SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
The National Flag of
BRAZIL
Group 5Group 5
สมาชิกในกลุ่มสมาชิกในกลุ่ม 55
1.1. นสนส..ชัชมนต์ อุทัยเก่า รหัสชัชมนต์ อุทัยเก่า รหัส 5750026857500268
2.2. นสนส..จุฑามาศ สุเกษม รหัสจุฑามาศ สุเกษม รหัส 5750155457501554
3.3. ว่าที่ รว่าที่ ร..ตต. (. (หญิงหญิง)) ลักษณ์นารา บวรรัตนลักษณ์นารา บวรรัตน
เมธี รหัสเมธี รหัส 5750220657502206
4.4. นสนส..อัจฉริยา ปรีเปรม รหัสอัจฉริยา ปรีเปรม รหัส 5750116757501167
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ทางการตลาดระหว่างประเทศ
บริษัท เจริญโภคภัณฑ์อาหาร
จำากัด (มหาชน)
Strengths : จุดแข็ง
-มีฐานการผลิตที่แข็งแกร่งทั้งในประเทศ และต่าง
ประเทศ
-มีทีมงานด้านการตลาดระหว่างประเทศที่มาก
ประสบการณ์ และยังมีศักยภาพในการคัดเลือกผู้มี
ความรู้ความสามารถเข้าร่วมเป็นทีมงานเพิ่มได้อีก
-บริษัทมีความสามารถในการสร้างพันธมิตรทั้งคู่ค้า
ลูกค้า สถาบันการเงิน หน่วยงานรัฐ และเอกชน
-บริษัทมีเทคโนโลยีการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และได้
มาตรฐานในระดับสากล
-มีฐานเงินทุนที่เข้มแข็งทั้งการระดมทุนทั้งจากตลาด
ทุน ด้วยการเป็นบริษัทมหาชน และการจำาหน่าย
พันธบัตร
Weaknesses : จุดอ่อน
-ต้นทุนในการขนส่งสินค้าประเภทอาหารค่อนข้างสูง
เพราะต้องรักษาอุณหภูมิเพื่อให้คุณภาพ และรสชาติ
ของอาหารไม่เสีย
-ในการขยายฐานการผลิต และการตลาดใช้ทรัพยากร
สูง ทั้งทรัพยากรบุคคล, ทรัพยากรด้านเงินทุน รวมทั้ง
เวลาในการสำารวจ
- ราคาสินค้ายังไม่คงที่ เพราะต้องผันแปรไปตาม
อุปสงค์ และอุปทานของตลาด ส่งผลต่อการประมาณ
การรายได้
- การสร้างความภักดีในตราสินค้า ให้กับตลาดต่าง
Opportunities : โอกาส
-ตลาดทั่วโลกเปิดรับบริษัทฯ ที่มีนโยบายที่เป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
- การบริโภคอาหารปรุงสำาเร็จมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
อย่างต่อเนื่องทั่วโลก
-ตลาดต่างประเทศให้ความสำาคัญกับสินค้าที่ได้รับ
มาตรฐานการผลิต
- รสชาติอาหารเอเชียได้รับการยอมรับ และเริ่มเป็นที่
นิยมในหลายทวีป
- ผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ที่อยู่ในฝั่งอเมริการประสบ
ปัญหาสภาพคล่อง ทำาให้ผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาดลด
Threats : อุปสรรค
-อุตสาหรรมอาหารโลก มีการแข่งขันสูง และมีผู้เล่น
จำานวนมาก
-ปัญหาโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อการผลิตวัตถุดิบ การ
แปรรูปอาหาร
- ผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจที่ตกตำ่าทั่วโลก อาจส่ง
ผลต่อยอดการสั่งซื้อสินค้า
- มลพิษในสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มสูงขึ้น อาจส่งผลถึงวัตถุดิบ
รวมไปถึงต้องใช้เงินในการป้องกันวัตถุดิบไม่ให้เกิด
การปนเปื้อน
- ปัญหาจากโรคระบาดในสัตว์กระทบต่อความเชื่อมั่น
ของผู้บริโภค
กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดระหว่างประเทศใน
ตลาดใหม่
Target Country Profile
Introduction BrazilIntroduction Brazil
Brazil เป็นประเทศที่มีขนาด
ครอบคลุมพื้นที่เกือบครึ่งหนึ่งของ
ทวีปอเมริกาใต้ (47%) มีจำานวน
ประชากร 205 ล้านคน มากเป็น
อันดับ 5 ของโลก มีผลิตภัณฑ์มวล
รวมภายในประเทศ 2.48 ล้านล้าน
เหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นขนาด
เศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 1 ในภูมิ
ภาคลตินอเมริกา และเป็นอันดับ 6
ของโลก
Introduction BrazilIntroduction Brazil
ลักษณะทางภูมิประเทศ
บราซิล แบ่งออกเป็น 5 ภาค ทิศ
ตะวันออก ติดมหาสมุทร
แอตแลนติก ทิศใต้ ติดกับอุรุกวัย
ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับ
ปารากวัย และอาร์เจนตินา ทิศ
ตะวันตก ติดกับโบลิเวีย และเปรู
ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับ
โคลัมเบีย และทิศเหนือ ติดกับ
เวเนซูเอล่า เกียอานา ซูรินาม
และเฟรนช์เกียน่า
บราซิลมีชายฝั่งติดกับมหาสมุทร
Introduction BrazilIntroduction Brazil
ลักษณะทางภูมิประเทศ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือที่ราบ
ลุ่มป่าอะเมซอน และติดกับ
มหาสมุทรแอตแลนติก มีชายหาดที่
สวยงาม มีเมืองตากอากาศและ
ท่าเรือที่สำาคัญ
ภาคเหนือ เป็นที่ราบลุ่มแม่นำ้า และ
เป็นพื้นที่ของป่าอะเมซอน จึงอุดม
สมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรป่าไม้
ผลผลิตทางการเกษตร เช่น
ยางพารา และกาแฟ รวมทั้งแร่ธาตุ
ต่าง ๆ เช่น ทองคำา และเงิน
Introduction BrazilIntroduction Brazil
Brazil เคยเป็น
อาณานิคมของจักรวรรดิ
โปรตุเกส นานถึง 322 ปี ต่อ
มาได้ประกาศเอกราชโดย
สันติ เมื่อวันที่ 22 เมษายน
2043 (เมื่อ 514 ปีก่อน) หลัง
ประกาศเอกราชยังคงปกครอง
ระบบกษัตริย์ แต่ยกเลิกใน
เวลาต่อมา Brazil มี
ประชากรจำานวนกว่า 205
ล้านคน ถือเป็นอันดับ 5 ของ
Introduction BrazilIntroduction Brazil
การปกครอง ประชากร และ
การศึกษา
บราซิล มีระบบการปกครอง
แบบ สหพันธ์สาธารณรัฐ คือ
รัฐบาลกลางมีอำานาจมากกว่า
รัฐบาลท้องถิ่น และอนุญาตให้
ประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งผู้
ปกครองรัฐ รวมถึง
ประธานาธิบดีที่ดูแลรัฐบาล
กลาง โดยมีวาระการดำารง
ตำาแหน่ง 4 ปี ดำารงตำาแหน่งได้
เพียง 2 วาระ ซึ่งมีลักษณะ
เหมือน สหรัฐอเมริกา เยอรมัน
Introduction BrazilIntroduction Brazil
การปกครอง ประชากร และ
การศึกษา
มีอัตราการเติบโตของประชากร
โดยเฉลี่ย ร้อยละ 1.44 โดยมี
สัดส่วนประชากรชาย 100 คน
ต่อประชากรหญิง 102 คน อายุ
เฉลี่ยคือ 72 ปีกฎหมายแรงงาน
อนุญาตให้ทำางานได้ตั้งแต่อายุ
15 ปีขึ้นไป และเกษียณอายุ
ตอน 60 ปี
กลุ่มชนชั้นกลางมีแนวโน้มเพิ่ม
มากขึ้นเป็น 118 ล้านคนคิดเป็น
Introduction BrazilIntroduction Brazil
การปกครอง ประชากร และ
การศึกษา
ความหนาแน่นของประชากร
เรียงจากมากไปหาน้อย 5
อันดับแรก ได้แก่ รัฐเซาเปาลู,
รัฐรีโอเดจาเนโร, มีนัสเจไรส์
และบาเอีย
อัตราการรู้หนังสือสูงเป็นอันดับ
ต้น ๆ ของประเทศกลุ่มลาตินอเม
ริกา โดยสามารถอ่านออกเขียน
ได้ถึงร้อยละ 90
Introduction BrazilIntroduction Brazil
Brazil มี 4 เชื้อชาติหลัก
อยู่ร่วมกันโดยสันติ ไม่มีการ
เหยียดสีผิว ประเพณีวัฒนธร
รมมส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมา
จากช่วงที่ตกอยู่ใต้อาณานิคม
ของโปรตุเกส แต่ยังมีกลิ่นอาย
ของวัฒนธรรมจากเชื้อชาติอื่น
ๆ ผสมรวมอยู่ด้วย เป็นอีกเสน่ห์
ของบราซิล จนทำาให้มีจำานวน
นักท่องเที่ยวเดินทางเข้าสู่
บราซิลเป็นอันดับที่ 26
Introduction BrazilIntroduction Brazil
ลักษณะทางสังคม และ
วัฒนธรรม
บราซิล มีธรรมเนียม และ
วัฒนธรรม ส่วนใหญ่แบบยุโรป
จากอิทธิพลที่เคยตกเป็น
อาณานิคมของโปรตุเกส โดย
วัฒนธรรมแบบยุโรปที่ชัดเจน
ได้แก่ สถาปัตยกรรม ศาสนา
คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก
เทศกาลคาร์นิวัล อาหาร
โปรตุเกส และภาษาโปรตุเกส
(ภาษาราชการ) นอกจากนี้ยังมี
Introduction BrazilIntroduction Brazil
ลักษณะทางสังคม และวัฒนธรรม
วัฒนธรรมชาวอินเดียแดง และ
วัฒนธรรมเอเซีย มีไม่มากนัก
เนื่องจากจำานวนประชากรของทั้งสอง
กลุ่มมีไม่มา และชาวอินเดียแดงส่วน
ใหญ่ยังคงใช้ชีวิตอยู่ในเขตป่าอะเม
ซอน ดำารงชีพแบบชนเผ่าโบราณ
สำาหรับวัฒนธรรมเอเซียแล้วมีเพียง
วัฒนธรรมญี่ปุ่น และวัฒนธรรมจีน
เท่านนั้น โดยมากจะเป็นกลุ่มนักธุรกิจ
และนักวิชาการ
เทศกาลที่สามารถสร้างยอดขาย
สินค้าสูงสุดในบราซิล ได้แก่ คริศต์
Introduction BrazilIntroduction Brazil
Brazil ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อ
ปี 10,710 เหรียญสหรัฐฯ
(330,510.60บาท) สูงกว่ารายได้
เฉลี่ยของไทย กว่า 2.3 เท่า สกุล
เงินของ Brazil คือ R$ ตัวย่อ BRL
(เรอัลบราซิล หรือ เรียลบราซิล)
อัตราแลกเปลี่ยน 1 THB = 0.0814
