SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
 การวาดภาพทิวทัศน์
 หมายถึง การวาดภาพที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ภูมิประเทศที่พบเห็น
โดยทั่วไป หรือที่เรียกกันว่า ภาพวิว (View) ซึ่งอาจเป็นภูมิประเทศที่มี
แต่สิ่งที่เป็นธรรมชาติล้วน ๆ หรือมีสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์สร้างขึ้น
ประกอบด้วยก็ได้ หรือเรียกว่า ภาพภูมิทัศน์การวาดภาพทิวทัศน์จะต้อง
มีความรู้ความเข้าใจ ในหลักของทัศนียภาพ (Perspective) ให้ดี
เสียก่อน จึงจะถ่ายทอดผลงานออกมาได้อย่างถูกต้อง

ลักษณะการถ่ายทอดภาพทิวทัศน์
1. การวาดภาพแบบเหมือนจริง (Realistic)
ก็คือการวาดให้เหมือนจริงทั้งรูปทรง สัดส่วน แสงเงา สี ระยะใกล้ไกล
2. การวาดภาพแบบตัดทอน (Distortion) เป็นการใช้สายตา ความคิด
สร้างสรรค์ และอารมณ์ ลดทอนรูปทรงจากภาพจริงให้เป็นไปตามจินตนาการ
ของจิตรกร
3. การวาดภาพแบบนามธรรม (Abstraction) เป็นการใช้อารมณ์
ความรู้สึกแทนค่ารูปทรงและความเหมือนจริง
ประเภทของภาพทิวทัศน์
1. ภาพทิวทัศน์บก คือ ภาพที่แสดงความงามของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
บนบก บนพื้นดินเป็นหลัก เช่น ท้องนา ทุ่งหญ้า ป่ า ต้นไม้ ดอกไม้ แม่น้า
ฯลฯ
2. ภาพทิวทัศน์ทะเล คือ ภาพที่แสดงความงามของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ที่เป็นทะเลเป็นหลัก เช่น ชายหาด โขดหิน คลื่น เรือ ชาวประมง ฯลฯ
3. ภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง คือ ภาพที่แสดงความงามของอาคารบ้านเรือน
และสิ่งก่อสร้าง รวมทั้งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบๆอาคาร
การร่างภาพด้วยเส้นทัศนียภาพ Perspective
เส้นทัศนียภาพ คือ เส้นที่ช่วยให้การวาดภาพบนระนาบ 2 มิติ ดูเป็นภาพ 3 มิติ มีความ
เหมือนจริง คือ มีความกว้าง ความยาว และความลึก เพื่อแสดงให้เห็นว่าวัตถุ
ที่มีขนาดเท่ากัน ถ้าวางอยู่ในตาแหน่งที่ต่างกันจะมีขนาดต่างกันด้วย เช่น เสาไฟฟ้าที่อยู่
ใกล้ดูใหญ่กว่าที่อยู่ไกลตา
ขั้นตอนการร่างภาพด้วยเส้นทัศนียภาพ
1. เขียนเส้นระดับสายตา (HL Horizontal Lline) เป็นเส้นที่อยู่ในระดับ
เดียวกับตา หรือจะเป็นเส้นขอบฟ้า เส้นที่แบ่งท้องฟ้ากับพื้นน้า
2. หาจุดรวมสายตา (VP Vanishing Point) หาได้โดยการร่างเส้นจาก
โครงสร้างของวัตถุุที่อยู่ในภาพไปยังเส้นระดับสายตา ซึ่งช่วยสร้างภาพวัตถุที่จะวาด
ให้มีระยะและขนาดต่างกัน
3. วาดรายละเอียดของวัตถุ เมื่อร่างเส้น HL และเส้นที่มุ่งไปหาจุด VP แล้ว ก็เริ่มใส่
รายละเอียด แนะนาให้เริ่มร่างวัตถุที่มีขนาดใหญ่ก่อนแล้วค่อยๆร่างส่วนย่อย
หลักการทัศนียภาพ (Perspective)
การวาดภาพตามหลักทัศนียภาพ (Perspective) เป็นส่วนประกอบ
อย่างหนึ่งที่ทาให้ภาพมีมิติในเรื่องของความลึก ระยะ ใกล้-ไกล ในภาพมี
หลักในการวาด คือ สิ่งที่อยู่ใกล้ตาจะมีขนาดใหญ่ สิ่งที่อยู่ใกล้ตาจะมีขนาด
เล็ก
ลักษณะของเส้นต่างๆที่ใช้ในการเขียนภาพทัศนียวิทย
(Perspective)
1. Ground Plane (GP) คือแผ่นพื้นที่วางวัตถุแผ่นภาพ (PP) จะต้องวางตั้งฉาก
กับแผ่นพื้นหรือระนาบเสมอ
2. Horizon Line (HL) คือเส้นขอบฟ้ า ตั้งอยู่ในแนวระดับตา (Eye Level) เส้น
นี้มีความสาคัญมากจะเป็นเส้นที่จุดรวมสายตา (VP) ตั้งอยู่บนเส้นนี้
