SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
คานา 
หนังสือเล่มเล็กเรื่องการวัดความยาวนี้เป็นหนังสือเสริมความรู้ทาง คณิตศาสตร์ที่นาเสนอความรู้พื้นฐานด้านการวัดทางคณิตศาสตร์ อย่างง่ายผ่านเรื่องเล่าจากนิทานหรือเกร็ดความรู้ทางประวัติศาสตร์ ที่ยังเชื่อมโยงเนื้อหาทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการวัดระยะให้ สอดคล้องกับวิชาต่างๆได้อย่างกลมกลืน เช่น เราสามารถนาคลื่น เสียงมาหาระยะทางได้อย่างไร เป็นการบูรณาการคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยให้ผู้อ่านเกิดความใฝ่รู้และได้เห็นมุม ที่สนุกสนานจากการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์และ สิ่งต่างๆรอบตัวเข้าด้วยกัน ทาให้การเรียนคณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่อง ยากอีกต่อไป 
จิตธนา รัตนดี
สารบัญ 
เครื่องมือวัดความยาว 4 
หน่วยวัดความยาว 8 
ความสัมพันธ์ของหน่วยวัดในระบบต่างๆ 10 
การเปลี่ยนหน่วยความยาว 12 
ความเป็นมาของการวัด 1 
การวัดโดยใช้ส่วนต่างๆของร่างกายเป็นเกณฑ์ 1
1.ความเป็นมาของการวัด 
รู้หรือไม่ในสมัยโบราณบรรพบุรุษ ของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับ การวัดระยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร จน บางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมายไม่ตรงกัน เมื่อมีการติดต่อไปมาระหว่างชุมชน มีการซื้อ ขายแลกเปลี่ยน ทาให้ต้องมีหน่วยการวัดและ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดที่ชัดเจนเพื่อสื่อความหมายได้ตรงกันมากขึ้น 
2.การวัดโดยใช้ส่วนต่างๆของร่างกายเป็นเกณฑ์ 
นิ้ว 
ศอก 
การวัดโดยใช้ส่วนต่างๆ 
เป็นเกณฑ์ 
แขน
สาหรับการวัดความยาวมีวิวัฒนาการเป็นลาดับคร่าวๆ โดยใน ระยะแรกๆ มีการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็นเกณฑ์อ้างอิง ได้แก่ 
2.1 นิ้ว ทาโดยวางนิ้วเรียงกัน ก็เรียกเป็น 1 นิ้ว 2 นิ้ว 3 นิ้ว 
2.2 ศอก ทาโดยวางท่องแขนแล้ววัดจากปลายนิ้วกลาง จนถึงข้อศอกก็เรียกเป็น 1 ศอก 2 ศอก
2.3 แขน กางแขนออกทั้งสองข้าง แล้ววัดจากปลายนิ้วข้างซ้าย ถึงปลายนิ้วข้างขวา ก็เรียกเป็น 1 วา 2 วา 
เพื่อนๆครับ ในชีวิตประจาวัน เพื่อนๆใช้อะไรวัดความยาวบ้าง
เอาล่ะ ถ้าอย่างนั้นเรามา รู้จักเครื่องมือวัดกันเลย 
3.เครื่องมือการวัดความยาว 
เครื่องมือการวัด 
ไม้บรรทัด 
ไม้เมตร 
ตลับเมตร 
สายวัด
3.1 ไม้บรรทัด 
คือ อุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทาด้วยไม้ พลาสติก หรือ โลหะ เป็นต้น สาหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง 
3.2 ไม้เมตร 
คือ เครื่องมือที่ใช้วัดความยาว ยาว 1 เมตร 
คือ เครื่องมือที่ใช้วัดความยาว ยาว 1 เมตร 
3.3 ตลับเมตร 
คือ เครื่องมือวัดชนิดหนึ่งที่มีสายวัด เก็บอยู่ในตลับอย่างมิดชิด ทาให้ สะดวกในการนาติดตัวไปใช้งานได้ ตลอดเวลา
2.4 สายวัด 
คือ เครื่องวัดระยะชนิดหนึ่งเป็นแถบเล็กยาว มีหน่วยวัดระยะ ใช้วัดสิ่งต่าง ๆ เช่น สายวัดตัวของช่างเย็บเสื้อ 
ในบรรดาเครื่องมือวัดที่กล่าวไป เพื่อนๆรู้จักเครื่องมือวัดใดบ้าง แล้ว เครื่องมือวัดนั้นใช้วัดอะไรน้า