BRL ค่าเงินนี้ถือเป็นค่าเงินที่มี
เสถียรภาพมากที่สุดในโลก
Introduction BrazilIntroduction Brazil
ภาพรวมเศรษฐกิจ
บราซิล มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่
เป็นอันดับ 6 ของโลก คิดเป็น
มูลค่า 2.48 ล้านล้านเหรียญ
สหรัฐฯ
อุตสาหกรรมหลัก เช่น เครื่องจักร
เคมีภัณฑ์ เหล็ก รถยนต์ เครื่องบิน
เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์
สินค้าส่งออกสำาคัญ คือ สินแร่
นำ้ามันดิบ ผลไม้และเมล็ดพืชนำ้ามัน
ผลิตภัณฑ์นำ้าตาล เครื่องจักรและ
ส่วนประกอบ เนื้อสัตว์ เหล็ก และ
Introduction BrazilIntroduction Brazil
ภาพรวมเศรษฐกิจ
สินค้านำาเข้าที่สำาคัญคือ นำ้ามันดิบ
เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์และส่วน
ประกอบ เคมีอินทรีย์ ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์
พลาสติก ผลิตภัณฑ์เภสัชกรรม อุปกรณ์
การแพทย์ คู่ค้าสำาคัญ คือ สหรัฐอเมริกา
จีน อาร์เจนตินา เยอรมนี และเกาหลีใต้
การค้าระหว่างไทยกับบราซิล บราซิล
ได้เปรียบดุลการค้าไทยมาตลอด แต่ยัง
คงเป็นคู่ค้าสำาคัญโดยมีอยู่ที่อันดับที่ 22
และมีแนวโน้มขยับขึ้นอย่างต่อเนื่อง
สินค้าไทยที่ส่งออก ได้แก่ ยางพารา
อุปกรณ์ รถยนต์ เม็ดพลาสติก ด้ายและ
Analyzing Global Industries and Competitors
 Worldwide Industry Analysis
 Competitor Analysis
Worldwide IndustryWorldwide Industry
AnalysisAnalysis
ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจที่มีความไม่
แน่นอนสูง เมื่อหันมามองภาพรวม
อุตสาหกรรมอาหารโลกและไทย พบว่า
มูลค่าการส่งออกอาหารของโลกจะพบว่า มี
มูลค่าอยู่ที่ประมาณ 1.3 ล้านล้านเหรียญ
สหรัฐ มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 23 เมื่อ
เทียบกับปีก่อนหน้า (จากข้อมูล ของ
Global Trade Atlas อ้างถึงส่วนงานวิจัย
สถาบันอาหาร, 2555) โดยสหภาพยุโรปถือ
เป็นผู้ส่งออกมากที่สุดในโลก คิดเป็นร้อย
ละ 41.2 ของมูลค่าการส่งออกของโลก
Worldwide IndustryWorldwide Industry
AnalysisAnalysis
ซึ่งเมื่อหันไปดูการบริโภคอาหารของแต่ละ
ประเทศ จะพบข้อมูลที่น่าสนใจ เพราะในกลุ่ม
ประเทศที่ยากจนมีการบริโภคอาหาร เป็นครึ่งหนึ่ง
ของการใช้จ่ายทั้งหมด ในขณะที่ประเทศพัฒนา
แล้วจะมีการใช้จ่ายด้านอาหารในสัดส่วนเพียง 1
ใน 5 ของการใช้จ่ายทั้งหมด
โดยประเภทของอาหารที่คนในประเทศที่มี
กำาลังซื้อและกลุ่มประเทศที่ยากจนเลือกรับประทาน
มากที่สุด จากการคำานวณโดยอาศัยข้อมูลจาก The
2005 International Comoarison Program (ICP) data ปรากฏว่า
ในกลุ่มประเทศยากจนจะบริโภคอาหารในกลุ่ม
Worldwide IndustryWorldwide Industry
AnalysisAnalysis
เมื่อศึกษาถึงอาหารแปรรูปอย่างเจาะลึก พบ
ว่า
มูลค่าตลาดตลอด Supply chain สูงถึง 2,100 พันล้าน
เหรียญสหรัฐ โดยกลุ่มเบเกอรี่ และผลิตภัณฑ์นม
มีส่วนแบ่งตลาดมากที่สุด ซึ่งหากจะถามถึงเจ้า
ตลาดอาหารแปรรูปโดยครองส่วนแบ่งตลาดมาก
ที่สุดถึงร้อยละ 16 ของมูลค่าตลาดโลก คือ
สหรัฐอเมริกา
แต่อย่างไรก็ตาม หากมองอัตราการเติบโต
ทางการค้า จะพบว่า ประเทศที่มีการเติบโตทาง
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปมากที่สุด กลับเป็น
อิหร่าน (เพราะมีกำาลังซื้อ) ส่วนประเทศอื่นก็มี
Competitor AnalysisCompetitor Analysis
BRF ก่อตั้งขึ้นในปี 2009 และทำาการควบรวม
กิจการกับบริษัทฯ แปรรูปอาหารจากประเทศ
รัสเซีย เป็นที่เรียบร้อยในปี 2012 จนเป็นบริษัทฯ
ด้านการแปรรูปอาหารที่ใหญ่ติด 1 ใน 10 ของโลก
และมีการจำาหน่ายสินค้าไปกว่า 110 ประเทศ มีฐาน
การผลิตในบราซิลมากถึง 47 โรงงานกระจายทั่ว
ประเทศบราซิล และอีก 11 หน่วยธุรกิจทั่วโลก มี
ตราสินค้ามากกว่า 10 แบรนด์ เพื่อผลิตสินค้าที่
ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคทั้งอาหารแช่แข็ง
และอาหารแช่เย็น มีส่วนแบ่งทางการตลาดใน
ประเทศบราซิลสูงถึง 95%
BRF ได้รับเลือกจากนิตยสาร Forbes ให้อยู่ใน