3. Vanishing Point (VP) จุดรวมสายตา คือจุดกาหนดที่สาคัญมากในการเขียน
ภาพ Perspective จุดรวมสายตาจะตั้งอยู่บนเส้นระดับตาในข้อ 2 อาจมีจุด
เดียวหรือ 2 จุดก็ได้ ตามชนิดการมองของภาพ Perspective
4. Station Point (SP) คือเป็นจุดยืนในการมองไปยังภาพ ซึ่งเน้นเป็นลักษณะ
ของภาพทัศนียวิทยา
5. Ground Line (GL) เป็นเส้นพื้นที่จดแผ่นภาพเส้นนี้มีความสาคัญในการ
เขียนภาพ Perspective มากเพราะใช้เป็นที่ตั้งของภาพ Perspective ที่มองเห็น
6. Center of Vision (CV) คือ จุดรวมสายตาที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาพจุดที่อยู่
บนเส้นนี้เรียกว่า Center Point (CV)
การวาดภาพตามหลักทัศนียภาพ (Perspective) มี 3 แบบ คือ
1. แบบจุดรวมสายตา (Vanishing Point) จุดเดียว (One Point Perspective) มี
แนวเส้นระดับ ด้านหน้าขนานกับเส้นระดับตา (Horizon Line หรือ Eye Level)
ส่วนด้านลึกจะไปรวมกันที่จุดรวมสายตา (VP) ซึ่งตั้งอยู่บนเส้นระดับตา (HL)
2. แบบจุดรวมสายตา 2 จุด (Two Point Perspective) คือภาพ Perspective) ที่มี
เส้นแนวระดับทั้งด้านหน้าและด้านข้างไปรวมตรงจุดรวมสายตา (VP. 1และ VP.
2) ซึ่งอยู่ด้านซ้ายและขวา
3. แบบรวมจุดสายตา 3 จุด (Three Point Perspective) คือ ภาพ Perspective ที่
คล้ายกับแบบจุดรวมสายตา 2 จุด แต่เพิ่มการมองจุดรวมสายตาจากจุดที่ 3 (VP.
3) ตรงตามแนวดิ่ง จุดรวมสายตาที่ 3 (VP. 3) ดูภาพได้เมื่ออยู่ทั้งด้านบนและ
ด้านล่างของเส้น ระดับตา (HL)
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ
ทัศนียภาพ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
peter dontoom
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
Aon Narinchoti
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
Tonkao Limsila
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow14
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
พัน พัน
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
Preeyaporn Chamnan
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
akke1881
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
Sivagon Soontong
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
teerachon
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
teerachon
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
peter dontoom
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
Tong Thitiphong
 

What's hot (20)

แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
แผนจัดการเรียนรู้ 1-6
 
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
ใบงานที่ 1-5 ม.1 1/61
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102คำอธิบายรายวิชา ศ22102
คำอธิบายรายวิชา ศ22102
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdfบทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
บทเรียนสำเร็จรูปธนาคาร ป.5pdf
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
การสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัยการสร้างข้อสอบอัตนัย
การสร้างข้อสอบอัตนัย
 
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
เฉลยแบบทดสอบวิชาทัศนศิลป์ A net (กศน.)
