SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
Download to read offline
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 29
คำ�นำ�
		 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต1ได้ดำ�เนินโครงการพัฒนา
คุณภาพการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเฉลิมพระเกียรติโดยดำ�เนินการ
3 ลักษณะ พร้อมทั้งจัดทำ�แนวปฏิบัติ ดังนี้
		 เล่ม 1		 แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
					 (Distance Learning Television: DLTV)
		 เล่ม 2		 แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล
					 (Digital Video Disc: DVD)
		 เล่ม 3		 แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
					 (Electronics Learning: e-Learning)
		แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
(DistanceLearningTelevision:DLTV)เล่มนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้โรงเรียนนำ�ไปใช้
ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะโรงเรียนที่ขาดแคลนครู
และบุคลากรทางการศึกษา ครูสอนไม่ตรงวิชาเอกหรือตามความถนัด รวมทั้งสามารถ
ใช้เป็นแนวทางให้โรงเรียนทั่วไปนำ�ไปใช้พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน
เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น
		 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ใคร่ขอขอบคุณ
ผู้บริหารโรงเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกท่านที่ให้ความร่วมมือจัดทำ�แนวปฏิบัติ
เล่มนี้จนสำ�เร็จด้วยดี
				 (นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ)
				 ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 31
สารบัญ
										 หน้า
คำ�นำ�														
สารบัญ													
บทนำ� 														 1
แนวทางการบริหารจัดการ							 7	
แนวทางในการจัดการเรียนการสอน						 11	
บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง								 15	
สรุปและข้อเสนอแนะ									 21
เอกสารอ้างอิง												 26	
คณะผู้จัดทำ�
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 1
บทนำ�
			สังคมในปัจจุบัน ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
และพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วมาก และได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำ�วันของทุกคน
โดยเฉพาะในวงการศึกษา ตลอดจนวิวัฒนาการเกี่ยวกับองค์ความรู้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
เป็นทวีคูณ การให้เด็กได้เข้าถึงความรู้ได้รวดเร็วและได้มาก โดยผ่านระบบเทคโนโลยี
สมัยใหม่ เช่น อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น จึงเป็นข้อได้เปรียบที่จะส่งผลต่อ
คุณภาพนักเรียนและคุณภาพการศึกษา โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2542 กำ�หนดให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีได้ และใช้เป็นเครื่องมือในการ
แสวงหาความรู้
			 ในปีการศึกษา2553สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต1
มีโรงเรียนอยู่ในสังกัด จำ�นวน 146 โรงเรียน มีนักเรียน จำ�นวน 24,037 คน และ
ครู จำ�นวน 1,314 คน โรงเรียนจำ�นวนมากประสบปัญหาสำ�คัญ คือ การขาดครูผู้สอน
หรือมีครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงวิชาเอกหรือตรงตามความถนัด ขาดแคลนทรัพยากร
ด้านงบประมาณ สื่อ อุปกรณ์การเรียนการสอน และผลจากการประเมินของ
สำ�นักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในรอบที่สอง มีโรงเรียน
หลายโรงเรียนไม่ผ่านการรับรองคุณภาพ
			 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้ตระหนัก
และให้ความสำ�คัญกับปัญหาดังกล่าว จึงได้หาแนวทางในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาที่ประสบปัญหาจึงได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลในโรงเรียน ซึ่งมี
3 ลักษณะ ได้แก่
			 1.	 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 (Distance Learning Television: DLTV)
			 2.	 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล
				 (Digital Video Disc: DVD)
			 3.	 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
				 (Electronics Learning: e-Learning)
			 โดยให้โรงเรียนเลือกลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือหลายลักษณะ และนำ�ไปใช้
จัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ตามความเหมาะสมกับบริบทของตน
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV2
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
(Distance Learning Television: DLTV)
			 การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
จากโรงเรียนวังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็นโรงเรียน
ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดการเรียนการสอน
ด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียมเพื่อสนอง
พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เรื่องการเรียนรู้
ตลอดชีวิต เป็นต้นแบบในการจัดการศึกษา
ตามแนวพระราชดำ�ริเศรษฐกิจพอเพียง
ทั้งยังเป็นแนวทางสำ�หรับพัฒนาครู ในแต่ละ
สาขาวิชาให้มีคุณภาพสูงขึ้นและร่วมมือกับ
กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ทั้งในเขตเมืองและ
ในชนบท ถิ่นทุรกันดาร ให้มีมาตรฐานเท่าเทียมกัน จากการสอนของครูคนเดียวกันและ
ในเวลาเดียวกัน การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเปรียบเสมือนทุกโรงเรียนได้ครูเพิ่มขึ้น
หรือเรียกว่า “ครูพระราชทาน” จึงเกิดประโยชน์ต่อโรงเรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียนและ
ผู้สนใจทั่วไปที่สามารถนำ�มาใช้ในการพัฒนาการบริหารการศึกษาพัฒนาการจัดการเรียนรู้
ของครู เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัยหรือผู้สนใจ
ได้เป็นอย่างดีการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นการจัดการเรียนการสอน
โดยการเปิดรับสัญญาณออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ซึ่งถ่ายทอดสดการจัดการเรียนการสอนจากโรงเรียนวังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทางช่อง DLTV 1 - DLTV 6
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ทางช่อง DLTV 7 - DLTV 9 ซึ่งโรงเรียนต่าง ๆ ทั้งในประเทศ
และต่างประเทศสามารถเปิดรับสัญญาณออกอากาศการจัดการเรียนการสอน
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 3
ได้พร้อม ๆ กัน ในเวลาเดียวกัน โดยสามารถเปิดรับสัญญาณได้ตามความต้องการของ
ระดับชั้นที่เปิดสอน ถือได้ว่าการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นระบบ
การเรียนการสอนแบบซิงโครนัส Synchronous ระหว่างผู้เรียนและผู้สอนอยู่ใน
เวลาเดียวกัน เป็นแบบเรียลไทม์ เน้นผู้สอนเป็นศูนย์กลาง (ยืน ภู่วรวรรณ และสมชาย
นำ�ประเสริฐชัย. 2546)
วัตถุประสงค์
			 เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผล
กลุ่มเป้าหมาย
			 กลุ่มเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ที่เป็นผู้ปฏิบัติโดยตรง
และผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารระดับเขตพื้นที่ ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน
ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง
ปัจจัยสำ�คัญในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
			การนำ�แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
มาใช้ มีปัจจัยสำ�คัญที่เกี่ยวข้อง คือ
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV4
			 1.	 โรงเรียนต้องมีเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมและโทรทัศน์
			 2.	 ผู้เกี่ยวข้องต้องมีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำ�คัญของการจัดการเรียน
การสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและดำ�เนินงานอย่างจริงจังต่อเนื่อง
			3.	 นักเรียนต้องเข้าใจวิธีการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
ที่ถูกต้อง มีวินัยในการเรียน มีทักษะพื้นฐานเหมาะสมกับระดับชั้น เพื่อให้สามารถ
ปฏิบัติกิจกรรมได้ทันกำ�หนดของโรงเรียนต้นทาง (โรงเรียนวังไกลกังวล)
			 4.	 โรงเรียนต้องวางแผนการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถ
ชมรายการได้ครบถ้วนตามตารางออกอากาศของโรงเรียนต้นทาง (โรงเรียนวังไกลกังวล)
			 โรงเรียนสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
ซึ่งถ้าโรงเรียนนำ�แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
มาใช้อย่างถูกต้องจริงจังและต่อเนื่อง จะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
และมีคุณภาพตามเป้าหมายของสำ�นักงานเขตพื้นที่และหลักสูตร
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 5
สิ่งที่คาดหวัง
			 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น
ภาพการมอบรางวัลนักเรียนเรียนดีเหรียญทอง
โครงการความเป็นเลิศทางวิชาการ
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV6
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 7
แนวทางการบริหารจัดการ
			 การบริหารจัดการการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ให้เกิดประสิทธิภาพและ
เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน มีแนวทางดำ�เนินการ ดังนี้
1.	 การเตรียมความพร้อม
			 โรงเรียนดำ�เนินการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆก่อนที่จะจัดการเรียนการสอน
ทางไกลผ่านดาวเทียม ดังนี้
			1.1.	ด้านบุคลากร
					 1)	 สร้างความตระหนักแก่บุคลากร
ในโรงเรียนเพื่อให้เห็นความจำ�เป็นและความสำ�คัญ
ของการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 2)	 วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา
ด้านต่าง ๆ ของการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน
และวางแผนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมให้เหมาะสมกับ
บริบทของโรงเรียน
					 3)	 พัฒนาความรู้ความเข้าใจระบบ วิธีการจัดการเรียนการสอน
โดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมอย่างชัดเจน
					 4)	 ประชุมชี้แจงคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน เพื่อสร้าง
ความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำ�เนินงานจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียมให้ประสบความสำ�เร็จ
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV8
			1.2		 ด้านอุปกรณ์และสื่อ
					 1)	 จัดหาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมและโทรทัศน์ขนาดเหมาะสม
กับห้องเรียนและจำ�นวนนักเรียน กรณีมีจำ�นวนนักเรียนน้อยกว่า 20 คน/ห้อง
โทรทัศน์ควรมีขนาด 21 นิ้ว ขึ้นไป และกรณีมีจำ�นวนนักเรียนมากกว่า 20 คน/ห้อง
โทรทัศน์ควรมีขนาดไม่ต่ำ�กว่า 29 นิ้ว
			
					 2)	 ติดตั้งโทรทัศน์ให้มีความสูงเหมาะสมกับระดับสายตานักเรียน คือ
ประมาณ 1.50 – 1.60 เมตร ระยะห่างจากนักเรียนแถวหน้าสุดถึงโทรทัศน์ ประมาณ
2.00 - 3.00 เมตร หรือตามความเหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสายตาของนักเรียน
			1.3		 ด้านเอกสาร
					 1)	 จัดหาคู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับ
โรงเรียนปลายทางให้เพียงพอ โดยติดต่อขอรับได้ที่มูลนิธิการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียม กระทรวงศึกษาธิการ หรือค้นหาจากเว็บไซต์
(http://www.dlf.ac.th)					
							
