสินคาจาก
แหลงผลิตไปยังปลายทาง ถาสินคาหีบหอใดมีปญหาจะสามารถสืบ
กลับไปวาเปนสินคาที่ผลิตมาจากแหลงใด และจะคืนสินคาเฉพาะ lot
นันๆ ทําใหลดการสูญเสียงบประมาณไดเปนจํานวนมาก
  ้
ระบบการติดตามตรวจสอบสินคาของบริษัท Dole

1.การติดตามวัตถุดบจากจุดที่ทําการเก็บเกี่ยวไปจนถึงหองเย็น
                   ิ
2. การติดตามวัตถุดบจากหองเก็บวัตถุดิบไปยังโรงงานผลิต
                     ิ
3. การติดตามวัตถุดบจากทางเขาโรงงานไปจนถึงสายการผลิต
                       ิ
4. การติดตามสถานะของการเคลือนที่ของวัตถุดบในขณะที่อยูใน
                              ่              ิ
กระบวนการผลิต การบรรจุหีบหอ ไปจนถึงการสงไปยังโกดังเก็บ
สินคาเพื่อรอการสงตอไป
การนํา GPS มาประยุกตใช

• ในการเก็บเกี่ยวผลผลิต จะใชตัวอาน RFID รุนที่รองรับระบบ
GPS เพื่อบันทึกพิกัดที่ไดทําการเก็บเกียวผลผลิต โดยบันทึกขอมูล
                                        ่
พิกัด ประเภทผลผลิต วันที่และเวลา และผูเก็บเกี่ยวลงใน Tags
• โดย Tags จะถูกติดเขากับลังของผลผลิตทําใหสามารถตรวจสอบ
เวลาที่ใชไปตั้งแตเริ่มการเก็บเกี่ยวจนถึงการนําผลผลิตเขาสูหองเย็น
• กอนหนาที่จะใชระบบนี้ บริษัทฯ รูเพียงแควาผลผลิตถูกเก็บเกียว่
จากแปลงไหนซึ่งเปนแคพื้นที่กวางๆ ประมาณ 15 ถึง 25 เอเคอร แต
ดวยการนําระบบ GPS เขามาใชดวย ทําใหสามารถระบุไดแคบลง
ไปอีก โดยมีรัศมีประมาณ 100 ฟุต
RFID Reader จะถูกติดตั้งไวที่ทางเขาของหองเย็นและที่เครื่องทําความเย็น
ซึ่งลังผลผลิตจะถูกอานเมื่อมาถึงหองเย็นนี้และตลอดเวลาเมื่ออยูในหองเย็น
ทําใหรูไดวาใชเวลาไปเทาไหรจากการเก็บเกี่ยวจนมาถึงหองเย็น ทําให
สามารถตรวจสอบคุณภาพของผลผลิตไดดกวาเดิมกอนใชระบบมาก
                                           ี
พนักงานของบริษัท Dole ใชเครื่องอาน Tags RFID เพื่อบันทึก
ตําแหนงที่เก็บเกียวผลผลิตโดยใชพิกัดจากระบบ GPS
                  ่
2. GPS + เทคโนโลยี mobile device (โทรศัพทมือถือ)
GPS + เทคโนโลยี โทรศัพทมือถือ - เปนการนําเอาเทคโนโลยี GPS มาใชกับ
โทรศัพทมือถือ โดยการบรรจุ hardware ดาน GPS และ software ที่สนับสนุนการ
ทํางานลงไปในสมารทโฟน (application ตางๆ) การทํางานแบงออกเปน 4 ดานหลักๆ
คือ แผนที่และการนําทาง, การติดตามเสนทาง, การใหบริการขอมูล และอื่นๆ
ผลการวิจัยดานพฤติกรรมของผูใชงานสมารทโฟน โดย Pew Internet
วัยทํางาน (ในสหรัฐอเมริกา)
-28% ใชงานฟงกชันกระบุตําแหนง Location Based Service (LBS)
ในสมารทโฟน
-12% ใชฟงกชันแผนที่ GeoTagging Service พื้นฐานของสมารท
โฟนที่ติดมากับตัวเครื่อง
-9% ใชบริการ Location Based Service เพื่อเชื่อมตอกับเครือขาย
สังคมออนไลนอยาง Facebook, Twitter และ LinkedIn เพื่อแสดง
พิกัดใหเหลาเพื่อนๆในเครือขายไดรูวา ขณะนีอยูที่ใด
                                              ้
-5% นิยมใชในการหาสถานที่ หรือบริการที่ตองการคนหาผาน
Social Media เชน Foursquare หรือ Gowalla
ผลการวิจัยดานพฤติกรรมของผูใชงานสมารทโฟน โดย Pew Internet