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ทัศนียภาพ

  • 1.  การวาดภาพทิวทัศน์  หมายถึง การวาดภาพที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ภูมิประเทศที่พบเห็น โดยทั่วไป หรือที่เรียกกันว่า ภาพวิว (View) ซึ่งอาจเป็นภูมิประเทศที่มี แต่สิ่งที่เป็นธรรมชาติล้วน ๆ หรือมีสิ่งที่มนุษย์ประดิษฐ์สร้างขึ้น ประกอบด้วยก็ได้ หรือเรียกว่า ภาพภูมิทัศน์การวาดภาพทิวทัศน์จะต้อง มีความรู้ความเข้าใจ ในหลักของทัศนียภาพ (Perspective) ให้ดี เสียก่อน จึงจะถ่ายทอดผลงานออกมาได้อย่างถูกต้อง 
  • 2. ลักษณะการถ่ายทอดภาพทิวทัศน์ 1. การวาดภาพแบบเหมือนจริง (Realistic) ก็คือการวาดให้เหมือนจริงทั้งรูปทรง สัดส่วน แสงเงา สี ระยะใกล้ไกล 2. การวาดภาพแบบตัดทอน (Distortion) เป็นการใช้สายตา ความคิด สร้างสรรค์ และอารมณ์ ลดทอนรูปทรงจากภาพจริงให้เป็นไปตามจินตนาการ ของจิตรกร 3. การวาดภาพแบบนามธรรม (Abstraction) เป็นการใช้อารมณ์ ความรู้สึกแทนค่ารูปทรงและความเหมือนจริง
  • 3. ประเภทของภาพทิวทัศน์ 1. ภาพทิวทัศน์บก คือ ภาพที่แสดงความงามของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บนบก บนพื้นดินเป็นหลัก เช่น ท้องนา ทุ่งหญ้า ป่ า ต้นไม้ ดอกไม้ แม่น้า ฯลฯ 2. ภาพทิวทัศน์ทะเล คือ ภาพที่แสดงความงามของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่เป็นทะเลเป็นหลัก เช่น ชายหาด โขดหิน คลื่น เรือ ชาวประมง ฯลฯ 3. ภาพทิวทัศน์สิ่งก่อสร้าง คือ ภาพที่แสดงความงามของอาคารบ้านเรือน และสิ่งก่อสร้าง รวมทั้งธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมรอบๆอาคาร
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. การร่างภาพด้วยเส้นทัศนียภาพ Perspective เส้นทัศนียภาพ คือ เส้นที่ช่วยให้การวาดภาพบนระนาบ 2 มิติ ดูเป็นภาพ 3 มิติ มีความ เหมือนจริง คือ มีความกว้าง ความยาว และความลึก เพื่อแสดงให้เห็นว่าวัตถุ ที่มีขนาดเท่ากัน ถ้าวางอยู่ในตาแหน่งที่ต่างกันจะมีขนาดต่างกันด้วย เช่น เสาไฟฟ้าที่อยู่ ใกล้ดูใหญ่กว่าที่อยู่ไกลตา ขั้นตอนการร่างภาพด้วยเส้นทัศนียภาพ 1. เขียนเส้นระดับสายตา (HL Horizontal Lline) เป็นเส้นที่อยู่ในระดับ เดียวกับตา หรือจะเป็นเส้นขอบฟ้า เส้นที่แบ่งท้องฟ้ากับพื้นน้า 2. หาจุดรวมสายตา (VP Vanishing Point) หาได้โดยการร่างเส้นจาก โครงสร้างของวัตถุุที่อยู่ในภาพไปยังเส้นระดับสายตา ซึ่งช่วยสร้างภาพวัตถุที่จะวาด ให้มีระยะและขนาดต่างกัน 3. วาดรายละเอียดของวัตถุ เมื่อร่างเส้น HL และเส้นที่มุ่งไปหาจุด VP แล้ว ก็เริ่มใส่ รายละเอียด แนะนาให้เริ่มร่างวัตถุที่มีขนาดใหญ่ก่อนแล้วค่อยๆร่างส่วนย่อย
  • 8.