รายชื่อ 100 บริษัท ที่มีนวตกรรมมากที่สุด และมี
ความยั่งยืนมากที่สุดในโลก
Competitor AnalysisCompetitor Analysis
กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดระหว่าง
ประเทศในตลาดใหม่
Mode of Entry ของ CPF แบ่งเป็น 2 รูป
แบบ
1.ในส่วนการผลิต ใช้กลยุทธ์เข้าซื้อกิจการ:
Acquisition (Takeover) Strategy
โรงงานผู้แปรรูปอาหาร เพื่อควบคุมคุณภาพ
สินค้า และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับ
พฤติกรรมผู้บริโภค
2. ในส่วนของการตลาดใช้วิธีการแต่งตั้ง
ตัวแทนจำาหน่าย กับให้บริษัทฯ ที่มีความ
แข็งแกร่งในการกระจายสินค้าประเภท
ตัวแทนจำาหน่ายในประเทศบราซิล
CPF เลือกบริษัท Aurora ซึ่งเป็นบริษัทฯ
ตัวแทนจำาหน่ายสินค้าประเภทขนม, ของ
ขบเคี้ยว, เครื่องดื่ม และอาหารสำาเร็จรูป ที่ใหญ่
ที่สุดในประเทศบราซิล Aurora เปิดกิจการมา
แล้วกว่า 69 ปี มีสินค้าที่เป็นตัวแทนจำาหน่าย
กว่า 30 แบรนด์จากทั่วโลก และคุมช่องทางการ
จัดจำาหน่ายทั้งในประเทศบราซิล และละติน
อเมริกา กว่า 100 ช่องทาง
การเลือกกลุ่มตลาดเป้าหมายตาม
หลัก
STP Marketing
ประเทศบราซิล
STP Marketing
SS : Market
SSegmentationเลือกฐานลูกค้าในเขตเมืองเศรษฐกิจสำาคัญของ
บราซิล ได้แก่ เมืองริโอ เดอ จาเนโร, บรา
ซิลเรีย และเซาเปาโล ซึ่งมีความหนาแน่นของ
ประชากรรวมกันมากถึง 50% ของประชากรทั้ง
ประเทศ
Brasília
Rio de Janeiro
São Paulo
STP Marketing
กลุ่มเป้าหมายหลัก
 –เพศชาย หญิง อายุ 25-35 ปี
 ประกอบอาชีพรับจ้าง และพนักงานบริษัท
รายได้ 25,000 – 35,000 บาท
กลุ่มเป้าหมายรอง
 –เพศชาย หญิง อายุ 15-20 ปี
นักเรียน นักศึกษา
รายได้ 15,000 บาทขึ้นไป
กลุ่มเป้าหมายรายย่อย
นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเซีย
TT : MARKET TTARGETING
STP Marketing
PP : market ppositioning
รสชาติถูกปาก ราคาถูกใจรสชาติถูกปาก ราคาถูกใจ
กำาไรงามกำาไรงาม
ตัวอย่างกลยุทธ์การตลาดระหว่าง
ประเทศ
ประเทศบราซิลประเทศบราซิล
กลยุทธ์การตลาดระหว่างประเทศ
ประเทศบราซิลประเทศบราซิล
Glocaliza
tion
Adaptation Standardizatio
ตัวอย่างกลยุทธ์การตลาดระหว่าง
ประเทศ
ประเทศบราซิลประเทศบราซิล
กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์
กลยุทธ์ด้านราคา
กลยุทธ์การจัดจำาหน่าย
กลยุทธ์การส่งเสริมการขาย
กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์
ชื่อ และตราสินค้า
ฉลากผลิตภัณฑ์
รสชาติอาหาร
: ปรับฉลากเป็นภาษาโปรตุเกส ซึ่งเป็นภาษาราชก
เพิ่มตรารับรองมาตราฐานผลิตภัณฑ์ด้านอาหารขอ
: เพิ่มเมนูอาหารแปรรูป ที่เป็นอาหารสไตล์ บราซิล
กลยุทธ์ด้านราคา
ราคาขายสำาหรับคู่ค้า
ราคาขายปลีก
: ขายในอัตรให้คู่ค้าหลักมีกำาไร 40%
เพื่อให้ช่องทางการจำาหน่ายสุดท้ายได้กำาไร 1
: จำาหน่ายแบบกล่องเดี่ยวราคา 100 – 120 บ
ส่วนการจำาหน่ายแบบแพ็คใหญ่หรือเหมากล
( 1 กล่องมี 6 แพค) ราคา 80 – 90 บาท/แพ
กลยุทธ์ด้านการจัด
จำาหน่าย
งทางการจัดจำาหน่ายของคู่ค้าเป็นหลัก ได้แก่ ห้างสร
นค้าส่ง และร้านค้าปลีก
iosk CP ในย่านธุรกิจ และ office building
กลยุทธ์ด้านการส่งเสริม
การขาย ตั้งรางวัลเช่น การท่องเที่ยวต่าง
ประเทศ เป็น Group โดยวัดจากยอดการ
สั่งซื้อรายไตรมาศ ของบริษัทฯ ตัวแทน
จำาหน่าย
 การให้ส่วนลดเงินสดในอัตราที่สูงกว่า
ปกติกับบริษัทตัวแทนจำาหน่าย
 จัดสรรงบประมาณการตลาดให้ 7%
จากยอดการสั่งซื้อสินค้าให้กับบริษัท
ตัวแทนจำาหน่าย
กลยุทธ์ด้านการส่งเสริม
การขายมีสินค้าตัวอย่างให้บริษัทตัวแทน
จำาหน่ายใช้เปิดบูธชิมสินค้า 5% จากยอด
การสั่งซื้อ
จัดทำาของที่ระลึกพิมพ์ตราสินค้า CP
เช่น กล่องเก็บอุณหภูมิมอบให้บริษัท
ตัวแทนจำาหน่ายเป็นของแถมคู่กับ
ผลิตภัณฑ์
ร่วมงานมหกรรมแสดงสินค้าด้าน
อาหาร ณ ประเทศบราซิล โดยร่วมกับ
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
เมืองสำาคัญเมืองสำาคัญ
BrazilBrazil
Brasília
Rio de Janeiro
São Paulo