กลุมวัยรุนที่มีสมารทโฟน
• 55% นิยมใชคนหาขอมูล และบริการตางๆ ที่อยูใกลเคียงกับสถานที่
ของเขา
• 58% ใชแคระบุพิกัดเพื่อความเพลิดเพลินไมไดตองการประโยชน
• ผูใชงานสมารทโฟน ในชวงอายุ 18-49 ป มีแนวโนมมากกวา 50% ที่
จะใชบริการ Location Based Service และใหความสนใจในบริการ
ทั้งหมดที่เกียวของกับการระบุพิกัด
             ่
• ใชงานฟงกชันใดฟงกชันหนึ่งหรือสองอยาง แตจะไมครบทุกฟงกชัน
ขึ้นอยูกับความสามารถของสมารทโฟน
       
Social Media แบบ LBS
เชน Foursquare, Facebook Place , Gowalla , Google Latitude
• เอา Social Media มารวมเขากับระบบระบุตําแหนงอยาง GPS
ซึ่งผูใชงานสามารถ check in ตามสถานที่ตางๆ
• แชรสถานที่กับเพื่อนๆในเครือขายได
• หากเจาของสถานที่ เชน รานอาหาร หรือ รานขายของ มีการทํา
การตลาดกับกระแส LBS ก็จะมีการจัดทําโปรโมชั่นตางๆออกมา
ใหสิทธิพิเศษกับ คนที่ check in บอยๆ ซึ่งแอพพลิเคชั่นดังกลาว
ไดกลายเปนการปลุกกระแสการตลาดแบบ LBS ในโลกไซเบอร
ขึ้นมา
การบริการของ Location Based ในปจจุบัน มี 2 รูปแบบ คือ


1. Pull services เปนลักษณะการบริการที่ผูตองการใช
บริการเปนผูคนหาเอง เชน
- คนหารานอาหาร คนหาโรงแรมหรู
- การเรียกรถแท็กซี่ รถพยาบาล ขอมูลรถประจําทาง
-การคนหาธนาคาร
- ขอมูลสภาพการจราจร หรือการรายงานขาวจากที่เกิดเหตุ
การบริการของ Location Based ในปจจุบัน มี 2 รูปแบบ คือ


2. Push services เปนรูปแบบที่ขอมูลตางๆ ถูกสงโดยมี
การรองขอ หรือ ไมมีการรองขอก็ตามจากผูใชบริการ
- ปกติบริการจะเริ่มทํางานเมือ ผูใชเขาสูบริเวณที่ไดตั้งบริการไว
                             ่
เชน ตามงานแสดงสินคาไอทีตางๆ หากเขางานที่มีโปรโมชั่น
                                
พิเศษสินคาลดราคา โทรศัพทมือถือก็จะแจงโปรโมชั่นจากรานคา
ตางๆที่คุณอยูใกลบริเวณนั้น บางครั้งก็สงขอความเปน sms ยินดี
ตอนรับ ไปถึงโทรศัพทผูเขาชมงาน
เทรนดในโลกสังคมออนไลนทใช Location Based
                           ี่

เทรนดในโลกสังคมออนไลนที่ใช Location Based เชน
-การถายภาพอาหารขึ้น facebook twitter หรือ foursquare
พรอมแนบพิกัดบอกสถานที่ไปดวย เลาถึงรสชาติอาหาร และ
สถานที่รานอาหาร ก็เปนการชวยโปรโมตใหชวนเพื่อนๆเขามา
อุดหนุนรานอาหารนี้มากขึ้นไดดวย
- ใชเทคโนโลยี Location Based มารวมกับ Social Network มา
ใชในการโฆษณาตางๆมากขึ้น
ขอควรระวังในการใช Location Based


-คนอืนที่ไมตองการใหทราบขอมูลความเคลื่อนไหวของเรา
     ่       
จะสามารถติดตามการเดินทางของเราได เชน สามีตองระวัง
                                               
ภรรยาใชเครื่องมือ Location Based ในการติดตามสามีไป
สถานที่ตางๆ
- บางอยางอาจมีอนตรายตอเราได เชน พวกมิจฉาชีพใช
                 ั
Location Based ในการคอยหาโอกาสที่จะทํารายหรือทําการ
โจรกรรมทรัพยสิน
การทําการตลาดแบบ LBS

5 วิธีงายๆที่จะพากิจการเขาสูวงโคจรของการบริการแบบ LBS

        1.ใหลูกคายืนยันการเขาใชเพื่อรับสิทธิพิเศษ
        2.การใชบารโคด
        3.การจัดทําราคาพิเศษสําหรับหมูคณะ  
        4.การจัดแขงขันเพื่อรับสวนลด
        5.การทําขอเสนอใหลกคาเลือก
                              ู
1.ใหลูกคายืนยันการเขาใชเพื่อรับสิทธิพิเศษ