จงบอกเครื่องมือวัดที่เหมาะสมกับกวัดสิ่งต่อไปนี้
ดังนั้นเราจึงต้องมีการกาหนดหน่วยวัดที่มีความเที่ยงตรงเพื่อ 
บางครั้งเป็นการวัดแบบหยาบๆ และอาจทาให้เกิดความ คลาดเคลื่อนในการสื่อความหมายได้ เช่น 
บ้านส้มและบ้านหน่อยอยู่ห่างกันประมาณสองคุ้งน้า 
วัดอยู่ไม่ไกลหรอก เดินไปแค่ชั่วหม้อข้าวเดือดเท่านั้นเอง 
หน่วยวัด 
มาตราวัดไทย 
ระบบอังกฤษ 
ระบบเมตริก 
4. หน่วยวัดความยาว
4.2 มาตราวัดความยาวในระบบเมตริก 
10 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เซนติเมตร 
100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร 
1000 เมตร เท่ากับ 1 กิโลเมตร 
4.1 มาตราวัดไทย 
12 นิ้ว เท่ากับ 1 คืบ 
2 คืบ เท่ากับ 1 ศอก 
4 ศอก เท่ากับ 1 วา 
20 วา เท่ากับ 1 เส้น 
400 เส้น เท่ากับ 1 โยชน์
ความสัมพันธ์ของหน่วยวัด ในระบบต่างๆ 
ระบบความยาวของไทยกับระบบเมตริก 
ระบบอังกฤษกับระบบเมตริก 
5.ความสัมพันธ์ของหน่วยวัดในระบบต่างๆ 
4.3 มาตราวัดความยาวในระบบอังกฤษ 
12 นิ้ว เท่ากับ 1 ฟุต 
3 ฟุต เท่ากับ 1 หลา 
1,760 หลา เท่ากับ 1 ไมล์
5.2 ระบบอังกฤษกับระบบเมตริก 
1 นิ้ว เท่ากับ 2.54 เซนติเมตร 
1 หลา เท่ากับ 90 เซนติเมตร 
1 ฟุต เท่ากับ 30 เซนติเมตร 
1 ไมล์ เท่ากับ 1.6 กิโลเมตร 
5.1 ระบบความยาวของไทยกับระบบเมตริก 
1 คืบ เท่ากับ 25 เซนติเมตร 
1 ศอก เท่ากับ 50 เซนติเมตร 
1 วา เท่ากับ 2 เมตร 
1 เส้น เท่ากับ 40 เมตร
การเปลี่ยน หน่วยความยาว 
เปลี่ยนหน่วยใหญ่เป็น หน่วยย่อย 
เปลี่ยนหน่วยย่อยเป็น หน่วยใหญ่ 
6.การเปลี่ยนหน่วยความยาว 
เรารู้ความสัมพันธ์ของหน่วยความยาว แล้ว ต่อไปเรามาเรียนรู้การเปลี่ยน หน่วยกัน
เอ..ถ้าอยากเปลี่ยนหน่วยของ ความยาวต้องทาอย่างไรน้า? ถ้า ยังไม่รู้ล่ะก็ ตามพี่แพะมาเลยจ้า 
6.1 การเปลี่ยนจากหน่วยย่อยเป็นหน่วยใหญ่ ใช้วิธีการหาร 
เช่น จากเซนติเมตรเป็นกิโลเมตร ต้องเปลี่ยนจากเซนติเมตรเป็น เมตร โดยการนา 100 ไปหารจานวน เมตร 
เนื่องจาก 100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร ได้ผลลัพธ์เป็นจานวน เมตร แล้วนา 1,000 ไปหารจานวนเมตร เนื่องจาก 1,000 เมตร เท่ากับกิโลเมตร จึงได้ผลลัพธ์เป็นจานวนกิโลเมตร
เชือกเส้นหนึ่งยาว 100 นิ้ว คิดเป็นความยาวกี่ฟุต 
ลองคิดดู 
6.2 การเปลี่ยนจากหน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อย ใช้วิธีการคูณ 
เช่น 1.จากกิโลเมตรเป็นเมตร โดยการนา 1,000 ไปคูณจานวน กิโลเมตร เนื่องจาก 1 กิโลเมตร เท่ากับ 1,000 เมตร ได้ผลลัพธ์ เป็นจานวนเมตร 
2. จากเส้นเป็นศอก ต้องเปลี่ยนจากเส้นเป็นวา โดยการนา 20 ไปคูณ จานวนเส้น เนื่องจาก 1 เส้น เท่ากับ 20 วา
กาแพงแสนยาว 
ความยาวของกาแพงเมืองจีน จนถึงขณะนี้ยังไม่มีใคร ทราบความยาวที่แท้จริงของกาแพงเมืองจีน ในภาษาจีน จะ เรียกกาแพงเมืองจีนว่า “กาแพงยาวหมื่นลี้” (หนึ่งลี้มีความ ยาวประมาณ 1/3 ไมล์) โดยคร่าวๆ กาแพงเมืองจีนมีความ ยาวประมาณ 4 พันไมล์ หรือ 6,350 กิโลเมตร ทอดผ่านทุ่ง หญ้า ทะเลทราย และเทือกเขาสูง ความสูงของกาแพงคือ 7 เมตร และกว้าง 5 เมตร
สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)