QuickTime™ and a
decompressor
are needed to see this picture.
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 9
					 2)	 ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาและโครงสร้างเวลาเรียนของโรงเรียน
ให้สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนของโรงเรียนวังไกลกังวลตามความเหมาะสม
					 3)	 กำ�หนดการเรียนรู้แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับ
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
					 4)	 จัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนปลายทางให้สัมพันธ์
กับโรงเรียนต้นทาง เพื่อให้ครูเห็นภาพตลอดแนวและดำ�เนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง
					 5)	 จัดทำ�ตารางสอนของโรงเรียนให้สอดคล้องกับตารางออกอากาศ
แต่ละวันจากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
2.	 การจัดครูเข้าสอน
			 การจัดชั้นเรียนและจัดครูเข้าสอนต้องจัดให้เหมาะสมกับจำ�นวนบุคลากร
ของโรงเรียน กรณีมีครูไม่ครบชั้นเรียน ครู 1 คน อาจต้องกำ�กับดูแลนักเรียน 2 ห้องเรียน
ในขณะรับสัญญาณการออกอากาศจากโรงเรียนวังไกลกังวล ซึ่งครูที่รับผิดชอบ
นักเรียน 2 ห้องเรียนต้องวางแผนการใช้เวลา ควบคุมและให้คำ�แนะนำ�นักเรียน
อย่างเหมาะสม
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV10
3.	 กำ�หนดเวลาเรียน
			 การกำ�หนดเวลาเรียน ควรกำ�หนดเวลาเข้าเรียน เลิกเรียนและจัดตาราง
กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนให้เหมาะสมไม่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนตามตาราง
ออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ทางไกลผ่านดาวเทียมการจัดเวลานอกตารางออกอากาศ
ของสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อใช้จัดกิจกรรมพิเศษหรือ
ซ่อมเสริมนักเรียน
			 ดำ�เนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียมตามตารางออกอากาศของแต่ละชั้น ตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์
เริ่มเวลา 08.30 น. ถึง 14.30 น. (ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6) และ ระหว่าง
เวลา 08.30 น. ถึง 15.30 น. (ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3)
4.	 การนิเทศ
			 ควรดำ�เนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นระยะ ๆ เพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนา
5.	 การสรุปผลและรายงาน
			 สรุปผลการดำ�เนินงานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียมเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 11
แนวทางในการจัดการเรียนการสอน
			 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance
Learning Television: DLTV) ครูผู้สอนควรดำ�เนินการตามขั้นตอน ดังนี้
			 1.	 ขั้นเตรียมการสอน
				 1.1		 ศึกษา ทบทวน หลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างเวลาเรียนแต่ละ
กลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนของโรงเรียนวังไกลกังวล
				 1.2		 ศึกษาหน่วยการเรียนรู้ กำ�หนดการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน
เพื่อพิจารณาเทียบเคียงกับผังมโนทัศน์และกำ�หนดการเรียนรู้จากคู่มือครู
สอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง
				 1.3		 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
สำ�หรับโรงเรียนปลายทาง แล้วจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง โดยระบุรายการสื่อ
เอกสาร ใบงานที่ต้องเตรียมและกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน
และหลังรับชมการจัดการเรียนรู้จากรายการที่ออกอากาศแต่ละครั้ง เพื่อให้ครูเห็นภาพ
ตลอดแนวและดำ�เนินการจัดกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง
				 1.4		 วางแผนการจัดการในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนตามตาราง
ออกอากาศ ดังนี้
						 กรณีครูสอน 1 ห้องเรียน สามารถอยู่กำ�กับชั้นเรียนได้ตลอดเวลา
ควรเตรียมการสนทนา แนะนำ�เพิ่มเติม ทั้งการนำ�เข้าสู่บทเรียน การปฏิบัติกิจกรรม
ระหว่างเรียน และสรุปบทเรียน
						 กรณีได้รับมอบหมายให้สอนมากกว่า 1 ห้องเรียนในเวลาเดียวกัน
ครูต้องเตรียมมอบหมายงานและชี้แจงขั้นตอนการเรียนทางไกลของนักเรียนแต่ละชั้น
ให้นักเรียนเข้าใจ ครูผู้สอนต้องพิจารณาว่าจะไปกำ�กับการเรียนของนักเรียนชั้นใด เวลาใด
อย่างไร
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV12
				 1.5		 เตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้และกิจกรรมเสริม ตามที่
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมกำ�หนดสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง หรืออาจประยุกต์
ตามความเหมาะสมกับท้องถิ่นและความจำ�เป็น
				 1.6		 จัดนักเรียนเข้าเรียนตามตารางออกอากาศ เพื่อให้สามารถปฏิบัติ
กิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างครบถ้วน กรณีไม่สามารถรับชมรายการออกอากาศ
ได้ในแต่ละครั้ง ครูต้องจัดกิจกรรมสอนเพิ่มเติมให้แก่นักเรียน
				 1.7		 จัดวางเครื่องรับโทรทัศน์ให้เหมาะสม นักเรียนสามารถมองเห็น
ได้ชัดเจน ทั่วถึง และตรวจสอบเครื่องรับสัญญาณของโรงเรียน ด้านการส่งสัญญาณ
ออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ก่อนถึงเวลา
ออกอากาศตามตารางเพื่อเตรียมพร้อม
				 1.8		 จัดสภาพห้องเรียนให้เหมาะสมเอื้อต่อการปฏิบัติกิจกรรม
ตามแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง
	
		
			 2.	 ขั้นจัดการเรียนการสอน
				 2.1		 ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่แก่นักเรียน
ให้สามารถเข้าใจเนื้อหาอย่างต่อเนื่อง
				 2.2		 เปิดรับสัญญาณการออกอากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จาก
สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและปฏิบัติกิจกรรมตามโรงเรียน
ต้นทาง
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 13
				 2.3		 กำ�กับ ดูแล สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน ครูแนะนำ�
อธิบายเพิ่มเติมตามความจำ�เป็น กรณีครูต้องสอนมากกว่า 1 ห้องเรียนในเวลาเดียวกัน
ควรศึกษากิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้อย่างละเอียด เพื่อวางแผนการใช้เวลา
ในการหมุนเวียน สับเปลี่ยนการกำ�กับดูแลห้องเรียนได้อย่างเหมาะสม
			3.	 ขั้นสรุป
				 3.1		 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน สาระสำ�คัญจากการเรียน
แต่ละครั้ง
				 3.2		 ติดตาม ตรวจสอบการทำ�แบบฝึกหัด ชิ้นงานของนักเรียนแต่ละคน
			4.	 ขั้นวัดและประเมินผล
				 ดำ�เนินการวัดผลและประเมินผล เมื่อกิจกรรมการเรียนการสอนสิ้นสุดลง
ในแต่ละครั้ง แต่ละหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าผลการเรียนบรรลุจุดประสงค์
การเรียนรู้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด แล้ววิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาต่อไป
			5.	 ขั้นบันทึกผลหลังสอน
				 ครูบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ในแต่ละครั้งหลังการจัดการเรียนรู้สิ้นสุดลง
โดยมีหัวข้อ ดังนี้ ชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นที่สอน หน่วยการเรียนรู้ เนื้อหากิจกรรม
การเรียนการสอน สรุปผล และบันทึกผลหลังสอน
			6.	 ขั้นสอนซ่อมเสริม
				 ครูจัดกิจกรรมการสอนซ่อมเสริมนอกตารางออกอากาศ เพื่อช่วยเหลือ
นักเรียนที่ไม่บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้หรือให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV14
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 15
บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง
			 บทบาทของผู้เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล
ผ่านดาวเทียมอย่างมีประสิทธิภาพควรดำ�เนินการ ดังนี้
			1.	 ผู้บริหารโรงเรียน
				 1.1		 ศึกษาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมของ
โรงเรียนวังไกลกังวลและหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกัน
และสัมพันธ์กับระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลของโรงเรียน
				 1.2		 ประชุมชี้แจงสร้างความตระหนัก และความเข้าใจแก่ผู้เกี่ยวข้อง
ทุกฝ่าย
				 1.3		 จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องรับสัญญาณ และดำ�เนินการติดตั้งระบบ
ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
				 1.4		 แต่งตั้งให้ครูรับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม
กับบุคลากรของโรงเรียน โดยเฉพาะกรณีครูไม่ครบชั้นเรียน
				 1.5		 มอบหมายให้ครูจัดตารางสอน ตารางกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจน
แผนการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนให้สัมพันธ์กับตารางออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 1.6		 นิเทศ ติดตามการจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ การบันทึกผล
หลังการจัดการเรียนรู้ การจัดทำ�เอกสารที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ตามตารางออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 1.7		 ประเมินผลการดำ�เนินงานการจัดการเรียนการสอนทางไกล
ผ่านดาวเทียมเป็นรายเดือน รายภาคเรียน และสิ้นปีการศึกษา รายงานผลผู้เกี่ยวข้อง
ทุกฝ่ายตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนา
อย่างต่อเนื่อง
				 1.8		 ประชาสัมพันธ์ผลการดำ�เนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV16
			2.	 ครูผู้สอน
				 2.1		 ศึกษา ทบทวน หลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างเวลาเรียนแต่ละ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนของ
โรงเรียนวังไกลกังวล
				 2.2		 ศึกษาหน่วยการเรียนรู้ กำ�หนดการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน
เพื่อพิจารณาเทียบเคียงกับผังมโนทัศน์และกำ�หนดการเรียนรู้จากคู่มือครู
สอนทางไกลผ่านดาวเทียม
				 2.3		 จัดทำ�ตารางสอนของโรงเรียนให้สอดคล้องกับตารางออกอากาศ
แต่ละวันจากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 2.4		 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
สำ�หรับโรงเรียนปลายทาง แล้วจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ของตนเองขึ้น โดยระบุ
รายการสื่อ เอกสาร ใบงานที่ต้องเตรียมและกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติทั้งก่อน ระหว่าง
และหลังรับชมรายการการจัดการเรียนรู้จากรายการที่ออกอากาศแต่ละครั้ง เพื่อให้เห็น
ภาพตลอดแนวและดำ�เนินการจัดกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง
				 2.5		 วางแผนการจัดการในชั้นเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียน
ตามตารางออกอากาศ ดังนี้
						 1)	 กรณีครูสอน 1 ห้องเรียนสามารถอยู่กำ�กับชั้นเรียนได้ตลอดเวลา
ควรเตรียมการสนทนา แนะนำ�เพิ่มเติม ทั้งการนำ�เข้าสู่บทเรียน การปฏิบัติกิจกรรม
ระหว่างเรียน และสรุปบทเรียน
						 2)	 กรณีได้รับมอบหมายให้สอนมากกว่า 1 ห้องเรียนในเวลาเดียวกัน
ครูต้องเตรียมมอบหมายงานและขั้นตอนการเรียนทางไกลของนักเรียนแต่ละชั้น
ให้นักเรียนเข้าใจ ครูผู้สอนต้องพิจารณาว่าจะไปกำ�กับการเรียนของนักเรียนชั้นใด เวลาใด
อย่างไร
				 2.6		 เตรียมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้และกิจกรรมเสริม ตามที่
คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมกำ�หนด หรืออาจประยุกต์ตามความเหมาะสม
กับท้องถิ่นและความจำ�เป็น
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 17
				 2.7		 ร่วมจัดการเรียนการสอนไปพร้อมกับโรงเรียนต้นทางและให้นักเรียน
สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนตามตารางออกอากาศแต่ละครั้งอย่างครบถ้วนและ
ครูต้องอยู่กำ�กับดูแล แนะนำ�นักเรียนอย่างต่อเนื่อง
	
