SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
พิพธภัณฑสถานแห่ งชาติ เจ้ าสามพระยา เป็ นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ใน
              ิ
                                ่
จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ตั้งอยูที่ตาบลประตูชย ถนนปรี ดีพนมยงค์ ตรงข้ามกับ
                                            ั
มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา สร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ
          ่ ั
พระเจ้าอยูหว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดาเนินมา
ทอดพระเนตรโบราณวัตถุที่พบจากกรุ พระปรางค์ วัดราชบูรณะ จังหวัด
พระนครศรี อยุธยา เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา นับเป็ นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
แห่งแรกของไทยที่มีรูปแบบการจัดแสดงแบบใหม่คือ นาโบราณวัตถุมาจัดแสดง
จานวนไม่มากจนเกินไปและใช้แสงสี มาทาให้การนาเสนอดูน่าสนใจ
ประวัติพพธภัณฑสถานแห่ งชาติ เจ้ าสามพระยา
        ิ ิ




                                          ่ ั
        ในครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว มีพระราชปรารภกับรัฐมนตรี
กระทรวงศึกษาธิ การและอธิ บดีกรมศิลปากรในสมัยนั้นว่า “ โบราณวัตถุ และ
ศิลปวัตถุที่พบในกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะนี้ สมควรจะได้มีพิพิธภัณฑสถานเก็บ
                                ั
รักษา และตั้งแสดงให้ประชาชนในจังหวัดพระนครศรี อยุธยานี้ หาควรนาไปเก็บ
รักษา และตั้งแสดง ณ ที่อื่นไม่”
ด้วยเหตุน้ ี กรมศิลปากรจึงได้สร้าง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ขึ้น
เพื่อเก็บรักษาจัดแสดงโบราณวัตถุที่พบจากกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะ และโบราณวัตถุ
                                                           ั
พบในจังหวัดนี้ โดยใช้เงินเงินบริ จาคจากประชาชน และผูบริ จาคได้รับพระพิมพ์ที่พบ
                                                         ้
จากกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะเป็ นการสมนาคุณ
                       ั
่ ั
     ทั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้อญเชิญพระนาม
                                                               ั
สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ผูทรงสร้างพระปรางค์วดราชบูรณะเป็ น
                                            ้                    ั
                                                           ่ ั
นามพิพิธภัณฑ์ และเมื่อสร้างเสร็ จแล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว และสมเด็จพระนาง
เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิ ดพิพธภัณฑสถานแห่ งชาติ เมื่อ
                                                   ิ
วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2504
พิพธภัณฑ์ ประกอบด้ วย อาคารหลัก 3 อาคาร
   ิ
1. หมู่อาคารเรือนไทย
                    ่
    สร้างคร่ อมอยูบนสระ จัดแสดงเพื่อรักษารู ปแบบเรื อนไทยแบบภาคกลาง และ
จัดแสดงสิ่ งของเครื่ องใช้ต่าง ๆ ภายในเรื อนอาศัยของคนไทยภาคกลางในอดีต
2. อาคารศิลปะในประเทศไทย
     เป็ นอาคาร 2 ชั้น จัดแสดงศิลปวัตถุสมัยต่าง ๆ ที่รวบรวมได้จากจังหวัดอยุธยา เช่น
• สมัยทวารวดี (พระพุทธรู ปหิ นประทับยืนบนหัวของพนัสบดี พระพุทธรู ปสาริ ดประทับยืนปางประทานพร)
• สมัยศรี วิชย (เศียรพระสาริ ด)
             ั
• สมัยลพบุรี (พระพุทธรู ปสาริ ดปางประทานพร ปางนาคปรก พระโพธิ สัตว์อวโลกิเตศวร)
• สมัยสุ โขทัย (เครื่ องกระเบื้องเคลือบต่าง ๆ โดยเฉพาะตุ๊กตา)
• สมัยเชียงแสน สมัยอยุธยา (ฐานพระพุทะรู ปทาจากดินเผา มีรูปพระแม่ธรณี และเศียรพระพุทธสาวกที่ทาจากดินเผา)
• สมัยรัตนโกสิ นทร์ (แผ่นหิ นอ่อนจาหลักเรื่ อง รามเกียรติ์ จากวัดโพธิ์ )
3. อาคารตึกเจ้ าสามพระยา
เป็ นอาคารหลักที่สาคัญที่สุด เพราะเก็บศิลปวัตถุอยุธยาชิ้นที่ถือว่าสาคัญ ๆ
บรรณานุกรม
• วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี .พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา.สื บค้นเมื่อ 12 สิ งหาคม 2555
           จาก th.wikipedia.org/wiki/พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ_เจ้าสมพระยา
• สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา .พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา.
           สื บค้นเมื่อ 12 สิ งหาคม 2555 จาhttp://www.ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/356/116/

More Related Content

Similar to พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักPN17
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก Copy
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก   Copyพิพิธภัณฑ์ในบางกอก   Copy
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก Copyittichock
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์numattapon
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาPattama Poyangyuen
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาPattama Poyangyuen
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาPattama Poyangyuen
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมVisanu Euarchukiati
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์Patcha Jirasuwanpong
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทยJulPcc CR
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักArtit Songsee
 
ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ
ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ
ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพyuparat4118
 

Similar to พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา (20)

Aksorn 3
Aksorn 3Aksorn 3
Aksorn 3
 
บ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนักบ้านจ๊างนัก
บ้านจ๊างนัก
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
แหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยว
แหล่งท่องเที่ยว
 
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก Copy
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก   Copyพิพิธภัณฑ์ในบางกอก   Copy
พิพิธภัณฑ์ในบางกอก Copy
 