More Related Content

Similar to สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)

การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2Rainymath
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าJiraprapa Suwannajak
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณguest6eaa7e
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3Lumyai Pirum
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์PumPui Oranuch
 

Similar to สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet) (14)

การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
 
1 4
1 41 4
1 4
 
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วยแผนการสอนการวัดต่อหน่วย
แผนการสอนการวัดต่อหน่วย
 
ค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่าค่าประมาณและการประมาณค่า
ค่าประมาณและการประมาณค่า
 
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณบทที่ 1 หน่วยปริมาณ
บทที่ 1 หน่วยปริมาณ
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1 บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)บทที่ 1 (1)
บทที่ 1 (1)
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
58 ลำดับและอนุกรม บทนำ
 
111
111111
111
 

More from Jitthana_ss

การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนJitthana_ss
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษาJitthana_ss
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา Jitthana_ss
 
Learning environments design
Learning environments designLearning environments design
Learning environments designJitthana_ss
 
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้Jitthana_ss
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษาJitthana_ss
 

More from Jitthana_ss (6)

การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอนการผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
การผลิตสื่อกราฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Learning environments design
Learning environments designLearning environments design
Learning environments design
 
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
นวัตกรรม Chapter 4 สื่อการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
 

สมุดเล่มเล็ก (ฺBooklet)