• ในโทรศัพทมือถือมีแอพพลิเคชั่นมากมายที่ผูประกอบการสามารถ
ใหลูกคาลงชื่อเขาใชเพื่อรับสิทธิพิเศษผานทางโทรศัพทมือถือ
• ผูประกอบการแคเอา QR Code ของกิจการแปะไวตรงไหนสักที่ใน
รานคา
• ใหลูกคาแสกนผานโทรศัพทมือถือเพื่อยืนยันการเขาใชสิทธิพิเศษ
• ผูประกอบการสามารถตรวจสอบไดวาลูกคาไดเขามาใชบริการ
รานคาของเราจริงหรือไม
2.การใชบารโคด

• สินคาแตละชิ้นลวนมีบารโคดเปนของตนเองอยูแลว
• ถาทําใหมันสามารถใชบริการแบบ LBS ไดก็จะยิ่งกระตุนการ
                                                      
ตัดสินใจซื้อของลูกคา
• มีหลายๆแอพพลิเคชั่นใน Smart Phone ยกตัวอยาง Bakado ใน
IPhone ที่ลูกคาสามารถแสกนบารโคดเกือบทุกประเภทบนตัว
สินคา เพื่อเปรียบเทียบราคาและอานรีวิวจากผูใชคนอืนๆ
                                                  ่
• ผูประกอบการยังสามารถออกตราสินคาผานทาง Bakudo เพื่อให
ลูกคาแสกนแลวรับสวนลดหรือแจกคูปองไดอีกดวย
3.การจัดทําราคาพิเศษเปนกลุม

• เปนวิธีที่บรรดาธุรกิจในละแวกเดียวกันรวมตัวกันเพื่อนําเสนอ
สวนลดพิเศษใหเมื่อลูกคามาใชบริการรานคาในกลุมเพื่อขยายการ
ซื้อซ้ําใหรานอืนๆ
                 ่
• โดยจะใหแตละรานนําเสนอสวนลดพิเศษซึ่งเมื่อลูกคามาใชบริการ
ในรานคาใดรานคาหนึ่งแลวก็จะไดสวนลดไปใชในรานตอไป
• ผูประกอบการยังสามารถซื้อซอฟตแวรสําเร็จรูปมาทําเอง หรือ
เชื่อมโยงกลุมทางเว็บไซตหรือเฟสบุคของกิจการได
4.การจัดแขงขันเพื่อรับสวนลด

• ธุรกิจตั้งกติกาตางๆ ขึ้นเองเพื่อดึงดูดผูบริโภคใหเขามารวมแขงขัน
เชน ระยะเวลา จํานวนสิทธิพิเศษ และแตมที่ลูกคาตองทํา
• เพื่อปลดล็อกสิทธิพิเศษที่จะได ทั้งลูกคาที่เขารวมยังสามารถ
ตรวจสอบคะแนนของตนจากในแอพพลิเคชั่นไดอีกดวย
• ยังมีเกมส SCVNGR ใน IPhone และ Android ที่คุณสามารถแสกน
QR Code โพสตรูปภาพสถานที่ หรือสงสัญลักษณอื่นๆซึ่งทางรานคา
ระบุเพื่อเขารวมการแขงขันไดอีกดวย
5.การทําขอเสนอใหลูกคาเลือก
• ความคิดนีเ้ กิดขึ้นสืบเนืองมาจากการเล็งเห็นความยุงยากจาก
                            ่
แคมเปญการตลาดสวนใหญที่มักสงอีเมลนําเสนอสิทธิพิเศษใหเฉพาะ
กลุมเปาหมายที่ตนสนใจเทานัน   ้
• โดยที่ไมรูวากลุมดังกลาวสนใจจริงๆหรือไม ที่สําคัญอาจมีลูกคาอืน่
สนใจแตไมไดรับขาวสาร
• เพื่อกาวขามขีดจํากัดดังกลาวโดยใหสมาชิก ทั้งผูซื้อและผูขายตาง
สามารถเลือกรับเฉพาะขาวสารที่ตนอยากจะรับไดตามใจชอบดวยการ
ตั้งสถานะการเชื่อมโยงผานทาง แอพพลิเคชั่นที่ผูประกอบการ
พัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ
ฝกลงจุดของสถานที่บน Google Map

ใหนักศึกษาเขาไปที่เวปไซต www.maps.google.co.th (โดยใช IE
อยาใช Chrome)
-คลิกที่ สถานที่ของฉัน
- คลิก สรางแผนที่
- ลงจุดที่ตองการดวย place mark
- คลิก เสร็จสิ้น บันทึก
- คลิกที่ KML
- ตั้งชื่อไฟลที่จะบันทึกเก็บไวใชงานตอไป (นามสกุล KML)

More Related Content

Viewers also liked (6)

Dc282-interface design
Dc282-interface designDc282-interface design
Dc282-interface design
 
1991 peters, palay, webster. the fine structure of the nervous system
1991 peters, palay, webster. the fine structure of the nervous system1991 peters, palay, webster. the fine structure of the nervous system
1991 peters, palay, webster. the fine structure of the nervous system
 
Dc102 digital media-text
Dc102 digital media-textDc102 digital media-text
Dc102 digital media-text
 