  • 9.
  • 10.
  • 11. หลักการทัศนียภาพ (Perspective) การวาดภาพตามหลักทัศนียภาพ (Perspective) เป็นส่วนประกอบ อย่างหนึ่งที่ทาให้ภาพมีมิติในเรื่องของความลึก ระยะ ใกล้-ไกล ในภาพมี หลักในการวาด คือ สิ่งที่อยู่ใกล้ตาจะมีขนาดใหญ่ สิ่งที่อยู่ใกล้ตาจะมีขนาด เล็ก
  • 12.
  • 13.
  • 14. ลักษณะของเส้นต่างๆที่ใช้ในการเขียนภาพทัศนียวิทย (Perspective) 1. Ground Plane (GP) คือแผ่นพื้นที่วางวัตถุแผ่นภาพ (PP) จะต้องวางตั้งฉาก กับแผ่นพื้นหรือระนาบเสมอ 2. Horizon Line (HL) คือเส้นขอบฟ้ า ตั้งอยู่ในแนวระดับตา (Eye Level) เส้น นี้มีความสาคัญมากจะเป็นเส้นที่จุดรวมสายตา (VP) ตั้งอยู่บนเส้นนี้ 3. Vanishing Point (VP) จุดรวมสายตา คือจุดกาหนดที่สาคัญมากในการเขียน ภาพ Perspective จุดรวมสายตาจะตั้งอยู่บนเส้นระดับตาในข้อ 2 อาจมีจุด เดียวหรือ 2 จุดก็ได้ ตามชนิดการมองของภาพ Perspective 4. Station Point (SP) คือเป็นจุดยืนในการมองไปยังภาพ ซึ่งเน้นเป็นลักษณะ ของภาพทัศนียวิทยา 5. Ground Line (GL) เป็นเส้นพื้นที่จดแผ่นภาพเส้นนี้มีความสาคัญในการ เขียนภาพ Perspective มากเพราะใช้เป็นที่ตั้งของภาพ Perspective ที่มองเห็น 6. Center of Vision (CV) คือ จุดรวมสายตาที่ตั้งอยู่ตรงกลางของภาพจุดที่อยู่ บนเส้นนี้เรียกว่า Center Point (CV)
  • 15. การวาดภาพตามหลักทัศนียภาพ (Perspective) มี 3 แบบ คือ 1. แบบจุดรวมสายตา (Vanishing Point) จุดเดียว (One Point Perspective) มี แนวเส้นระดับ ด้านหน้าขนานกับเส้นระดับตา (Horizon Line หรือ Eye Level) ส่วนด้านลึกจะไปรวมกันที่จุดรวมสายตา (VP) ซึ่งตั้งอยู่บนเส้นระดับตา (HL) 2. แบบจุดรวมสายตา 2 จุด (Two Point Perspective) คือภาพ Perspective) ที่มี เส้นแนวระดับทั้งด้านหน้าและด้านข้างไปรวมตรงจุดรวมสายตา (VP. 1และ VP. 2) ซึ่งอยู่ด้านซ้ายและขวา 3. แบบรวมจุดสายตา 3 จุด (Three Point Perspective) คือ ภาพ Perspective ที่ คล้ายกับแบบจุดรวมสายตา 2 จุด แต่เพิ่มการมองจุดรวมสายตาจากจุดที่ 3 (VP. 3) ตรงตามแนวดิ่ง จุดรวมสายตาที่ 3 (VP. 3) ดูภาพได้เมื่ออยู่ทั้งด้านบนและ ด้านล่างของเส้น ระดับตา (HL)