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
เรื่องที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
Pipit
PipitPipit
Pipit
 
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษารายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
 
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
สถาปัตยกรรมไทยที่เกี่ยวเนื่องกับพระมหากษัตริย์
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
03การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ไทย
 
Brochure
BrochureBrochure
Brochure
 
Brochure1
Brochure1Brochure1
Brochure1
 
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนักพิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
พิพิธภัณฑ์บ้านจ๊างนัก
 
ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ
ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ
ท้องฟ้าจำลองกรุงเทพ
 

พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา

  • 1.
  • 2. พิพธภัณฑสถานแห่ งชาติ เจ้ าสามพระยา เป็ นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ใน ิ ่ จังหวัดพระนครศรี อยุธยา ตั้งอยูที่ตาบลประตูชย ถนนปรี ดีพนมยงค์ ตรงข้ามกับ ั มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา สร้างขึ้นเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จ ่ ั พระเจ้าอยูหว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดาเนินมา ทอดพระเนตรโบราณวัตถุที่พบจากกรุ พระปรางค์ วัดราชบูรณะ จังหวัด พระนครศรี อยุธยา เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2500
  • 3. พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา นับเป็ นพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ แห่งแรกของไทยที่มีรูปแบบการจัดแสดงแบบใหม่คือ นาโบราณวัตถุมาจัดแสดง จานวนไม่มากจนเกินไปและใช้แสงสี มาทาให้การนาเสนอดูน่าสนใจ
  • 4. ประวัติพพธภัณฑสถานแห่ งชาติ เจ้ าสามพระยา ิ ิ ่ ั ในครั้งนั้น พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว มีพระราชปรารภกับรัฐมนตรี กระทรวงศึกษาธิ การและอธิ บดีกรมศิลปากรในสมัยนั้นว่า “ โบราณวัตถุ และ ศิลปวัตถุที่พบในกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะนี้ สมควรจะได้มีพิพิธภัณฑสถานเก็บ ั รักษา และตั้งแสดงให้ประชาชนในจังหวัดพระนครศรี อยุธยานี้ หาควรนาไปเก็บ รักษา และตั้งแสดง ณ ที่อื่นไม่”
  • 5. ด้วยเหตุน้ ี กรมศิลปากรจึงได้สร้าง พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา ขึ้น เพื่อเก็บรักษาจัดแสดงโบราณวัตถุที่พบจากกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะ และโบราณวัตถุ ั พบในจังหวัดนี้ โดยใช้เงินเงินบริ จาคจากประชาชน และผูบริ จาคได้รับพระพิมพ์ที่พบ ้ จากกรุ พระปรางค์วดราชบูรณะเป็ นการสมนาคุณ ั
  • 6. ่ ั ทั้งนี้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้อญเชิญพระนาม ั สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 (เจ้าสามพระยา) ผูทรงสร้างพระปรางค์วดราชบูรณะเป็ น ้ ั ่ ั นามพิพิธภัณฑ์ และเมื่อสร้างเสร็ จแล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหว และสมเด็จพระนาง เจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดาเนินทรงเปิ ดพิพธภัณฑสถานแห่ งชาติ เมื่อ ิ วันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2504
  • 7. พิพธภัณฑ์ ประกอบด้ วย อาคารหลัก 3 อาคาร ิ 1. หมู่อาคารเรือนไทย ่ สร้างคร่ อมอยูบนสระ จัดแสดงเพื่อรักษารู ปแบบเรื อนไทยแบบภาคกลาง และ จัดแสดงสิ่ งของเครื่ องใช้ต่าง ๆ ภายในเรื อนอาศัยของคนไทยภาคกลางในอดีต
  • 8. 2. อาคารศิลปะในประเทศไทย เป็ นอาคาร 2 ชั้น จัดแสดงศิลปวัตถุสมัยต่าง ๆ ที่รวบรวมได้จากจังหวัดอยุธยา เช่น • สมัยทวารวดี (พระพุทธรู ปหิ นประทับยืนบนหัวของพนัสบดี พระพุทธรู ปสาริ ดประทับยืนปางประทานพร) • สมัยศรี วิชย (เศียรพระสาริ ด) ั • สมัยลพบุรี (พระพุทธรู ปสาริ ดปางประทานพร ปางนาคปรก พระโพธิ สัตว์อวโลกิเตศวร) • สมัยสุ โขทัย (เครื่ องกระเบื้องเคลือบต่าง ๆ โดยเฉพาะตุ๊กตา) • สมัยเชียงแสน สมัยอยุธยา (ฐานพระพุทะรู ปทาจากดินเผา มีรูปพระแม่ธรณี และเศียรพระพุทธสาวกที่ทาจากดินเผา) • สมัยรัตนโกสิ นทร์ (แผ่นหิ นอ่อนจาหลักเรื่ อง รามเกียรติ์ จากวัดโพธิ์ )
  • 9. 3. อาคารตึกเจ้ าสามพระยา เป็ นอาคารหลักที่สาคัญที่สุด เพราะเก็บศิลปวัตถุอยุธยาชิ้นที่ถือว่าสาคัญ ๆ
  • 10. บรรณานุกรม • วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี .พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา.สื บค้นเมื่อ 12 สิ งหาคม 2555 จาก th.wikipedia.org/wiki/พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ_เจ้าสมพระยา • สถาบันอยุธยาศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรี อยุธยา .พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพระยา. สื บค้นเมื่อ 12 สิ งหาคม 2555 จาhttp://www.ayutthayastudies.aru.ac.th/content/view/356/116/