Chapter review
Chapter reviewChapter review
Chapter review
 
Neurocytology fine structure.... pannese, 1994
Neurocytology   fine structure.... pannese, 1994Neurocytology   fine structure.... pannese, 1994
Neurocytology fine structure.... pannese, 1994
 
การนำเสนอผ่านสื่อดิจิทัล Slide presentation
การนำเสนอผ่านสื่อดิจิทัล Slide presentationการนำเสนอผ่านสื่อดิจิทัล Slide presentation
การนำเสนอผ่านสื่อดิจิทัล Slide presentation
 

Similar to Present สด388

Rfid cloud solution
Rfid cloud solutionRfid cloud solution
Rfid cloud solution
Wirote Ng
 
Nfc technology1
Nfc technology1Nfc technology1
Nfc technology1
tanaterm
 
Nfc technology1
Nfc technology1Nfc technology1
Nfc technology1
tanaterm
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ป.ปลา ตากลม
 

Similar to Present สด388 (13)

การออกแบบและพัฒนาระบบบริหารสินค้าในร้านค้าปลีกบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ Android โด...
การออกแบบและพัฒนาระบบบริหารสินค้าในร้านค้าปลีกบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ Android โด...การออกแบบและพัฒนาระบบบริหารสินค้าในร้านค้าปลีกบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ Android โด...
การออกแบบและพัฒนาระบบบริหารสินค้าในร้านค้าปลีกบนโทรศัพท์เคลื่อนที่ Android โด...
 
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
เทคโนโลยี
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อกบทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
บทที่ 1 เทคโนโลยีสมัยใหม่เอาลงบล๊อก
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่+1 3..
บทที่+1 3..บทที่+1 3..
บทที่+1 3..
 
Rfid cloud solution
Rfid cloud solutionRfid cloud solution
Rfid cloud solution
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
Nfc technology1
Nfc technology1Nfc technology1
Nfc technology1
 
Android report
Android reportAndroid report
Android report
 
Nfc technology1
Nfc technology1Nfc technology1
Nfc technology1
 
Truecorporation
TruecorporationTruecorporation
Truecorporation
 
เทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 gเทคโนโลยี 4 g
เทคโนโลยี 4 g
 
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

More from ajpeerawich

Digital media animation
Digital media animationDigital media animation
Digital media animation
ajpeerawich
 
Dc102 internet&communication
Dc102 internet&communicationDc102 internet&communication
Dc102 internet&communication
ajpeerawich
 
Website for public_relations
Website for public_relationsWebsite for public_relations
Website for public_relations
ajpeerawich
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
ajpeerawich
 
Dc282 id interface-design2
Dc282 id interface-design2Dc282 id interface-design2
Dc282 id interface-design2
ajpeerawich
 
Dc282 universal design
Dc282 universal designDc282 universal design
Dc282 universal design
ajpeerawich
 
วิทยุออนไลน์ eRadio
วิทยุออนไลน์ eRadioวิทยุออนไลน์ eRadio
วิทยุออนไลน์ eRadio
ajpeerawich
 
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
ajpeerawich
 

More from ajpeerawich (20)

การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอนการสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
การสร้าง E book เพื่อประกอบการเรียนการสอน
 
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
ประวัติคณบดี รศ.ดร. วิทยา ดำรงเกียรติศักดิ์
 
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิตสิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
สิ่งดีดี...เกิดที่ใจ สารัตถะเพื่อดุลยภาพของชีวิต
 
Dc530 upload-photo-portfolio
Dc530 upload-photo-portfolioDc530 upload-photo-portfolio
Dc530 upload-photo-portfolio
 
Dc102 digital media-video
Dc102 digital media-videoDc102 digital media-video
Dc102 digital media-video
 
Dc102 digital media-sound
Dc102 digital media-soundDc102 digital media-sound
Dc102 digital media-sound
 
Digital media animation
Digital media animationDigital media animation
Digital media animation
 
Dc102 digital media-still image
Dc102 digital media-still imageDc102 digital media-still image
Dc102 digital media-still image
 
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
สื่ออินเทอร์เน็ตและเว็บไซต์
 
Dc102 internet&communication
Dc102 internet&communicationDc102 internet&communication
Dc102 internet&communication
 
Website for public_relations
Website for public_relationsWebsite for public_relations
Website for public_relations
 
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System ComputerDc102 Understanding Digital Media-System Computer
Dc102 Understanding Digital Media-System Computer
 
Dc282 id interface-design2
Dc282 id interface-design2Dc282 id interface-design2
Dc282 id interface-design2
 
Dc282 universal design
Dc282 universal designDc282 universal design
Dc282 universal design
 
วิทยุออนไลน์ eRadio
วิทยุออนไลน์ eRadioวิทยุออนไลน์ eRadio
วิทยุออนไลน์ eRadio
 
Dc381 project1
Dc381 project1Dc381 project1
Dc381 project1
 
Dc282 interaction
Dc282 interactionDc282 interaction
Dc282 interaction
 
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
Dc282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร2
 