				 2.8		 สรุปสาระสำ�คัญในแต่ละครั้งร่วมกับนักเรียนหลังจากกิจกรรม
การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสิ้นสุดลง
				 2.9		 วัดและประเมินผลเมื่อกิจกรรมการเรียนการสอนสิ้นสุดลง
ในแต่ละครั้ง แต่ละหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าผลการเรียนบรรลุจุดประสงค์
การเรียนรู้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด แล้ววิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาต่อไป
				 2.10	บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง
				 2.11	จัดกิจกรรมซ่อมเสริมนอกตารางออกอากาศ เพื่อช่วยเหลือนักเรียน
ที่ไม่บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้หรือให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
				 2.12	ดำ�เนินการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ปลายภาค/ปลายปี
ตามระเบียบการวัดและประเมินผลของโรงเรียน ทั้งนี้ต้องมีความสอดคล้องกับ
การจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV18
			3.	 นักเรียน
				 3.1		 ทำ�ความเข้าใจวิธีการเรียนรู้จากการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษา
ทางไกลผ่านดาวเทียมตามที่ครูแนะนำ�
				 3.2		 จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การเรียน เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง
ตามที่ครูมอบหมาย
				 3.3		 เข้าห้องเรียนตรงเวลาตามที่โรงเรียนกำ�หนด
				 3.4		 ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอนพร้อม ๆ กับโรงเรียน
ต้นทาง
				 3.5		 ทำ�แบบฝึกหัด ใบงาน หรือตอบคำ�ถามตามที่ครูโรงเรียนต้นทาง
มอบหมาย
				 3.6		 ซักถามครูผู้สอน ถ้ามีข้อสงสัย หรือข้อคิดเห็นที่เกิดขึ้นขณะจัดกิจกรรม
การเรียนรู้
				 3.7		 มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่นเมื่อได้รับมอบหมายจากครูต้นทาง
ให้ตรวจผลงานตนเอง
				 3.8		 สรุปสาระสำ�คัญที่ได้รับจากการเรียนรู้แต่ละครั้ง
				 3.9		 ทบทวนบทเรียน ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เพิ่มเติม
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 19
			4.	 ผู้ปกครอง
				 4.1		 รับทราบและทำ�ความเข้าใจระบบวิธีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่โรงเรียนนำ�มาใช้
				 4.2		 ตระหนักถึงความสำ�คัญ ความจำ�เป็น และประโยชน์ของการเรียน
การสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 4.3		 ให้ความร่วมมือ ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมการเรียนการสอน
ของนักเรียนและครู
				 4.4		 สนับสนุนส่งเสริม การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการรับสัญญาณ
จากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 4.5		 ติดตาม สอบถามการเรียนของนักเรียน และร่วมมือกับโรงเรียน
ในการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน เพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาต่อไป
อย่างต่อเนื่อง
			5.	 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
				 5.1		 กำ�หนดนโยบายร่วมกับโรงเรียน ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 5.2		 มีส่วนร่วมในการปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับหลักสูตรของ
โรงเรียนวังไกลกังวล
				 5.3		 ให้ความเห็นชอบแผนการดำ�เนินงานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 5.4		 มีส่วนร่วมในการประเมินผลการดำ�เนินงานของโรงเรียนและ
ประชาสัมพันธ์ผลการดำ�เนินงาน
			6.	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา
				 6.1		 กำ�หนดนโยบายและกลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
				 6.2		 สำ�รวจความต้องการของโรงเรียนในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV20
				 6.3		 ประชุมชี้แจงผู้บริหารให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดการเรียน
การสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 6.4		 พัฒนาบุคลากรของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย
				 6.5		 นิเทศติดตามช่วยเหลือสนับสนุนงบประมาณโรงเรียนที่จัดการเรียน
การสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 6.6		 ประเมินผลการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
				 6.7		 นำ�ผลการประเมิน การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอน
มาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการดำ�เนินงาน
				 6.8		 ยกย่อง เชิดชูเกียรติ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงเรียนที่มี
ผลการบริหารจัดการได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 21
สรุปและข้อเสนอแนะ
			 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจาก
โรงเรียนวังไกลกังวลในโรงเรียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อเอาชนะและแก้ปัญหาการขาดแคลนครู
หรือครูไม่ครบชั้นการขาดครูสาขาวิชาเอกและการขาดแคลนทรัพยากรได้แก่งบประมาณ
วัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอนโดยคาดหวังผลลัพธ์สุดท้ายคือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
ของนักเรียนสูงขึ้น ที่สำ�คัญ คือ ให้เด็กทุกคนได้รับโอกาสทางการเรียนรู้ที่เท่าเทียมกัน
การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน โดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นการ
นำ�เทคโนโลยีสมัยใหม่และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มาประยุกต์ใช้ให้บรรลุวัตถุประสงค์และ
ความคาดหวังที่ตั้งไว้ จะต้องมีเครื่องมือ ปัจจัยต่าง ๆ เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน
ผู้เกี่ยวข้อง อาทิ
			-	 แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
(Distance Learning Television: DLTV)
			 -	 ความพร้อมของโรงเรียนโดยเฉพาะผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำ�ด้านวิชาการสูง
สามารถพัฒนา และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความ
เหมาะสมกับบริบทของตน
			 -	 ความพร้อมด้านปัจจัยต่าง ๆ ทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์
สื่อ และการบริหารจัดการ
			 -	 ความพยายามปฏิบัติของผู้บริหารโรงเรียน ครู และผู้เกี่ยวข้อง จะสามารถ
ขจัดปัญหา และก้าวผ่านปัญหาต่าง ๆ ของโรงเรียน จะมีผลทำ�ให้เกิดกระแสความเชื่อมั่น
ศรัทธา ในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนในด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา
กลับคืนมา ซึ่งการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจากโรงเรียน
วังไกลกังวลมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแก้ปัญหาครูไม่ครบชั้นเรียนขาดแคลนครูในสาขาวิชาเอก
ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น และเพื่อให้โรงเรียนมีมาตรฐาน
ใกล้เคียงกัน
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV22
ข้อเสนอแนะ
			 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อDLTVเป็นเรื่องใหม่จึงจำ�เป็นที่จะต้องพิสูจน์
เชิงวิทยาศาสตร์ให้ได้ข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์และเกิดผลในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนให้สูงขึ้น ควรดำ�เนินการในประเด็นอื่นเพิ่มเติมควบคู่ไปด้วย ได้แก่
			 1.	 โรงเรียนที่มีความต้องการจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV
ควรประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
			 2.	 โรงเรียนควรประยุกต์ปรับเปลี่ยนกิจกรรมและเนื้อหาที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้อง
กับสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของโรงเรียน
			 3.	 โรงเรียนควรดำ�เนินการวิจัยเพื่อประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สื่อ DLTV การวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการจัดการเรียนการสอนโดยใช้
สื่อ DLTV เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ต่อไป
			 4.	 โรงเรียนมีการพัฒนาหรือยกระดับ เพื่อสู่ความเป็นเลิศและเป็นโรงเรียน
เข้มแข็งโดยโรงเรียนไม่จำ�เป็นต้องลองผิดลองถูกอาจเรียนรู้BestPracticesจากโรงเรียน
หรือหน่วยงานเอกชนอื่น ๆ หรือทำ� Benchmarking จากหน่วยงานทางการศึกษา
หน่วยงานเอกชนที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวได้ดีแล้ว
ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ
			 ปัจจัยสำ�คัญที่จะทำ�ให้การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อDLTVประสบความสำ�เร็จ
คือ
			 1.	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
โดยใช้สื่อ DLTV อย่างจริงจังต่อเนื่อง
			 2.	 สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และ
เชิดชูเกียรติโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV ได้ประสบผลสำ�เร็จ
			 3.	 โรงเรียนที่มีความสนใจในการนำ�สื่อ DLTV มาใช้ ควรศึกษาหาความรู้
จากโรงเรียนที่เป็นต้นแบบให้มีความเข้าใจอย่างชัดเจนก่อนการดำ�เนินงาน
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 23
			 4.	 ผู้บริหารโรงเรียนต้องเป็นผู้นำ�ด้วยความมุ่งมั่น โดยบริหารจัดการ
ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สื่อ DLTV ในการจัดการเรียนการสอน
			 5.	 ผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ได้รับมอบหมาย หรือครูในโรงเรียนดำ�เนินการ
นิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อDLTVเป็นประจำ�ในลักษณะกัลยาณมิตร
			 6.	 ผู้บริหารโรงเรียนต้องสนับสนุนการจัดหาอุปกรณ์ วัสดุ และสื่อ DLTV
ตลอดจนอำ�นวยความสะดวกให้การใช้สื่อ DLTV ในการจัดการเรียนการสอน
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
			 7.	 พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา และ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างต่อเนื่อง
			 8.	 ครูต้องเตรียมการสอนล่วงหน้าและวางแผนอย่างเป็นระบบทุกขั้นตอน
รวมทั้งมอบหมายงานให้นักเรียนเตรียมพร้อมในการเรียนครั้งต่อไป
			 9.	 ควรมีโทรทัศน์และอุปกรณ์ สำ�รองไว้อย่างน้อย 1 ชุด เพื่อทดแทนได้
อย่างต่อเนื่อง เมื่อเครื่องเดิมชำ�รุดเสียหาย
			 10.	 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานควรให้การสนับสนุนการจัดการเรียน
การสอนโดยใช้สื่อ DLTV อย่างจริงจัง
			 11.	 บุคลากรทุกคน ทุกฝ่ายตระหนักและเห็นความสำ�คัญ ตลอดจนให้ความ
ร่วมมือดำ�เนินการอย่างจริงจังต่อเนื่อง
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV24
พิธีเปิด
“โครงการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
ด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเฉลิมพระเกียรติ”
ณ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 25
			 นายขวัญแก้ว วัชโรทัย รองเลขาธิการพระราชวังฝ่ายกิจกรรมพิเศษและ
ประธานมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นประธานพิธีเปิด “โครงการพัฒนา
คุณภาพการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเฉลิมพระเกียรติ”
พร้อมกับได้มอบเกียรติบัตรให้แก่นายอนุสรณ์ ฟูเจริญและหน่วยงานที่สนับสนุนโครงการ
ซึ่งมีนายสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรีและผู้บริหารสถานศึกษา
ร่วมพิธี
แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV26
เอกสารอ้างอิง
การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม, มูลนิธิ. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
		สำ�หรับโรงเรียนปลายทาง. โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
		 โรงเรียนวังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภาคเรียนที่ 1 และ 2
		 ปีการศึกษา2552.กรุงเทพมหานคร:อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง,2552.
ขวัญแก้ว วัชโรทัย. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม: การเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วย
		 เทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2546.
ประทีป โชติเวศย์ศิลป์. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน
		 ขนาดเล็ก โดยใช้สื่อการเรียนการสอนทางไกลผ่าน ดีวีดี. ม.ป.ท., 2550.
ยืน ภู่วรวรรณ และสมชาย นำ�ประเสริฐชัย. ไอซีทีเพื่อการศึกษาไทย.
		 กรุงเทพมหานคร: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำ�กัด, 2546.
อุบล เล่นวารี. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
		 กรุงเทพมหานคร: รำ�ไทยเพรส, 2546.
คณะผู้จัดทำ�
คณะทำ�ง�น
นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายปัญญา แสงอุทัย รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายวีระ ทวีสุข รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายประกอบชัย สะอาดดี ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน
นายวันชัย พันธ์สิงห์จบ ผอ.กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา
นางสาววรินธร กาญจนระวีกุล ผอ.ร.ร.วัดโพธิ์ท่าทราย
นายไชยโรจน์ ศรีวิเชียร ผอ.ร.ร.บรรหารแจ่มใสวิทยา 4
นางสาวสมพงษ์ สะราคำา ผอ.ร.ร.วัดไก่เตี้ย
นายอำานวย ธีระธำารงชัยกุล ผอ.ร.ร.วัดคลองโมง
นายทะนง พุทธจำา ผอ.ร.ร.วัดบ้านกล้วย
นายไพศาล ชูเชื้อ ผอ.ร.ร.วัดสุวรรณนาคี
นายประภา น้อยสกุล ผอ.ร.ร.วัดอุทุมพราราม
นายปัญญา ธรรมวิชิต ผอ.ร.ร.วัดสำานักตะฆ่า
นายนัทที เกรียงไกร ผอ.ร.ร.วัดสามทอง
นางชาดา เคหะนาค ผอ.ร.ร.บ้านรางทอง
นายสมัค ชินบุตร ผอ.ร.ร.วัดดอนเจดีย์ราษฏร์บูรณะ
นางสาวฤทัยวรรณ หาญกล้า ผอ.ร.ร.วัดดอนไข่เต่า
นางเฉลียว เอี่ยมสกุล ผอ.ร.ร.วัดวังพลับเหนือ
นางสาวสุณิสา เกียวกุล รอง ผอ.ร.ร.อนุบาลสุพรรณบุรี
นางสาวชบา พันธุ์ศักดิ์ ครู ร.ร.วัดพระธาตุ
นางสาวสุพรรษา ภู่แก้ว ครู ร.ร.อนุบาลสุพรรณบุรี
คณะผู้จัดทำ� (ต่อ)
คณะบรรณ�ธิก�รกิจ
นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายสุรพล จานสิบสี รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายยงยุทธ์ ยืนยงค์ รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายพงษ์กฤตย์ นามปพนอังกูร รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายอธิคม ลาพร รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายประพันธ์ สุดโต รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายนิคม สุขศรีดา รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายเกรียงไกร โกพัฒน์ตา รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายเผชิญศักดิ์ แก้วเขียว รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายจำาลอง บุญเรืองโรจน์ รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1
นายอารมณ์ วงศ์บัณฑิต ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
นางดุษฎี ยืนยงค์ ศึกษานิเทศก์
นายมนู สมบูรณ์เหลือ ศึกษานิเทศก์
นางสุวิมล อิงคะประดิษฐ์ ศึกษานิเทศก์
นายเชษฐ์ ผิวลออ ศึกษานิเทศก์
นายไพฑูรย์ สุขสุคนธ์ ศึกษานิเทศก์
นายพยัพ สาธุพันธ์ ศึกษานิเทศก์
นายกิตติพศ ศิริสูตร ศึกษานิเทศก์
นางสาววรรณี ไทยานันท์ ศึกษานิเทศก์
นางอภัสรา นันต๊ะ ศึกษานิเทศก์
นางจิราธร สามารถ ศึกษานิเทศก์
คณะผู้จัดทำ� (ต่อ)
คณะบรรณ�ธิก�รกิจ (ต่อ)
นายเฉลิมศักดิ์ จิตถนอม ศึกษานิเทศก์
นางเกสรา อารยะจารุ ศึกษานิเทศก์
นางดวงทิพย์ เพ็ชรนิล ศึกษานิเทศก์
นายภัทรวัตฐ์ ซื่อตรง ศึกษานิเทศก์
นางสาวสุคนธ์ทิพ สำาเนียงดี ศึกษานิเทศก์
นางสุกัญญา สะอาดดี นักทรัพยากรบุคคล
นางจารุวรรณ รัตภาสกร นักทรัพยากรบุคคล
ปก
นายนพธีร์รัฐ พันธุ์หงษ์ ครู ร.ร.วัดสวนแตง
รูปเล่ม
นางดุษฎี ยืนยงค์ ศึกษานิเทศก์
นางสาวสุกัญญา พลนิกร นักประชาสัมพันธ์
นางสาวภูษณิศา หงษ์โต นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
นายนพธีร์รัฐ พันธุ์หงษ์ ครู ร.ร.วัดสวนแตง
นางสาวเสาวลักษณ์ เชื้อขำา เจ้าหน้าที่ธุรการ
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv

More Related Content

What's hot

เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
Sopa
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
krubuatoom
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
Nattapon
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
Decode Ac
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
kand-2539
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
Sasiyada Promsuban
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา
-sky Berry
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
กอฟ กอฟ
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
Nuchy Geez
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
krudow14
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
Rawinnipha Joy
 
สถาปัตยกรรมจีน
สถาปัตยกรรมจีนสถาปัตยกรรมจีน
สถาปัตยกรรมจีน
sasitorn16
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
Rodchana Pattha
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
phornphan1111
 

What's hot (20)

เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
เงื่อนลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4  โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
การวิเคราะห์ผู้เรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/4 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ...
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Isหน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
หน้าปก บทคัดย่อ สารบัญ ภาคผนวก บรรณานุกรม Is
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
บทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชาบทวิทยุน้ำชา
บทวิทยุน้ำชา
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
กสพท. ภาษาไทย 2563
กสพท. ภาษาไทย 2563กสพท. ภาษาไทย 2563
กสพท. ภาษาไทย 2563
 
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
แนวทางการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
สถาปัตยกรรมจีน
สถาปัตยกรรมจีนสถาปัตยกรรมจีน
สถาปัตยกรรมจีน
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 

Similar to 02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv

การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
nattaya029
 
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite ChannelWera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera Supa CPC
 
Ch6 multimedia text
Ch6 multimedia textCh6 multimedia text
Ch6 multimedia text
Changnoi Etc
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
dtschool
 

Similar to 02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv (20)

การดำเนินการด้านวิชาการของสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ CO...
การดำเนินการด้านวิชาการของสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ CO...การดำเนินการด้านวิชาการของสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ CO...
การดำเนินการด้านวิชาการของสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนทางไกลในสถานการณ์ CO...
 