More Related Content

Viewers also liked

กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSกรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSChatchamon Uthaikao
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
Devops at Walmart GeC Brazil
Devops at Walmart GeC BrazilDevops at Walmart GeC Brazil
Devops at Walmart GeC BrazilRodrigo Campos
 
Fiat auto india vs brazil
Fiat auto   india vs brazilFiat auto   india vs brazil
Fiat auto india vs brazilYogesh Potaliya
 
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)monsadako
 
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSpa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSuradet Sriangkoon
 
2009 06 07 brand building for beginer part 3
2009 06 07 brand building for beginer part 32009 06 07 brand building for beginer part 3
2009 06 07 brand building for beginer part 3Cholakarn Visutipitakul
 
ใบความรู้ ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
ใบความรู้  ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1pageใบความรู้  ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
ใบความรู้ ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...Faii Kp
 
บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ Be.543
บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ Be.543บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ Be.543
บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ Be.543Palm SinCere
 
marketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงmarketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงglenferry
 

Viewers also liked (19)

01
0101
01
 
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSกรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
Devops at Walmart GeC Brazil
Devops at Walmart GeC BrazilDevops at Walmart GeC Brazil
Devops at Walmart GeC Brazil
 
Fiat auto india vs brazil
Fiat auto   india vs brazilFiat auto   india vs brazil
Fiat auto india vs brazil
 
05
0505
05
 
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
Business Plan # SMEs (Chao Phraya Princess)
 
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal BrandingBrand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
Brand Nursery Workshop Year IV: Personal Branding
 
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุลSpa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
Spa (part i) in action โดยอาจารย์อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล
 
IKEA Case Study BDC412
IKEA Case Study BDC412IKEA Case Study BDC412
IKEA Case Study BDC412
 
How to set up brand personality?
How to set up brand personality?How to set up brand personality?
How to set up brand personality?
 
2009 06 07 brand building for beginer part 3
2009 06 07 brand building for beginer part 32009 06 07 brand building for beginer part 3
2009 06 07 brand building for beginer part 3
 
การเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการการเขียนบทความทางวิชาการ
การเขียนบทความทางวิชาการ
 
ThaiBev Change Management
ThaiBev Change ManagementThaiBev Change Management
ThaiBev Change Management
 
ใบความรู้ ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
ใบความรู้  ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1pageใบความรู้  ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
ใบความรู้ ธนาคาร ป.4+463+dltvsocp3+54soc p04 f17-1page
 
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวยอดนิยมสำหรับนักท่องเที่ยวผู้...
 