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสารDC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
DC282 มนุษย์กับการรับรู้และการสื่อสาร
 
Dc282 hci technology
Dc282 hci technologyDc282 hci technology
Dc282 hci technology
 

Present สด388

  • 1. Collaborative Technology = เทคโนโลยีททํางานรวมกัน ี่ สิ่งที่จะมาทําความรูจักกันในวันนี้ คือ Location Based Service (LBS) Location Based Service (LBS) – คือ การบริการที่มีการบอกตําแหนง เปนการใช Technology ของ Global Positioning System (หรือ GPS) รวมกับเทคโนโลยีอื่นๆ เพื่อใหบริการตางๆ โดยระบุตาแหนงที่อยู ํ เพื่อความสะดวกในการติดตอและติดตาม ซึ่งวันนี้จะขอแนะนํา: 1. GPS + RFID (Radio Frequency Identification) 2. GPS + เทคโนโลยี mobile device (โทรศัพทมือถือ)
  • 2. 1. GPS + RFID (Radio Frequency Identification) RFID (อารเอฟไอดี) คืออะไร?? • RFID ยอมาจาก Radio Frequency Identification เปนระบบฉลากที่ นําเอาคลื่นวิทยุมาเปนพาหะในการสื่อสารขอมูล • อุปกรณ RFID ประดิษฐขึ้นใชงานครั้งแรกในป ค.ศ. 1945 ทําหนาที่ เปนเครื่องมือดักจับสัญญาน โดย Leon Theremin สรางใหกับรัฐบาล รัสเซีย • พัฒนามาเปนระบบฉลากตั้งแตป ค.ศ. 1980
  • 4. RFID (อารเอฟไอดี) คืออะไร?? • ปจจุบัน RFID มีลักษณะเปนปายอิเล็กทรอนิกส (RFID Tag) ซึ่ง นําไปฝงหรือติดอยูกับวัตถุตางๆ เชน ผลิตภัณฑ กลอง หรือสิ่งของใดๆ • สามารถอานคาโดยใชเครื่องอานผานคลื่นวิทยุจากระยะหาง โดยไม จําเปนตองอาศัยการสัมผัส (Contact-Less) หรือตองเห็นวัตถุนั้นๆ • สามารถ ตรวจ ติดตามและบันทึกขอมูลที่ติดอยูกบปาย วาวัตถุ 1 ชิ้น ั นันคืออะไร ผลิตที่ไหน ใครเปนผูผลิต ผลิตอยางไร ผลิตวันไหน และ ้  เมื่อไหร ประกอบไปดวยชิ้นสวนกี่ชิ้น และแตละชิ้นมาจากที่ไหน
  • 5.
  • 6.
  • 7. RFID มีขอไดเปรียบเหนือกวาระบบบารโคดดังนี้ • สามารถบรรจุขอมูลไดมากกวา ทําใหสามารถแยกความแตกตางของ สินคาไดมากกวา • ความเร็วในการอานขอมูลจากแถบ RFID เร็วกวาการอานจากแถบ บารโคดหลายสิบเทา • สามารถสงขอมูลไปยังเครื่องรับไดโดยไมจําเปนตองนําไปจอในมุม ที่เหมาะสมอยางการใชเครื่องอานบารโคด • ความถูกตองของการอานขอมูลสูงกวาระบบบารโคด ( RFID อยูที่ ประมาณ 99.5 เปอรเซ็นต ระบบบารโคดอยูที่ 80 เปอรเซ็นต)
  • 8. RFID มีขอไดเปรียบเหนือกวาระบบบารโคดดังนี้ • สามารถเขียนทับขอมูลได ทําใหนํากลับมาใชใหมไดซึ่งจะลดตนทุน ของการผลิตปายสินคา ซึ่งคิดเปนประมาณ 5% ของรายรับของบริษัท • สามารถขจัดปญหาที่เกิดขึ้นจากการอานขอมูลซ้ําที่อาจเกิดขึ้นจาก ระบบบารโคด • ความเสียหายของปายชื่อ (Tag) นอยกวาเนืองจากไมจําเปนตองติดไว ่ ภายนอกบรรจุภัณฑ • ระบบความปลอดภัยสูงกวา ยากตอการปลอมแปลง-ลอกเลียนแบบ • ทนทานตอความเปยกชื้น แรงสั่นสะเทือน การกระทบกระแทก