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอนแบบนิเทศDlitครูผู้สอน
แบบนิเทศDlitครูผู้สอน
 
E learning
E learningE learning
E learning
 
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
04.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ e learning
 
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
13นิตยา
13นิตยา13นิตยา
13นิตยา
 
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite ChannelWera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
Wera_Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel
 
Innovation chapter 10
Innovation chapter 10Innovation chapter 10
Innovation chapter 10
 
06550135 e learning
06550135 e learning06550135 e learning
06550135 e learning
 
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
การนำ Dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิดอบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
อบรมครู โดย กิตติภูมิ พุ่มเกิด
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Ch6 multimedia text
Ch6 multimedia textCh6 multimedia text
Ch6 multimedia text
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครูรูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition   สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
รูปแบบ Dru เพื่อส่งเสริม meta cognition สำหรับนักศึกษา สาขาวิชาชีพครู
 
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
 

More from Prachoom Rangkasikorn

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv

  • 1.
  • 2.
  • 3. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 29 คำ�นำ� สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต1ได้ดำ�เนินโครงการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเฉลิมพระเกียรติโดยดำ�เนินการ 3 ลักษณะ พร้อมทั้งจัดทำ�แนวปฏิบัติ ดังนี้ เล่ม 1 แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) เล่ม 2 แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล (Digital Video Disc: DVD) เล่ม 3 แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Learning: e-Learning) แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DistanceLearningTelevision:DLTV)เล่มนี้จัดทำ�ขึ้นเพื่อเป็นแนวทางให้โรงเรียนนำ�ไปใช้ ในการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน โดยเฉพาะโรงเรียนที่ขาดแคลนครู และบุคลากรทางการศึกษา ครูสอนไม่ตรงวิชาเอกหรือตามความถนัด รวมทั้งสามารถ ใช้เป็นแนวทางให้โรงเรียนทั่วไปนำ�ไปใช้พัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนการสอน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ใคร่ขอขอบคุณ ผู้บริหารโรงเรียนครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกท่านที่ให้ความร่วมมือจัดทำ�แนวปฏิบัติ เล่มนี้จนสำ�เร็จด้วยดี (นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ) ผู้อำ�นวยการสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1
  • 4.
  • 5. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 31 สารบัญ หน้า คำ�นำ� สารบัญ บทนำ� 1 แนวทางการบริหารจัดการ 7 แนวทางในการจัดการเรียนการสอน 11 บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง 15 สรุปและข้อเสนอแนะ 21 เอกสารอ้างอิง 26 คณะผู้จัดทำ�
  • 6.
  • 7. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 1 บทนำ� สังคมในปัจจุบัน ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่เกิดการเปลี่ยนแปลง และพัฒนาขึ้นอย่างรวดเร็วมาก และได้เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำ�วันของทุกคน โดยเฉพาะในวงการศึกษา ตลอดจนวิวัฒนาการเกี่ยวกับองค์ความรู้เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว เป็นทวีคูณ การให้เด็กได้เข้าถึงความรู้ได้รวดเร็วและได้มาก โดยผ่านระบบเทคโนโลยี สมัยใหม่ เช่น อินเทอร์เน็ต และคอมพิวเตอร์ เป็นต้น จึงเป็นข้อได้เปรียบที่จะส่งผลต่อ คุณภาพนักเรียนและคุณภาพการศึกษา โดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 กำ�หนดให้นักเรียนใช้เทคโนโลยีได้ และใช้เป็นเครื่องมือในการ แสวงหาความรู้ ในปีการศึกษา2553สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรีเขต1 มีโรงเรียนอยู่ในสังกัด จำ�นวน 146 โรงเรียน มีนักเรียน จำ�นวน 24,037 คน และ ครู จำ�นวน 1,314 คน โรงเรียนจำ�นวนมากประสบปัญหาสำ�คัญ คือ การขาดครูผู้สอน หรือมีครูไม่ครบชั้น ครูสอนไม่ตรงวิชาเอกหรือตรงตามความถนัด ขาดแคลนทรัพยากร ด้านงบประมาณ สื่อ อุปกรณ์การเรียนการสอน และผลจากการประเมินของ สำ�นักรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในรอบที่สอง มีโรงเรียน หลายโรงเรียนไม่ผ่านการรับรองคุณภาพ สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 ได้ตระหนัก และให้ความสำ�คัญกับปัญหาดังกล่าว จึงได้หาแนวทางในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพ การศึกษาของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาที่ประสบปัญหาจึงได้ประยุกต์ใช้เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลในโรงเรียน ซึ่งมี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) 2. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อวีดิทัศน์ระบบดิจิทัล (Digital Video Disc: DVD) 3. การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Learning: e-Learning) โดยให้โรงเรียนเลือกลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือหลายลักษณะ และนำ�ไปใช้ จัดการเรียนการสอนในโรงเรียน ตามความเหมาะสมกับบริบทของตน
  • 8. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV2 การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม จากโรงเรียนวังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ซึ่งเป็นโรงเรียน ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดการเรียนการสอน ด้วยระบบทางไกลผ่านดาวเทียมเพื่อสนอง พระบรมราโชบายของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช เรื่องการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เป็นต้นแบบในการจัดการศึกษา ตามแนวพระราชดำ�ริเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งยังเป็นแนวทางสำ�หรับพัฒนาครู ในแต่ละ สาขาวิชาให้มีคุณภาพสูงขึ้นและร่วมมือกับ กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ทั้งในเขตเมืองและ ในชนบท ถิ่นทุรกันดาร ให้มีมาตรฐานเท่าเทียมกัน จากการสอนของครูคนเดียวกันและ ในเวลาเดียวกัน การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเปรียบเสมือนทุกโรงเรียนได้ครูเพิ่มขึ้น หรือเรียกว่า “ครูพระราชทาน” จึงเกิดประโยชน์ต่อโรงเรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียนและ ผู้สนใจทั่วไปที่สามารถนำ�มาใช้ในการพัฒนาการบริหารการศึกษาพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ของครู เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียนและการศึกษาตามอัธยาศัยหรือผู้สนใจ ได้เป็นอย่างดีการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นการจัดการเรียนการสอน โดยการเปิดรับสัญญาณออกอากาศทางสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ซึ่งถ่ายทอดสดการจัดการเรียนการสอนจากโรงเรียนวังไกลกังวล อำ�เภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6 ทางช่อง DLTV 1 - DLTV 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ทางช่อง DLTV 7 - DLTV 9 ซึ่งโรงเรียนต่าง ๆ ทั้งในประเทศ และต่างประเทศสามารถเปิดรับสัญญาณออกอากาศการจัดการเรียนการสอน
  • 9. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 3 ได้พร้อม ๆ กัน ในเวลาเดียวกัน โดยสามารถเปิดรับสัญญาณได้ตามความต้องการของ ระดับชั้นที่เปิดสอน ถือได้ว่าการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นระบบ การเรียนการสอนแบบซิงโครนัส Synchronous ระหว่างผู้เรียนและผู้สอนอยู่ใน เวลาเดียวกัน เป็นแบบเรียลไทม์ เน้นผู้สอนเป็นศูนย์กลาง (ยืน ภู่วรวรรณ และสมชาย นำ�ประเสริฐชัย. 2546) วัตถุประสงค์ เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ที่เป็นผู้ปฏิบัติโดยตรง และผู้เกี่ยวข้อง ได้แก่ ผู้บริหารระดับเขตพื้นที่ ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียน ครู นักเรียน ผู้ปกครอง กรรมการสถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้อง ปัจจัยสำ�คัญในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม การนำ�แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มาใช้ มีปัจจัยสำ�คัญที่เกี่ยวข้อง คือ
  • 10. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV4 1. โรงเรียนต้องมีเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมและโทรทัศน์ 2. ผู้เกี่ยวข้องต้องมีความรู้ความเข้าใจ เห็นความสำ�คัญของการจัดการเรียน การสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและดำ�เนินงานอย่างจริงจังต่อเนื่อง 3. นักเรียนต้องเข้าใจวิธีการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ที่ถูกต้อง มีวินัยในการเรียน มีทักษะพื้นฐานเหมาะสมกับระดับชั้น เพื่อให้สามารถ ปฏิบัติกิจกรรมได้ทันกำ�หนดของโรงเรียนต้นทาง (โรงเรียนวังไกลกังวล) 4. โรงเรียนต้องวางแผนการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สามารถ ชมรายการได้ครบถ้วนตามตารางออกอากาศของโรงเรียนต้นทาง (โรงเรียนวังไกลกังวล) โรงเรียนสามารถนำ�มาประยุกต์ใช้ได้ตามความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ซึ่งถ้าโรงเรียนนำ�แนวทางการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม มาใช้อย่างถูกต้องจริงจังและต่อเนื่อง จะส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น และมีคุณภาพตามเป้าหมายของสำ�นักงานเขตพื้นที่และหลักสูตร