Business Plan
Business PlanBusiness Plan
Business Plan
 
บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ Be.543
บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ Be.543บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ Be.543
บริษัทไทยเบฟเวอร์เรจ Be.543
 
marketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดงmarketing plan สาวบาวแดง
marketing plan สาวบาวแดง
 

Cpf case rev1

  • 1. The National Flag of BRAZIL Group 5Group 5
  • 2. สมาชิกในกลุ่มสมาชิกในกลุ่ม 55 1.1. นสนส..ชัชมนต์ อุทัยเก่า รหัสชัชมนต์ อุทัยเก่า รหัส 5750026857500268 2.2. นสนส..จุฑามาศ สุเกษม รหัสจุฑามาศ สุเกษม รหัส 5750155457501554 3.3. ว่าที่ รว่าที่ ร..ตต. (. (หญิงหญิง)) ลักษณ์นารา บวรรัตนลักษณ์นารา บวรรัตน เมธี รหัสเมธี รหัส 5750220657502206 4.4. นสนส..อัจฉริยา ปรีเปรม รหัสอัจฉริยา ปรีเปรม รหัส 5750116757501167
  • 4. Strengths : จุดแข็ง -มีฐานการผลิตที่แข็งแกร่งทั้งในประเทศ และต่าง ประเทศ -มีทีมงานด้านการตลาดระหว่างประเทศที่มาก ประสบการณ์ และยังมีศักยภาพในการคัดเลือกผู้มี ความรู้ความสามารถเข้าร่วมเป็นทีมงานเพิ่มได้อีก -บริษัทมีความสามารถในการสร้างพันธมิตรทั้งคู่ค้า ลูกค้า สถาบันการเงิน หน่วยงานรัฐ และเอกชน -บริษัทมีเทคโนโลยีการผลิตสินค้าที่มีคุณภาพ และได้ มาตรฐานในระดับสากล -มีฐานเงินทุนที่เข้มแข็งทั้งการระดมทุนทั้งจากตลาด ทุน ด้วยการเป็นบริษัทมหาชน และการจำาหน่าย พันธบัตร
  • 5. Weaknesses : จุดอ่อน -ต้นทุนในการขนส่งสินค้าประเภทอาหารค่อนข้างสูง เพราะต้องรักษาอุณหภูมิเพื่อให้คุณภาพ และรสชาติ ของอาหารไม่เสีย -ในการขยายฐานการผลิต และการตลาดใช้ทรัพยากร สูง ทั้งทรัพยากรบุคคล, ทรัพยากรด้านเงินทุน รวมทั้ง เวลาในการสำารวจ - ราคาสินค้ายังไม่คงที่ เพราะต้องผันแปรไปตาม อุปสงค์ และอุปทานของตลาด ส่งผลต่อการประมาณ การรายได้ - การสร้างความภักดีในตราสินค้า ให้กับตลาดต่าง
  • 6. Opportunities : โอกาส -ตลาดทั่วโลกเปิดรับบริษัทฯ ที่มีนโยบายที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อม - การบริโภคอาหารปรุงสำาเร็จมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น อย่างต่อเนื่องทั่วโลก -ตลาดต่างประเทศให้ความสำาคัญกับสินค้าที่ได้รับ มาตรฐานการผลิต - รสชาติอาหารเอเชียได้รับการยอมรับ และเริ่มเป็นที่ นิยมในหลายทวีป - ผู้ส่งออกอาหารรายใหญ่ที่อยู่ในฝั่งอเมริการประสบ ปัญหาสภาพคล่อง ทำาให้ผลิตสินค้าป้อนเข้าสู่ตลาดลด
  • 7. Threats : อุปสรรค -อุตสาหรรมอาหารโลก มีการแข่งขันสูง และมีผู้เล่น จำานวนมาก -ปัญหาโลกร้อน ส่งผลกระทบต่อการผลิตวัตถุดิบ การ แปรรูปอาหาร - ผลกระทบจากสภาพเศรษฐกิจที่ตกตำ่าทั่วโลก อาจส่ง ผลต่อยอดการสั่งซื้อสินค้า - มลพิษในสิ่งแวดล้อมที่เพิ่มสูงขึ้น อาจส่งผลถึงวัตถุดิบ รวมไปถึงต้องใช้เงินในการป้องกันวัตถุดิบไม่ให้เกิด การปนเปื้อน - ปัญหาจากโรคระบาดในสัตว์กระทบต่อความเชื่อมั่น ของผู้บริโภค
  • 10. Introduction BrazilIntroduction Brazil Brazil เป็นประเทศที่มีขนาด ครอบคลุมพื้นที่เกือบครึ่งหนึ่งของ ทวีปอเมริกาใต้ (47%) มีจำานวน ประชากร 205 ล้านคน มากเป็น อันดับ 5 ของโลก มีผลิตภัณฑ์มวล รวมภายในประเทศ 2.48 ล้านล้าน เหรียญสหรัฐฯ ถือเป็นขนาด เศรษฐกิจที่ใหญ่เป็นอันดับ 1 ในภูมิ ภาคลตินอเมริกา และเป็นอันดับ 6 ของโลก