  • 9. ตัวอยางการนํา RFID มาใชงาน • บัตรประจําตัวประชาชน บัตรพนักงาน • บัตรเอทีเอ็ม บัตรสําหรับผานเขาออกหัองพัก บัตรจอดรถ • บัตรทางดวน บัตรโดยสารรถไฟฟา บัตรโดยสารของสายการบิน บัตรจอดรถ • ฉลากของสินคา ปดล็อคตูคอนแทนเนอร • ฝงลงในตัวสัตวเพื่อบันทึกประวัติ การใหอาหาร การติดตามโรค • บัตรผูปวย (บันทึกประวัตการรักษาผูปวย ติดตามการรักษาโรค) ิ • งานหองสมุด
  • 10. การประยุกต RFID รวมกับ GPS กับงานดาน Logistics ตัวอยางการติดตามตรวจสอบสินคา บริษัท Dole ซึ่งเปนผูผลิตผักและผลไมรายใหญที่สุดในโลก ซึ่งมี ผลิตภัณฑมากกวา 200 รายการ และสงสินคาไปยัง 90 ประเทศทั่วโลก โดยมีบริษัทลูกคือ Dole Fresh Vegetables ซึ่งกําลังแกไขปญหาในการ หาวิธีการหรือระบบติดตามผลิตภัณฑอาหารของตนอยางแมนยําและ นาเชื่อถือ เพื่อปองกันไมใหถูกเรียกคืนสินคากลับเนืองจากมีปญหาการ ่ ปนเปอน
  • 11. การประยุกต RFID รวมกับ GPS กับงานดาน Logistics ตัวอยางการติดตามตรวจสอบสินคา เพื่อแกไขปญหานี้ บริษัทไดใชเทคโนโลยี RFID เพื่อติดตามสินคาจาก แหลงผลิตไปยังปลายทาง ถาสินคาหีบหอใดมีปญหาจะสามารถสืบ กลับไปวาเปนสินคาที่ผลิตมาจากแหลงใด และจะคืนสินคาเฉพาะ lot นันๆ ทําใหลดการสูญเสียงบประมาณไดเปนจํานวนมาก ้
  • 12. ระบบการติดตามตรวจสอบสินคาของบริษัท Dole 1.การติดตามวัตถุดบจากจุดที่ทําการเก็บเกี่ยวไปจนถึงหองเย็น ิ 2. การติดตามวัตถุดบจากหองเก็บวัตถุดิบไปยังโรงงานผลิต ิ 3. การติดตามวัตถุดบจากทางเขาโรงงานไปจนถึงสายการผลิต ิ 4. การติดตามสถานะของการเคลือนที่ของวัตถุดบในขณะที่อยูใน ่ ิ กระบวนการผลิต การบรรจุหีบหอ ไปจนถึงการสงไปยังโกดังเก็บ สินคาเพื่อรอการสงตอไป
  • 13. การนํา GPS มาประยุกตใช • ในการเก็บเกี่ยวผลผลิต จะใชตัวอาน RFID รุนที่รองรับระบบ GPS เพื่อบันทึกพิกัดที่ไดทําการเก็บเกียวผลผลิต โดยบันทึกขอมูล ่ พิกัด ประเภทผลผลิต วันที่และเวลา และผูเก็บเกี่ยวลงใน Tags • โดย Tags จะถูกติดเขากับลังของผลผลิตทําใหสามารถตรวจสอบ เวลาที่ใชไปตั้งแตเริ่มการเก็บเกี่ยวจนถึงการนําผลผลิตเขาสูหองเย็น • กอนหนาที่จะใชระบบนี้ บริษัทฯ รูเพียงแควาผลผลิตถูกเก็บเกียว่ จากแปลงไหนซึ่งเปนแคพื้นที่กวางๆ ประมาณ 15 ถึง 25 เอเคอร แต ดวยการนําระบบ GPS เขามาใชดวย ทําใหสามารถระบุไดแคบลง ไปอีก โดยมีรัศมีประมาณ 100 ฟุต
  • 15. พนักงานของบริษัท Dole ใชเครื่องอาน Tags RFID เพื่อบันทึก ตําแหนงที่เก็บเกียวผลผลิตโดยใชพิกัดจากระบบ GPS ่
  • 16. 2. GPS + เทคโนโลยี mobile device (โทรศัพทมือถือ)
  • 17. GPS + เทคโนโลยี โทรศัพทมือถือ - เปนการนําเอาเทคโนโลยี GPS มาใชกับ โทรศัพทมือถือ โดยการบรรจุ hardware ดาน GPS และ software ที่สนับสนุนการ ทํางานลงไปในสมารทโฟน (application ตางๆ) การทํางานแบงออกเปน 4 ดานหลักๆ คือ แผนที่และการนําทาง, การติดตามเสนทาง, การใหบริการขอมูล และอื่นๆ
  • 18. ผลการวิจัยดานพฤติกรรมของผูใชงานสมารทโฟน โดย Pew Internet วัยทํางาน (ในสหรัฐอเมริกา) -28% ใชงานฟงกชันกระบุตําแหนง Location Based Service (LBS) ในสมารทโฟน -12% ใชฟงกชันแผนที่ GeoTagging Service พื้นฐานของสมารท โฟนที่ติดมากับตัวเครื่อง -9% ใชบริการ Location Based Service เพื่อเชื่อมตอกับเครือขาย สังคมออนไลนอยาง Facebook, Twitter และ LinkedIn เพื่อแสดง พิกัดใหเหลาเพื่อนๆในเครือขายไดรูวา ขณะนีอยูที่ใด ้ -5% นิยมใชในการหาสถานที่ หรือบริการที่ตองการคนหาผาน Social Media เชน Foursquare หรือ Gowalla