  • 11. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 5 สิ่งที่คาดหวัง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น ภาพการมอบรางวัลนักเรียนเรียนดีเหรียญทอง โครงการความเป็นเลิศทางวิชาการ
  • 13. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 7 แนวทางการบริหารจัดการ การบริหารจัดการการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ให้เกิดประสิทธิภาพและ เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน มีแนวทางดำ�เนินการ ดังนี้ 1. การเตรียมความพร้อม โรงเรียนดำ�เนินการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆก่อนที่จะจัดการเรียนการสอน ทางไกลผ่านดาวเทียม ดังนี้ 1.1. ด้านบุคลากร 1) สร้างความตระหนักแก่บุคลากร ในโรงเรียนเพื่อให้เห็นความจำ�เป็นและความสำ�คัญ ของการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 2) วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา ด้านต่าง ๆ ของการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน และวางแผนการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมให้เหมาะสมกับ บริบทของโรงเรียน 3) พัฒนาความรู้ความเข้าใจระบบ วิธีการจัดการเรียนการสอน โดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมอย่างชัดเจน 4) ประชุมชี้แจงคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครองนักเรียน เพื่อสร้าง ความเข้าใจและขอความร่วมมือในการดำ�เนินงานจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมให้ประสบความสำ�เร็จ
  • 14. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV8 1.2 ด้านอุปกรณ์และสื่อ 1) จัดหาเครื่องรับสัญญาณดาวเทียมและโทรทัศน์ขนาดเหมาะสม กับห้องเรียนและจำ�นวนนักเรียน กรณีมีจำ�นวนนักเรียนน้อยกว่า 20 คน/ห้อง โทรทัศน์ควรมีขนาด 21 นิ้ว ขึ้นไป และกรณีมีจำ�นวนนักเรียนมากกว่า 20 คน/ห้อง โทรทัศน์ควรมีขนาดไม่ต่ำ�กว่า 29 นิ้ว 2) ติดตั้งโทรทัศน์ให้มีความสูงเหมาะสมกับระดับสายตานักเรียน คือ ประมาณ 1.50 – 1.60 เมตร ระยะห่างจากนักเรียนแถวหน้าสุดถึงโทรทัศน์ ประมาณ 2.00 - 3.00 เมตร หรือตามความเหมาะสมเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อสายตาของนักเรียน 1.3 ด้านเอกสาร 1) จัดหาคู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับ โรงเรียนปลายทางให้เพียงพอ โดยติดต่อขอรับได้ที่มูลนิธิการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียม กระทรวงศึกษาธิการ หรือค้นหาจากเว็บไซต์ (http://www.dlf.ac.th) QuickTime™ and a decompressor are needed to see this picture.
  • 15. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 9 2) ปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาและโครงสร้างเวลาเรียนของโรงเรียน ให้สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนของโรงเรียนวังไกลกังวลตามความเหมาะสม 3) กำ�หนดการเรียนรู้แต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ให้สัมพันธ์กับ คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 4) จัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนปลายทางให้สัมพันธ์ กับโรงเรียนต้นทาง เพื่อให้ครูเห็นภาพตลอดแนวและดำ�เนินกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง 5) จัดทำ�ตารางสอนของโรงเรียนให้สอดคล้องกับตารางออกอากาศ แต่ละวันจากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 2. การจัดครูเข้าสอน การจัดชั้นเรียนและจัดครูเข้าสอนต้องจัดให้เหมาะสมกับจำ�นวนบุคลากร ของโรงเรียน กรณีมีครูไม่ครบชั้นเรียน ครู 1 คน อาจต้องกำ�กับดูแลนักเรียน 2 ห้องเรียน ในขณะรับสัญญาณการออกอากาศจากโรงเรียนวังไกลกังวล ซึ่งครูที่รับผิดชอบ นักเรียน 2 ห้องเรียนต้องวางแผนการใช้เวลา ควบคุมและให้คำ�แนะนำ�นักเรียน อย่างเหมาะสม
  • 16. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV10 3. กำ�หนดเวลาเรียน การกำ�หนดเวลาเรียน ควรกำ�หนดเวลาเข้าเรียน เลิกเรียนและจัดตาราง กิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนให้เหมาะสมไม่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนการสอนตามตาราง ออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ทางไกลผ่านดาวเทียมการจัดเวลานอกตารางออกอากาศ ของสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เพื่อใช้จัดกิจกรรมพิเศษหรือ ซ่อมเสริมนักเรียน ดำ�เนินการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมตามตารางออกอากาศของแต่ละชั้น ตั้งแต่วันจันทร์ถึงวันศุกร์ เริ่มเวลา 08.30 น. ถึง 14.30 น. (ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-6) และ ระหว่าง เวลา 08.30 น. ถึง 15.30 น. (ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3) 4. การนิเทศ ควรดำ�เนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมเป็นระยะ ๆ เพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนา 5. การสรุปผลและรายงาน สรุปผลการดำ�เนินงานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมเมื่อสิ้นภาคเรียนและสิ้นปีการศึกษา
  • 17. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 11 แนวทางในการจัดการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) ครูผู้สอนควรดำ�เนินการตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ขั้นเตรียมการสอน 1.1 ศึกษา ทบทวน หลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างเวลาเรียนแต่ละ กลุ่มสาระการเรียนรู้เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนของโรงเรียนวังไกลกังวล 1.2 ศึกษาหน่วยการเรียนรู้ กำ�หนดการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน เพื่อพิจารณาเทียบเคียงกับผังมโนทัศน์และกำ�หนดการเรียนรู้จากคู่มือครู สอนทางไกลผ่านดาวเทียมสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง 1.3 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียม สำ�หรับโรงเรียนปลายทาง แล้วจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง โดยระบุรายการสื่อ เอกสาร ใบงานที่ต้องเตรียมและกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติทั้งก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังรับชมการจัดการเรียนรู้จากรายการที่ออกอากาศแต่ละครั้ง เพื่อให้ครูเห็นภาพ ตลอดแนวและดำ�เนินการจัดกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง 1.4 วางแผนการจัดการในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้เรียนตามตาราง ออกอากาศ ดังนี้ กรณีครูสอน 1 ห้องเรียน สามารถอยู่กำ�กับชั้นเรียนได้ตลอดเวลา ควรเตรียมการสนทนา แนะนำ�เพิ่มเติม ทั้งการนำ�เข้าสู่บทเรียน การปฏิบัติกิจกรรม ระหว่างเรียน และสรุปบทเรียน กรณีได้รับมอบหมายให้สอนมากกว่า 1 ห้องเรียนในเวลาเดียวกัน ครูต้องเตรียมมอบหมายงานและชี้แจงขั้นตอนการเรียนทางไกลของนักเรียนแต่ละชั้น ให้นักเรียนเข้าใจ ครูผู้สอนต้องพิจารณาว่าจะไปกำ�กับการเรียนของนักเรียนชั้นใด เวลาใด อย่างไร
  • 18. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV12 1.5 เตรียมสื่อ วัสดุ อุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้และกิจกรรมเสริม ตามที่ คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมกำ�หนดสำ�หรับโรงเรียนปลายทาง หรืออาจประยุกต์ ตามความเหมาะสมกับท้องถิ่นและความจำ�เป็น 1.6 จัดนักเรียนเข้าเรียนตามตารางออกอากาศ เพื่อให้สามารถปฏิบัติ กิจกรรมการเรียนการสอนได้อย่างครบถ้วน กรณีไม่สามารถรับชมรายการออกอากาศ ได้ในแต่ละครั้ง ครูต้องจัดกิจกรรมสอนเพิ่มเติมให้แก่นักเรียน 1.7 จัดวางเครื่องรับโทรทัศน์ให้เหมาะสม นักเรียนสามารถมองเห็น ได้ชัดเจน ทั่วถึง และตรวจสอบเครื่องรับสัญญาณของโรงเรียน ด้านการส่งสัญญาณ ออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ก่อนถึงเวลา ออกอากาศตามตารางเพื่อเตรียมพร้อม 1.8 จัดสภาพห้องเรียนให้เหมาะสมเอื้อต่อการปฏิบัติกิจกรรม ตามแผนการจัดการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง 2. ขั้นจัดการเรียนการสอน 2.1 ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนเพื่อเชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่แก่นักเรียน ให้สามารถเข้าใจเนื้อหาอย่างต่อเนื่อง 2.2 เปิดรับสัญญาณการออกอากาศการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จาก สถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมและปฏิบัติกิจกรรมตามโรงเรียน ต้นทาง
  • 19. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 13 2.3 กำ�กับ ดูแล สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน ครูแนะนำ� อธิบายเพิ่มเติมตามความจำ�เป็น กรณีครูต้องสอนมากกว่า 1 ห้องเรียนในเวลาเดียวกัน ควรศึกษากิจกรรมตามแผนการจัดการเรียนรู้อย่างละเอียด เพื่อวางแผนการใช้เวลา ในการหมุนเวียน สับเปลี่ยนการกำ�กับดูแลห้องเรียนได้อย่างเหมาะสม 3. ขั้นสรุป 3.1 ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปบทเรียน สาระสำ�คัญจากการเรียน แต่ละครั้ง 3.2 ติดตาม ตรวจสอบการทำ�แบบฝึกหัด ชิ้นงานของนักเรียนแต่ละคน 4. ขั้นวัดและประเมินผล ดำ�เนินการวัดผลและประเมินผล เมื่อกิจกรรมการเรียนการสอนสิ้นสุดลง ในแต่ละครั้ง แต่ละหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าผลการเรียนบรรลุจุดประสงค์ การเรียนรู้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด แล้ววิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาต่อไป 5. ขั้นบันทึกผลหลังสอน ครูบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ในแต่ละครั้งหลังการจัดการเรียนรู้สิ้นสุดลง โดยมีหัวข้อ ดังนี้ ชื่อกลุ่มสาระการเรียนรู้ ชั้นที่สอน หน่วยการเรียนรู้ เนื้อหากิจกรรม การเรียนการสอน สรุปผล และบันทึกผลหลังสอน 6. ขั้นสอนซ่อมเสริม ครูจัดกิจกรรมการสอนซ่อมเสริมนอกตารางออกอากาศ เพื่อช่วยเหลือ นักเรียนที่ไม่บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้หรือให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน
  • 21. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 15 บทบาทของผู้เกี่ยวข้อง บทบาทของผู้เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกล ผ่านดาวเทียมอย่างมีประสิทธิภาพควรดำ�เนินการ ดังนี้ 1. ผู้บริหารโรงเรียน 1.1 ศึกษาหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมของ โรงเรียนวังไกลกังวลและหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกัน และสัมพันธ์กับระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลของโรงเรียน 1.2 ประชุมชี้แจงสร้างความตระหนัก และความเข้าใจแก่ผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย 1.3 จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องรับสัญญาณ และดำ�เนินการติดตั้งระบบ ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ 1.4 แต่งตั้งให้ครูรับผิดชอบการจัดการเรียนการสอนอย่างเหมาะสม กับบุคลากรของโรงเรียน โดยเฉพาะกรณีครูไม่ครบชั้นเรียน 1.5 มอบหมายให้ครูจัดตารางสอน ตารางกิจกรรมต่าง ๆ ตลอดจน แผนการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนให้สัมพันธ์กับตารางออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 1.6 นิเทศ ติดตามการจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ การบันทึกผล หลังการจัดการเรียนรู้ การจัดทำ�เอกสารที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามตารางออกอากาศจากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 1.7 ประเมินผลการดำ�เนินงานการจัดการเรียนการสอนทางไกล ผ่านดาวเทียมเป็นรายเดือน รายภาคเรียน และสิ้นปีการศึกษา รายงานผลผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนา อย่างต่อเนื่อง 1.8 ประชาสัมพันธ์ผลการดำ�เนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
  • 22. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV16 2. ครูผู้สอน 2.1 ศึกษา ทบทวน หลักสูตรสถานศึกษา โครงสร้างเวลาเรียนแต่ละ กลุ่มสาระการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุงให้สอดคล้องกับโครงสร้างเวลาเรียนของ โรงเรียนวังไกลกังวล 2.2 ศึกษาหน่วยการเรียนรู้ กำ�หนดการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียน เพื่อพิจารณาเทียบเคียงกับผังมโนทัศน์และกำ�หนดการเรียนรู้จากคู่มือครู สอนทางไกลผ่านดาวเทียม 2.3 จัดทำ�ตารางสอนของโรงเรียนให้สอดคล้องกับตารางออกอากาศ แต่ละวันจากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 2.4 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ตามคู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียม สำ�หรับโรงเรียนปลายทาง แล้วจัดทำ�แผนการจัดการเรียนรู้ของตนเองขึ้น โดยระบุ รายการสื่อ เอกสาร ใบงานที่ต้องเตรียมและกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติทั้งก่อน ระหว่าง และหลังรับชมรายการการจัดการเรียนรู้จากรายการที่ออกอากาศแต่ละครั้ง เพื่อให้เห็น ภาพตลอดแนวและดำ�เนินการจัดกิจกรรมได้อย่างต่อเนื่อง 2.5 วางแผนการจัดการในชั้นเรียน เพื่อให้นักเรียนสามารถเรียน ตามตารางออกอากาศ ดังนี้ 1) กรณีครูสอน 1 ห้องเรียนสามารถอยู่กำ�กับชั้นเรียนได้ตลอดเวลา ควรเตรียมการสนทนา แนะนำ�เพิ่มเติม ทั้งการนำ�เข้าสู่บทเรียน การปฏิบัติกิจกรรม ระหว่างเรียน และสรุปบทเรียน 2) กรณีได้รับมอบหมายให้สอนมากกว่า 1 ห้องเรียนในเวลาเดียวกัน ครูต้องเตรียมมอบหมายงานและขั้นตอนการเรียนทางไกลของนักเรียนแต่ละชั้น ให้นักเรียนเข้าใจ ครูผู้สอนต้องพิจารณาว่าจะไปกำ�กับการเรียนของนักเรียนชั้นใด เวลาใด อย่างไร 2.6 เตรียมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ใบงาน ใบความรู้และกิจกรรมเสริม ตามที่ คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียมกำ�หนด หรืออาจประยุกต์ตามความเหมาะสม กับท้องถิ่นและความจำ�เป็น
  • 23. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 17 2.7 ร่วมจัดการเรียนการสอนไปพร้อมกับโรงเรียนต้นทางและให้นักเรียน สามารถปฏิบัติกิจกรรมการเรียนตามตารางออกอากาศแต่ละครั้งอย่างครบถ้วนและ ครูต้องอยู่กำ�กับดูแล แนะนำ�นักเรียนอย่างต่อเนื่อง 2.8 สรุปสาระสำ�คัญในแต่ละครั้งร่วมกับนักเรียนหลังจากกิจกรรม การเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียมสิ้นสุดลง 2.9 วัดและประเมินผลเมื่อกิจกรรมการเรียนการสอนสิ้นสุดลง ในแต่ละครั้ง แต่ละหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าผลการเรียนบรรลุจุดประสงค์ การเรียนรู้หรือไม่ มากน้อยเพียงใด แล้ววิเคราะห์เพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาต่อไป 2.10 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้ในแต่ละครั้ง 2.11 จัดกิจกรรมซ่อมเสริมนอกตารางออกอากาศ เพื่อช่วยเหลือนักเรียน ที่ไม่บรรลุจุดประสงค์การเรียนรู้หรือให้ความรู้เพิ่มเติมแก่นักเรียน 2.12 ดำ�เนินการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ปลายภาค/ปลายปี ตามระเบียบการวัดและประเมินผลของโรงเรียน ทั้งนี้ต้องมีความสอดคล้องกับ การจัดการเรียนการสอนที่ผ่านมา
  • 24. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV18 3. นักเรียน 3.1 ทำ�ความเข้าใจวิธีการเรียนรู้จากการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษา ทางไกลผ่านดาวเทียมตามที่ครูแนะนำ� 3.2 จัดเตรียมวัสดุ อุปกรณ์การเรียน เพื่อใช้ในการจัดกิจกรรมแต่ละครั้ง ตามที่ครูมอบหมาย 3.3 เข้าห้องเรียนตรงเวลาตามที่โรงเรียนกำ�หนด 3.4 ตั้งใจปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอนพร้อม ๆ กับโรงเรียน ต้นทาง 3.5 ทำ�แบบฝึกหัด ใบงาน หรือตอบคำ�ถามตามที่ครูโรงเรียนต้นทาง มอบหมาย 3.6 ซักถามครูผู้สอน ถ้ามีข้อสงสัย หรือข้อคิดเห็นที่เกิดขึ้นขณะจัดกิจกรรม การเรียนรู้ 3.7 มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่นเมื่อได้รับมอบหมายจากครูต้นทาง ให้ตรวจผลงานตนเอง 3.8 สรุปสาระสำ�คัญที่ได้รับจากการเรียนรู้แต่ละครั้ง 3.9 ทบทวนบทเรียน ศึกษาค้นคว้าจากแหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เพิ่มเติม
  • 25. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 19 4. ผู้ปกครอง 4.1 รับทราบและทำ�ความเข้าใจระบบวิธีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมที่โรงเรียนนำ�มาใช้ 4.2 ตระหนักถึงความสำ�คัญ ความจำ�เป็น และประโยชน์ของการเรียน การสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 4.3 ให้ความร่วมมือ ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมการเรียนการสอน ของนักเรียนและครู 4.4 สนับสนุนส่งเสริม การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการรับสัญญาณ จากสถานีวิทยุโทรทัศน์การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 4.5 ติดตาม สอบถามการเรียนของนักเรียน และร่วมมือกับโรงเรียน ในการประเมินผลการจัดการเรียนการสอน เพื่อปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาต่อไป อย่างต่อเนื่อง 5. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน 5.1 กำ�หนดนโยบายร่วมกับโรงเรียน ในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 5.2 มีส่วนร่วมในการปรับหลักสูตรให้สอดคล้องกับหลักสูตรของ โรงเรียนวังไกลกังวล 5.3 ให้ความเห็นชอบแผนการดำ�เนินงานการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 5.4 มีส่วนร่วมในการประเมินผลการดำ�เนินงานของโรงเรียนและ ประชาสัมพันธ์ผลการดำ�เนินงาน 6. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา 6.1 กำ�หนดนโยบายและกลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการศึกษา 6.2 สำ�รวจความต้องการของโรงเรียนในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
  • 26. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV20 6.3 ประชุมชี้แจงผู้บริหารให้มีความรู้ความเข้าใจและสามารถจัดการเรียน การสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 6.4 พัฒนาบุคลากรของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย 6.5 นิเทศติดตามช่วยเหลือสนับสนุนงบประมาณโรงเรียนที่จัดการเรียน การสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 6.6 ประเมินผลการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม 6.7 นำ�ผลการประเมิน การบริหารจัดการ และการจัดการเรียนการสอน มาปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการดำ�เนินงาน 6.8 ยกย่อง เชิดชูเกียรติ และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ โรงเรียนที่มี ผลการบริหารจัดการได้ตามเกณฑ์มาตรฐานของสำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา
  • 27. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 21 สรุปและข้อเสนอแนะ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจาก โรงเรียนวังไกลกังวลในโรงเรียนมีจุดมุ่งหมายเพื่อเอาชนะและแก้ปัญหาการขาดแคลนครู หรือครูไม่ครบชั้นการขาดครูสาขาวิชาเอกและการขาดแคลนทรัพยากรได้แก่งบประมาณ วัสดุอุปกรณ์และสื่อการเรียนการสอนโดยคาดหวังผลลัพธ์สุดท้ายคือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนสูงขึ้น ที่สำ�คัญ คือ ให้เด็กทุกคนได้รับโอกาสทางการเรียนรู้ที่เท่าเทียมกัน การจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน โดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นการ นำ�เทคโนโลยีสมัยใหม่และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ มาประยุกต์ใช้ให้บรรลุวัตถุประสงค์และ ความคาดหวังที่ตั้งไว้ จะต้องมีเครื่องมือ ปัจจัยต่าง ๆ เพื่อให้ผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน ผู้เกี่ยวข้อง อาทิ - แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (Distance Learning Television: DLTV) - ความพร้อมของโรงเรียนโดยเฉพาะผู้บริหารต้องมีภาวะผู้นำ�ด้านวิชาการสูง สามารถพัฒนา และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความ เหมาะสมกับบริบทของตน - ความพร้อมด้านปัจจัยต่าง ๆ ทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ สื่อ และการบริหารจัดการ - ความพยายามปฏิบัติของผู้บริหารโรงเรียน ครู และผู้เกี่ยวข้อง จะสามารถ ขจัดปัญหา และก้าวผ่านปัญหาต่าง ๆ ของโรงเรียน จะมีผลทำ�ให้เกิดกระแสความเชื่อมั่น ศรัทธา ในการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียนในด้านคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา กลับคืนมา ซึ่งการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมจากโรงเรียน วังไกลกังวลมีจุดมุ่งหมายเพื่อการแก้ปัญหาครูไม่ครบชั้นเรียนขาดแคลนครูในสาขาวิชาเอก ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น และเพื่อให้โรงเรียนมีมาตรฐาน ใกล้เคียงกัน
  • 28. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV22 ข้อเสนอแนะ การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อDLTVเป็นเรื่องใหม่จึงจำ�เป็นที่จะต้องพิสูจน์ เชิงวิทยาศาสตร์ให้ได้ข้อเท็จจริงเชิงประจักษ์และเกิดผลในการยกระดับคุณภาพผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนให้สูงขึ้น ควรดำ�เนินการในประเด็นอื่นเพิ่มเติมควบคู่ไปด้วย ได้แก่ 1. โรงเรียนที่มีความต้องการจะจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV ควรประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน 2. โรงเรียนควรประยุกต์ปรับเปลี่ยนกิจกรรมและเนื้อหาที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้อง กับสาระการเรียนรู้ท้องถิ่นของโรงเรียน 3. โรงเรียนควรดำ�เนินการวิจัยเพื่อประเมินผลการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สื่อ DLTV การวิจัยและพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ สื่อ DLTV เพื่อต่อยอดองค์ความรู้ต่อไป 4. โรงเรียนมีการพัฒนาหรือยกระดับ เพื่อสู่ความเป็นเลิศและเป็นโรงเรียน เข้มแข็งโดยโรงเรียนไม่จำ�เป็นต้องลองผิดลองถูกอาจเรียนรู้BestPracticesจากโรงเรียน หรือหน่วยงานเอกชนอื่น ๆ หรือทำ� Benchmarking จากหน่วยงานทางการศึกษา หน่วยงานเอกชนที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวได้ดีแล้ว ปัจจัยแห่งความสำ�เร็จ ปัจจัยสำ�คัญที่จะทำ�ให้การจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อDLTVประสบความสำ�เร็จ คือ 1. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษาควรให้การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน โดยใช้สื่อ DLTV อย่างจริงจังต่อเนื่อง 2. สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษา ควรมีการนิเทศ ติดตาม ประเมินผล และ เชิดชูเกียรติโรงเรียนที่จัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV ได้ประสบผลสำ�เร็จ 3. โรงเรียนที่มีความสนใจในการนำ�สื่อ DLTV มาใช้ ควรศึกษาหาความรู้ จากโรงเรียนที่เป็นต้นแบบให้มีความเข้าใจอย่างชัดเจนก่อนการดำ�เนินงาน
  • 29. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 23 4. ผู้บริหารโรงเรียนต้องเป็นผู้นำ�ด้วยความมุ่งมั่น โดยบริหารจัดการ ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้สื่อ DLTV ในการจัดการเรียนการสอน 5. ผู้บริหารโรงเรียนหรือผู้ได้รับมอบหมาย หรือครูในโรงเรียนดำ�เนินการ นิเทศติดตามการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อDLTVเป็นประจำ�ในลักษณะกัลยาณมิตร 6. ผู้บริหารโรงเรียนต้องสนับสนุนการจัดหาอุปกรณ์ วัสดุ และสื่อ DLTV ตลอดจนอำ�นวยความสะดวกให้การใช้สื่อ DLTV ในการจัดการเรียนการสอน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 7. พัฒนาครู บุคลากรทางการศึกษา ผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างต่อเนื่อง 8. ครูต้องเตรียมการสอนล่วงหน้าและวางแผนอย่างเป็นระบบทุกขั้นตอน รวมทั้งมอบหมายงานให้นักเรียนเตรียมพร้อมในการเรียนครั้งต่อไป 9. ควรมีโทรทัศน์และอุปกรณ์ สำ�รองไว้อย่างน้อย 1 ชุด เพื่อทดแทนได้ อย่างต่อเนื่อง เมื่อเครื่องเดิมชำ�รุดเสียหาย 10. คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานควรให้การสนับสนุนการจัดการเรียน การสอนโดยใช้สื่อ DLTV อย่างจริงจัง 11. บุคลากรทุกคน ทุกฝ่ายตระหนักและเห็นความสำ�คัญ ตลอดจนให้ความ ร่วมมือดำ�เนินการอย่างจริงจังต่อเนื่อง
  • 31. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV 25 นายขวัญแก้ว วัชโรทัย รองเลขาธิการพระราชวังฝ่ายกิจกรรมพิเศษและ ประธานมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นประธานพิธีเปิด “โครงการพัฒนา คุณภาพการเรียนการสอนด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเฉลิมพระเกียรติ” พร้อมกับได้มอบเกียรติบัตรให้แก่นายอนุสรณ์ ฟูเจริญและหน่วยงานที่สนับสนุนโครงการ ซึ่งมีนายสมศักย์ ภูรีศรีศักดิ์ ผู้ว่าราชการจังหวัดสุพรรณบุรีและผู้บริหารสถานศึกษา ร่วมพิธี
  • 32. แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อ DLTV26 เอกสารอ้างอิง การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม, มูลนิธิ. คู่มือครูสอนทางไกลผ่านดาวเทียม สำ�หรับโรงเรียนปลายทาง. โครงการการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม โรงเรียนวังไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ภาคเรียนที่ 1 และ 2 ปีการศึกษา2552.กรุงเทพมหานคร:อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง,2552. ขวัญแก้ว วัชโรทัย. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม: การเรียนรู้ตลอดชีวิตด้วย เทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร: อัมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, 2546. ประทีป โชติเวศย์ศิลป์. รายงานผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโรงเรียน ขนาดเล็ก โดยใช้สื่อการเรียนการสอนทางไกลผ่าน ดีวีดี. ม.ป.ท., 2550. ยืน ภู่วรวรรณ และสมชาย นำ�ประเสริฐชัย. ไอซีทีเพื่อการศึกษาไทย. กรุงเทพมหานคร: บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น จำ�กัด, 2546. อุบล เล่นวารี. การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียมกับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: รำ�ไทยเพรส, 2546.
  • 33. คณะผู้จัดทำ� คณะทำ�ง�น นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายปัญญา แสงอุทัย รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายวีระ ทวีสุข รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายประกอบชัย สะอาดดี ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน นายวันชัย พันธ์สิงห์จบ ผอ.กลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา นางสาววรินธร กาญจนระวีกุล ผอ.ร.ร.วัดโพธิ์ท่าทราย นายไชยโรจน์ ศรีวิเชียร ผอ.ร.ร.บรรหารแจ่มใสวิทยา 4 นางสาวสมพงษ์ สะราคำา ผอ.ร.ร.วัดไก่เตี้ย นายอำานวย ธีระธำารงชัยกุล ผอ.ร.ร.วัดคลองโมง นายทะนง พุทธจำา ผอ.ร.ร.วัดบ้านกล้วย นายไพศาล ชูเชื้อ ผอ.ร.ร.วัดสุวรรณนาคี นายประภา น้อยสกุล ผอ.ร.ร.วัดอุทุมพราราม นายปัญญา ธรรมวิชิต ผอ.ร.ร.วัดสำานักตะฆ่า นายนัทที เกรียงไกร ผอ.ร.ร.วัดสามทอง นางชาดา เคหะนาค ผอ.ร.ร.บ้านรางทอง นายสมัค ชินบุตร ผอ.ร.ร.วัดดอนเจดีย์ราษฏร์บูรณะ นางสาวฤทัยวรรณ หาญกล้า ผอ.ร.ร.วัดดอนไข่เต่า นางเฉลียว เอี่ยมสกุล ผอ.ร.ร.วัดวังพลับเหนือ นางสาวสุณิสา เกียวกุล รอง ผอ.ร.ร.อนุบาลสุพรรณบุรี นางสาวชบา พันธุ์ศักดิ์ ครู ร.ร.วัดพระธาตุ นางสาวสุพรรษา ภู่แก้ว ครู ร.ร.อนุบาลสุพรรณบุรี
  • 34. คณะผู้จัดทำ� (ต่อ) คณะบรรณ�ธิก�รกิจ นายอนุสรณ์ ฟูเจริญ ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายสุรพล จานสิบสี รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายยงยุทธ์ ยืนยงค์ รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายพงษ์กฤตย์ นามปพนอังกูร รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายอธิคม ลาพร รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายประพันธ์ สุดโต รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายนิคม สุขศรีดา รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายเกรียงไกร โกพัฒน์ตา รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายเผชิญศักดิ์ แก้วเขียว รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายจำาลอง บุญเรืองโรจน์ รอง ผอ.สพป.สุพรรณบุรี เขต 1 นายอารมณ์ วงศ์บัณฑิต ผอ.กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา นางดุษฎี ยืนยงค์ ศึกษานิเทศก์ นายมนู สมบูรณ์เหลือ ศึกษานิเทศก์ นางสุวิมล อิงคะประดิษฐ์ ศึกษานิเทศก์ นายเชษฐ์ ผิวลออ ศึกษานิเทศก์ นายไพฑูรย์ สุขสุคนธ์ ศึกษานิเทศก์ นายพยัพ สาธุพันธ์ ศึกษานิเทศก์ นายกิตติพศ ศิริสูตร ศึกษานิเทศก์ นางสาววรรณี ไทยานันท์ ศึกษานิเทศก์ นางอภัสรา นันต๊ะ ศึกษานิเทศก์ นางจิราธร สามารถ ศึกษานิเทศก์
  • 35. คณะผู้จัดทำ� (ต่อ) คณะบรรณ�ธิก�รกิจ (ต่อ) นายเฉลิมศักดิ์ จิตถนอม ศึกษานิเทศก์ นางเกสรา อารยะจารุ ศึกษานิเทศก์ นางดวงทิพย์ เพ็ชรนิล ศึกษานิเทศก์ นายภัทรวัตฐ์ ซื่อตรง ศึกษานิเทศก์ นางสาวสุคนธ์ทิพ สำาเนียงดี ศึกษานิเทศก์ นางสุกัญญา สะอาดดี นักทรัพยากรบุคคล นางจารุวรรณ รัตภาสกร นักทรัพยากรบุคคล ปก นายนพธีร์รัฐ พันธุ์หงษ์ ครู ร.ร.วัดสวนแตง รูปเล่ม นางดุษฎี ยืนยงค์ ศึกษานิเทศก์ นางสาวสุกัญญา พลนิกร นักประชาสัมพันธ์ นางสาวภูษณิศา หงษ์โต นักวิเคราะห์นโยบายและแผน นายนพธีร์รัฐ พันธุ์หงษ์ ครู ร.ร.วัดสวนแตง นางสาวเสาวลักษณ์ เชื้อขำา เจ้าหน้าที่ธุรการ