  • 11. Introduction BrazilIntroduction Brazil ลักษณะทางภูมิประเทศ บราซิล แบ่งออกเป็น 5 ภาค ทิศ ตะวันออก ติดมหาสมุทร แอตแลนติก ทิศใต้ ติดกับอุรุกวัย ทิศตะวันออกเฉียงใต้ ติดกับ ปารากวัย และอาร์เจนตินา ทิศ ตะวันตก ติดกับโบลิเวีย และเปรู ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ติดกับ โคลัมเบีย และทิศเหนือ ติดกับ เวเนซูเอล่า เกียอานา ซูรินาม และเฟรนช์เกียน่า บราซิลมีชายฝั่งติดกับมหาสมุทร
  • 12. Introduction BrazilIntroduction Brazil ลักษณะทางภูมิประเทศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือที่ราบ ลุ่มป่าอะเมซอน และติดกับ มหาสมุทรแอตแลนติก มีชายหาดที่ สวยงาม มีเมืองตากอากาศและ ท่าเรือที่สำาคัญ ภาคเหนือ เป็นที่ราบลุ่มแม่นำ้า และ เป็นพื้นที่ของป่าอะเมซอน จึงอุดม สมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรป่าไม้ ผลผลิตทางการเกษตร เช่น ยางพารา และกาแฟ รวมทั้งแร่ธาตุ ต่าง ๆ เช่น ทองคำา และเงิน
  • 13. Introduction BrazilIntroduction Brazil Brazil เคยเป็น อาณานิคมของจักรวรรดิ โปรตุเกส นานถึง 322 ปี ต่อ มาได้ประกาศเอกราชโดย สันติ เมื่อวันที่ 22 เมษายน 2043 (เมื่อ 514 ปีก่อน) หลัง ประกาศเอกราชยังคงปกครอง ระบบกษัตริย์ แต่ยกเลิกใน เวลาต่อมา Brazil มี ประชากรจำานวนกว่า 205 ล้านคน ถือเป็นอันดับ 5 ของ
  • 14. Introduction BrazilIntroduction Brazil การปกครอง ประชากร และ การศึกษา บราซิล มีระบบการปกครอง แบบ สหพันธ์สาธารณรัฐ คือ รัฐบาลกลางมีอำานาจมากกว่า รัฐบาลท้องถิ่น และอนุญาตให้ ประชาชนมีสิทธิเลือกตั้งผู้ ปกครองรัฐ รวมถึง ประธานาธิบดีที่ดูแลรัฐบาล กลาง โดยมีวาระการดำารง ตำาแหน่ง 4 ปี ดำารงตำาแหน่งได้ เพียง 2 วาระ ซึ่งมีลักษณะ เหมือน สหรัฐอเมริกา เยอรมัน
  • 15. Introduction BrazilIntroduction Brazil การปกครอง ประชากร และ การศึกษา มีอัตราการเติบโตของประชากร โดยเฉลี่ย ร้อยละ 1.44 โดยมี สัดส่วนประชากรชาย 100 คน ต่อประชากรหญิง 102 คน อายุ เฉลี่ยคือ 72 ปีกฎหมายแรงงาน อนุญาตให้ทำางานได้ตั้งแต่อายุ 15 ปีขึ้นไป และเกษียณอายุ ตอน 60 ปี กลุ่มชนชั้นกลางมีแนวโน้มเพิ่ม มากขึ้นเป็น 118 ล้านคนคิดเป็น
  • 16. Introduction BrazilIntroduction Brazil การปกครอง ประชากร และ การศึกษา ความหนาแน่นของประชากร เรียงจากมากไปหาน้อย 5 อันดับแรก ได้แก่ รัฐเซาเปาลู, รัฐรีโอเดจาเนโร, มีนัสเจไรส์ และบาเอีย อัตราการรู้หนังสือสูงเป็นอันดับ ต้น ๆ ของประเทศกลุ่มลาตินอเม ริกา โดยสามารถอ่านออกเขียน ได้ถึงร้อยละ 90
  • 17. Introduction BrazilIntroduction Brazil Brazil มี 4 เชื้อชาติหลัก อยู่ร่วมกันโดยสันติ ไม่มีการ เหยียดสีผิว ประเพณีวัฒนธร รมมส่วนใหญ่ได้รับอิทธิพลมา จากช่วงที่ตกอยู่ใต้อาณานิคม ของโปรตุเกส แต่ยังมีกลิ่นอาย ของวัฒนธรรมจากเชื้อชาติอื่น ๆ ผสมรวมอยู่ด้วย เป็นอีกเสน่ห์ ของบราซิล จนทำาให้มีจำานวน นักท่องเที่ยวเดินทางเข้าสู่ บราซิลเป็นอันดับที่ 26