  • 1.
  • 2.
  • 3. คานา หนังสือเล่มเล็กเรื่องการวัดความยาวนี้เป็นหนังสือเสริมความรู้ทาง คณิตศาสตร์ที่นาเสนอความรู้พื้นฐานด้านการวัดทางคณิตศาสตร์ อย่างง่ายผ่านเรื่องเล่าจากนิทานหรือเกร็ดความรู้ทางประวัติศาสตร์ ที่ยังเชื่อมโยงเนื้อหาทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับการวัดระยะให้ สอดคล้องกับวิชาต่างๆได้อย่างกลมกลืน เช่น เราสามารถนาคลื่น เสียงมาหาระยะทางได้อย่างไร เป็นการบูรณาการคณิตศาสตร์และ วิทยาศาสตร์เข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยให้ผู้อ่านเกิดความใฝ่รู้และได้เห็นมุม ที่สนุกสนานจากการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างคณิตศาสตร์และ สิ่งต่างๆรอบตัวเข้าด้วยกัน ทาให้การเรียนคณิตศาสตร์ไม่ใช่เรื่อง ยากอีกต่อไป จิตธนา รัตนดี
  • 4. สารบัญ เครื่องมือวัดความยาว 4 หน่วยวัดความยาว 8 ความสัมพันธ์ของหน่วยวัดในระบบต่างๆ 10 การเปลี่ยนหน่วยความยาว 12 ความเป็นมาของการวัด 1 การวัดโดยใช้ส่วนต่างๆของร่างกายเป็นเกณฑ์ 1
  • 5. 1.ความเป็นมาของการวัด รู้หรือไม่ในสมัยโบราณบรรพบุรุษ ของเรายังไม่มีเครื่องมือที่เป็นมาตรฐานเกี่ยวกับ การวัดระยะทาง เวลา พื้นที่ และปริมาตร จน บางครั้งเกิดปัญหาการสื่อความหมายไม่ตรงกัน เมื่อมีการติดต่อไปมาระหว่างชุมชน มีการซื้อ ขายแลกเปลี่ยน ทาให้ต้องมีหน่วยการวัดและ เครื่องมือที่ใช้ในการวัดที่ชัดเจนเพื่อสื่อความหมายได้ตรงกันมากขึ้น 2.การวัดโดยใช้ส่วนต่างๆของร่างกายเป็นเกณฑ์ นิ้ว ศอก การวัดโดยใช้ส่วนต่างๆ เป็นเกณฑ์ แขน
  • 6. สาหรับการวัดความยาวมีวิวัฒนาการเป็นลาดับคร่าวๆ โดยใน ระยะแรกๆ มีการใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกายเป็นเกณฑ์อ้างอิง ได้แก่ 2.1 นิ้ว ทาโดยวางนิ้วเรียงกัน ก็เรียกเป็น 1 นิ้ว 2 นิ้ว 3 นิ้ว 2.2 ศอก ทาโดยวางท่องแขนแล้ววัดจากปลายนิ้วกลาง จนถึงข้อศอกก็เรียกเป็น 1 ศอก 2 ศอก
  • 7. 2.3 แขน กางแขนออกทั้งสองข้าง แล้ววัดจากปลายนิ้วข้างซ้าย ถึงปลายนิ้วข้างขวา ก็เรียกเป็น 1 วา 2 วา เพื่อนๆครับ ในชีวิตประจาวัน เพื่อนๆใช้อะไรวัดความยาวบ้าง
  • 8. เอาล่ะ ถ้าอย่างนั้นเรามา รู้จักเครื่องมือวัดกันเลย 3.เครื่องมือการวัดความยาว เครื่องมือการวัด ไม้บรรทัด ไม้เมตร ตลับเมตร สายวัด
  • 9. 3.1 ไม้บรรทัด คือ อุปกรณ์การเขียนชนิดหนึ่งทาด้วยไม้ พลาสติก หรือ โลหะ เป็นต้น สาหรับทาบเป็นแนวเพื่อขีดเส้นให้ตรง 3.2 ไม้เมตร คือ เครื่องมือที่ใช้วัดความยาว ยาว 1 เมตร คือ เครื่องมือที่ใช้วัดความยาว ยาว 1 เมตร 3.3 ตลับเมตร คือ เครื่องมือวัดชนิดหนึ่งที่มีสายวัด เก็บอยู่ในตลับอย่างมิดชิด ทาให้ สะดวกในการนาติดตัวไปใช้งานได้ ตลอดเวลา
  • 10. 2.4 สายวัด คือ เครื่องวัดระยะชนิดหนึ่งเป็นแถบเล็กยาว มีหน่วยวัดระยะ ใช้วัดสิ่งต่าง ๆ เช่น สายวัดตัวของช่างเย็บเสื้อ ในบรรดาเครื่องมือวัดที่กล่าวไป เพื่อนๆรู้จักเครื่องมือวัดใดบ้าง แล้ว เครื่องมือวัดนั้นใช้วัดอะไรน้า