  • 19. ผลการวิจัยดานพฤติกรรมของผูใชงานสมารทโฟน โดย Pew Internet กลุมวัยรุนที่มีสมารทโฟน • 55% นิยมใชคนหาขอมูล และบริการตางๆ ที่อยูใกลเคียงกับสถานที่ ของเขา • 58% ใชแคระบุพิกัดเพื่อความเพลิดเพลินไมไดตองการประโยชน • ผูใชงานสมารทโฟน ในชวงอายุ 18-49 ป มีแนวโนมมากกวา 50% ที่ จะใชบริการ Location Based Service และใหความสนใจในบริการ ทั้งหมดที่เกียวของกับการระบุพิกัด ่ • ใชงานฟงกชันใดฟงกชันหนึ่งหรือสองอยาง แตจะไมครบทุกฟงกชัน ขึ้นอยูกับความสามารถของสมารทโฟน 
  • 20. Social Media แบบ LBS เชน Foursquare, Facebook Place , Gowalla , Google Latitude • เอา Social Media มารวมเขากับระบบระบุตําแหนงอยาง GPS ซึ่งผูใชงานสามารถ check in ตามสถานที่ตางๆ • แชรสถานที่กับเพื่อนๆในเครือขายได • หากเจาของสถานที่ เชน รานอาหาร หรือ รานขายของ มีการทํา การตลาดกับกระแส LBS ก็จะมีการจัดทําโปรโมชั่นตางๆออกมา ใหสิทธิพิเศษกับ คนที่ check in บอยๆ ซึ่งแอพพลิเคชั่นดังกลาว ไดกลายเปนการปลุกกระแสการตลาดแบบ LBS ในโลกไซเบอร ขึ้นมา
  • 21.
  • 22. การบริการของ Location Based ในปจจุบัน มี 2 รูปแบบ คือ 1. Pull services เปนลักษณะการบริการที่ผูตองการใช บริการเปนผูคนหาเอง เชน - คนหารานอาหาร คนหาโรงแรมหรู - การเรียกรถแท็กซี่ รถพยาบาล ขอมูลรถประจําทาง -การคนหาธนาคาร - ขอมูลสภาพการจราจร หรือการรายงานขาวจากที่เกิดเหตุ
  • 23. การบริการของ Location Based ในปจจุบัน มี 2 รูปแบบ คือ 2. Push services เปนรูปแบบที่ขอมูลตางๆ ถูกสงโดยมี การรองขอ หรือ ไมมีการรองขอก็ตามจากผูใชบริการ - ปกติบริการจะเริ่มทํางานเมือ ผูใชเขาสูบริเวณที่ไดตั้งบริการไว ่ เชน ตามงานแสดงสินคาไอทีตางๆ หากเขางานที่มีโปรโมชั่น  พิเศษสินคาลดราคา โทรศัพทมือถือก็จะแจงโปรโมชั่นจากรานคา ตางๆที่คุณอยูใกลบริเวณนั้น บางครั้งก็สงขอความเปน sms ยินดี ตอนรับ ไปถึงโทรศัพทผูเขาชมงาน
  • 24. เทรนดในโลกสังคมออนไลนทใช Location Based ี่ เทรนดในโลกสังคมออนไลนที่ใช Location Based เชน -การถายภาพอาหารขึ้น facebook twitter หรือ foursquare พรอมแนบพิกัดบอกสถานที่ไปดวย เลาถึงรสชาติอาหาร และ สถานที่รานอาหาร ก็เปนการชวยโปรโมตใหชวนเพื่อนๆเขามา อุดหนุนรานอาหารนี้มากขึ้นไดดวย - ใชเทคโนโลยี Location Based มารวมกับ Social Network มา ใชในการโฆษณาตางๆมากขึ้น
  • 25. ขอควรระวังในการใช Location Based -คนอืนที่ไมตองการใหทราบขอมูลความเคลื่อนไหวของเรา ่  จะสามารถติดตามการเดินทางของเราได เชน สามีตองระวัง  ภรรยาใชเครื่องมือ Location Based ในการติดตามสามีไป สถานที่ตางๆ - บางอยางอาจมีอนตรายตอเราได เชน พวกมิจฉาชีพใช ั Location Based ในการคอยหาโอกาสที่จะทํารายหรือทําการ โจรกรรมทรัพยสิน
  • 26. การทําการตลาดแบบ LBS 5 วิธีงายๆที่จะพากิจการเขาสูวงโคจรของการบริการแบบ LBS 1.ใหลูกคายืนยันการเขาใชเพื่อรับสิทธิพิเศษ 2.การใชบารโคด 3.การจัดทําราคาพิเศษสําหรับหมูคณะ  4.การจัดแขงขันเพื่อรับสวนลด 5.การทําขอเสนอใหลกคาเลือก ู
  • 27. 1.ใหลูกคายืนยันการเขาใชเพื่อรับสิทธิพิเศษ • ในโทรศัพทมือถือมีแอพพลิเคชั่นมากมายที่ผูประกอบการสามารถ ใหลูกคาลงชื่อเขาใชเพื่อรับสิทธิพิเศษผานทางโทรศัพทมือถือ • ผูประกอบการแคเอา QR Code ของกิจการแปะไวตรงไหนสักที่ใน รานคา • ใหลูกคาแสกนผานโทรศัพทมือถือเพื่อยืนยันการเขาใชสิทธิพิเศษ • ผูประกอบการสามารถตรวจสอบไดวาลูกคาไดเขามาใชบริการ รานคาของเราจริงหรือไม
  • 28.
  • 29. 2.การใชบารโคด • สินคาแตละชิ้นลวนมีบารโคดเปนของตนเองอยูแลว • ถาทําใหมันสามารถใชบริการแบบ LBS ไดก็จะยิ่งกระตุนการ  ตัดสินใจซื้อของลูกคา • มีหลายๆแอพพลิเคชั่นใน Smart Phone ยกตัวอยาง Bakado ใน IPhone ที่ลูกคาสามารถแสกนบารโคดเกือบทุกประเภทบนตัว สินคา เพื่อเปรียบเทียบราคาและอานรีวิวจากผูใชคนอืนๆ  ่ • ผูประกอบการยังสามารถออกตราสินคาผานทาง Bakudo เพื่อให ลูกคาแสกนแลวรับสวนลดหรือแจกคูปองไดอีกดวย
  • 30. 3.การจัดทําราคาพิเศษเปนกลุม • เปนวิธีที่บรรดาธุรกิจในละแวกเดียวกันรวมตัวกันเพื่อนําเสนอ สวนลดพิเศษใหเมื่อลูกคามาใชบริการรานคาในกลุมเพื่อขยายการ ซื้อซ้ําใหรานอืนๆ ่ • โดยจะใหแตละรานนําเสนอสวนลดพิเศษซึ่งเมื่อลูกคามาใชบริการ ในรานคาใดรานคาหนึ่งแลวก็จะไดสวนลดไปใชในรานตอไป • ผูประกอบการยังสามารถซื้อซอฟตแวรสําเร็จรูปมาทําเอง หรือ เชื่อมโยงกลุมทางเว็บไซตหรือเฟสบุคของกิจการได
  • 31. 4.การจัดแขงขันเพื่อรับสวนลด • ธุรกิจตั้งกติกาตางๆ ขึ้นเองเพื่อดึงดูดผูบริโภคใหเขามารวมแขงขัน เชน ระยะเวลา จํานวนสิทธิพิเศษ และแตมที่ลูกคาตองทํา • เพื่อปลดล็อกสิทธิพิเศษที่จะได ทั้งลูกคาที่เขารวมยังสามารถ ตรวจสอบคะแนนของตนจากในแอพพลิเคชั่นไดอีกดวย • ยังมีเกมส SCVNGR ใน IPhone และ Android ที่คุณสามารถแสกน QR Code โพสตรูปภาพสถานที่ หรือสงสัญลักษณอื่นๆซึ่งทางรานคา ระบุเพื่อเขารวมการแขงขันไดอีกดวย
  • 32. 5.การทําขอเสนอใหลูกคาเลือก • ความคิดนีเ้ กิดขึ้นสืบเนืองมาจากการเล็งเห็นความยุงยากจาก ่ แคมเปญการตลาดสวนใหญที่มักสงอีเมลนําเสนอสิทธิพิเศษใหเฉพาะ กลุมเปาหมายที่ตนสนใจเทานัน ้ • โดยที่ไมรูวากลุมดังกลาวสนใจจริงๆหรือไม ที่สําคัญอาจมีลูกคาอืน่ สนใจแตไมไดรับขาวสาร • เพื่อกาวขามขีดจํากัดดังกลาวโดยใหสมาชิก ทั้งผูซื้อและผูขายตาง สามารถเลือกรับเฉพาะขาวสารที่ตนอยากจะรับไดตามใจชอบดวยการ ตั้งสถานะการเชื่อมโยงผานทาง แอพพลิเคชั่นที่ผูประกอบการ พัฒนาขึ้นโดยเฉพาะ
  • 33. ฝกลงจุดของสถานที่บน Google Map ใหนักศึกษาเขาไปที่เวปไซต www.maps.google.co.th (โดยใช IE อยาใช Chrome) -คลิกที่ สถานที่ของฉัน - คลิก สรางแผนที่ - ลงจุดที่ตองการดวย place mark - คลิก เสร็จสิ้น บันทึก - คลิกที่ KML - ตั้งชื่อไฟลที่จะบันทึกเก็บไวใชงานตอไป (นามสกุล KML)