  • 12. ดังนั้นเราจึงต้องมีการกาหนดหน่วยวัดที่มีความเที่ยงตรงเพื่อ บางครั้งเป็นการวัดแบบหยาบๆ และอาจทาให้เกิดความ คลาดเคลื่อนในการสื่อความหมายได้ เช่น บ้านส้มและบ้านหน่อยอยู่ห่างกันประมาณสองคุ้งน้า วัดอยู่ไม่ไกลหรอก เดินไปแค่ชั่วหม้อข้าวเดือดเท่านั้นเอง หน่วยวัด มาตราวัดไทย ระบบอังกฤษ ระบบเมตริก 4. หน่วยวัดความยาว
  • 13. 4.2 มาตราวัดความยาวในระบบเมตริก 10 มิลลิเมตร เท่ากับ 1 เซนติเมตร 100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร 1000 เมตร เท่ากับ 1 กิโลเมตร 4.1 มาตราวัดไทย 12 นิ้ว เท่ากับ 1 คืบ 2 คืบ เท่ากับ 1 ศอก 4 ศอก เท่ากับ 1 วา 20 วา เท่ากับ 1 เส้น 400 เส้น เท่ากับ 1 โยชน์
  • 14. ความสัมพันธ์ของหน่วยวัด ในระบบต่างๆ ระบบความยาวของไทยกับระบบเมตริก ระบบอังกฤษกับระบบเมตริก 5.ความสัมพันธ์ของหน่วยวัดในระบบต่างๆ 4.3 มาตราวัดความยาวในระบบอังกฤษ 12 นิ้ว เท่ากับ 1 ฟุต 3 ฟุต เท่ากับ 1 หลา 1,760 หลา เท่ากับ 1 ไมล์
  • 15. 5.2 ระบบอังกฤษกับระบบเมตริก 1 นิ้ว เท่ากับ 2.54 เซนติเมตร 1 หลา เท่ากับ 90 เซนติเมตร 1 ฟุต เท่ากับ 30 เซนติเมตร 1 ไมล์ เท่ากับ 1.6 กิโลเมตร 5.1 ระบบความยาวของไทยกับระบบเมตริก 1 คืบ เท่ากับ 25 เซนติเมตร 1 ศอก เท่ากับ 50 เซนติเมตร 1 วา เท่ากับ 2 เมตร 1 เส้น เท่ากับ 40 เมตร
  • 16. การเปลี่ยน หน่วยความยาว เปลี่ยนหน่วยใหญ่เป็น หน่วยย่อย เปลี่ยนหน่วยย่อยเป็น หน่วยใหญ่ 6.การเปลี่ยนหน่วยความยาว เรารู้ความสัมพันธ์ของหน่วยความยาว แล้ว ต่อไปเรามาเรียนรู้การเปลี่ยน หน่วยกัน
  • 17. เอ..ถ้าอยากเปลี่ยนหน่วยของ ความยาวต้องทาอย่างไรน้า? ถ้า ยังไม่รู้ล่ะก็ ตามพี่แพะมาเลยจ้า 6.1 การเปลี่ยนจากหน่วยย่อยเป็นหน่วยใหญ่ ใช้วิธีการหาร เช่น จากเซนติเมตรเป็นกิโลเมตร ต้องเปลี่ยนจากเซนติเมตรเป็น เมตร โดยการนา 100 ไปหารจานวน เมตร เนื่องจาก 100 เซนติเมตร เท่ากับ 1 เมตร ได้ผลลัพธ์เป็นจานวน เมตร แล้วนา 1,000 ไปหารจานวนเมตร เนื่องจาก 1,000 เมตร เท่ากับกิโลเมตร จึงได้ผลลัพธ์เป็นจานวนกิโลเมตร
  • 18. เชือกเส้นหนึ่งยาว 100 นิ้ว คิดเป็นความยาวกี่ฟุต ลองคิดดู 6.2 การเปลี่ยนจากหน่วยใหญ่เป็นหน่วยย่อย ใช้วิธีการคูณ เช่น 1.จากกิโลเมตรเป็นเมตร โดยการนา 1,000 ไปคูณจานวน กิโลเมตร เนื่องจาก 1 กิโลเมตร เท่ากับ 1,000 เมตร ได้ผลลัพธ์ เป็นจานวนเมตร 2. จากเส้นเป็นศอก ต้องเปลี่ยนจากเส้นเป็นวา โดยการนา 20 ไปคูณ จานวนเส้น เนื่องจาก 1 เส้น เท่ากับ 20 วา
  • 19. กาแพงแสนยาว ความยาวของกาแพงเมืองจีน จนถึงขณะนี้ยังไม่มีใคร ทราบความยาวที่แท้จริงของกาแพงเมืองจีน ในภาษาจีน จะ เรียกกาแพงเมืองจีนว่า “กาแพงยาวหมื่นลี้” (หนึ่งลี้มีความ ยาวประมาณ 1/3 ไมล์) โดยคร่าวๆ กาแพงเมืองจีนมีความ ยาวประมาณ 4 พันไมล์ หรือ 6,350 กิโลเมตร ทอดผ่านทุ่ง หญ้า ทะเลทราย และเทือกเขาสูง ความสูงของกาแพงคือ 7 เมตร และกว้าง 5 เมตร