  • 18. Introduction BrazilIntroduction Brazil ลักษณะทางสังคม และ วัฒนธรรม บราซิล มีธรรมเนียม และ วัฒนธรรม ส่วนใหญ่แบบยุโรป จากอิทธิพลที่เคยตกเป็น อาณานิคมของโปรตุเกส โดย วัฒนธรรมแบบยุโรปที่ชัดเจน ได้แก่ สถาปัตยกรรม ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาทอลิก เทศกาลคาร์นิวัล อาหาร โปรตุเกส และภาษาโปรตุเกส (ภาษาราชการ) นอกจากนี้ยังมี
  • 19. Introduction BrazilIntroduction Brazil ลักษณะทางสังคม และวัฒนธรรม วัฒนธรรมชาวอินเดียแดง และ วัฒนธรรมเอเซีย มีไม่มากนัก เนื่องจากจำานวนประชากรของทั้งสอง กลุ่มมีไม่มา และชาวอินเดียแดงส่วน ใหญ่ยังคงใช้ชีวิตอยู่ในเขตป่าอะเม ซอน ดำารงชีพแบบชนเผ่าโบราณ สำาหรับวัฒนธรรมเอเซียแล้วมีเพียง วัฒนธรรมญี่ปุ่น และวัฒนธรรมจีน เท่านนั้น โดยมากจะเป็นกลุ่มนักธุรกิจ และนักวิชาการ เทศกาลที่สามารถสร้างยอดขาย สินค้าสูงสุดในบราซิล ได้แก่ คริศต์
  • 20. Introduction BrazilIntroduction Brazil Brazil ประชากรมีรายได้เฉลี่ยต่อ ปี 10,710 เหรียญสหรัฐฯ (330,510.60บาท) สูงกว่ารายได้ เฉลี่ยของไทย กว่า 2.3 เท่า สกุล เงินของ Brazil คือ R$ ตัวย่อ BRL (เรอัลบราซิล หรือ เรียลบราซิล) อัตราแลกเปลี่ยน 1 THB = 0.0814 BRL ค่าเงินนี้ถือเป็นค่าเงินที่มี เสถียรภาพมากที่สุดในโลก
  • 21. Introduction BrazilIntroduction Brazil ภาพรวมเศรษฐกิจ บราซิล มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ เป็นอันดับ 6 ของโลก คิดเป็น มูลค่า 2.48 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐฯ อุตสาหกรรมหลัก เช่น เครื่องจักร เคมีภัณฑ์ เหล็ก รถยนต์ เครื่องบิน เครื่องยนต์ ชิ้นส่วนเครื่องยนต์ สินค้าส่งออกสำาคัญ คือ สินแร่ นำ้ามันดิบ ผลไม้และเมล็ดพืชนำ้ามัน ผลิตภัณฑ์นำ้าตาล เครื่องจักรและ ส่วนประกอบ เนื้อสัตว์ เหล็ก และ
  • 22. Introduction BrazilIntroduction Brazil ภาพรวมเศรษฐกิจ สินค้านำาเข้าที่สำาคัญคือ นำ้ามันดิบ เครื่องใช้ไฟฟ้า ยานยนต์และส่วน ประกอบ เคมีอินทรีย์ ปุ๋ย ผลิตภัณฑ์ พลาสติก ผลิตภัณฑ์เภสัชกรรม อุปกรณ์ การแพทย์ คู่ค้าสำาคัญ คือ สหรัฐอเมริกา จีน อาร์เจนตินา เยอรมนี และเกาหลีใต้ การค้าระหว่างไทยกับบราซิล บราซิล ได้เปรียบดุลการค้าไทยมาตลอด แต่ยัง คงเป็นคู่ค้าสำาคัญโดยมีอยู่ที่อันดับที่ 22 และมีแนวโน้มขยับขึ้นอย่างต่อเนื่อง สินค้าไทยที่ส่งออก ได้แก่ ยางพารา อุปกรณ์ รถยนต์ เม็ดพลาสติก ด้ายและ
  • 23. Analyzing Global Industries and Competitors  Worldwide Industry Analysis  Competitor Analysis
  • 24. Worldwide IndustryWorldwide Industry AnalysisAnalysis ท่ามกลางภาวะเศรษฐกิจที่มีความไม่ แน่นอนสูง เมื่อหันมามองภาพรวม อุตสาหกรรมอาหารโลกและไทย พบว่า มูลค่าการส่งออกอาหารของโลกจะพบว่า มี มูลค่าอยู่ที่ประมาณ 1.3 ล้านล้านเหรียญ สหรัฐ มีอัตราการขยายตัวร้อยละ 23 เมื่อ เทียบกับปีก่อนหน้า (จากข้อมูล ของ Global Trade Atlas อ้างถึงส่วนงานวิจัย สถาบันอาหาร, 2555) โดยสหภาพยุโรปถือ เป็นผู้ส่งออกมากที่สุดในโลก คิดเป็นร้อย ละ 41.2 ของมูลค่าการส่งออกของโลก
  • 25. Worldwide IndustryWorldwide Industry AnalysisAnalysis ซึ่งเมื่อหันไปดูการบริโภคอาหารของแต่ละ ประเทศ จะพบข้อมูลที่น่าสนใจ เพราะในกลุ่ม ประเทศที่ยากจนมีการบริโภคอาหาร เป็นครึ่งหนึ่ง ของการใช้จ่ายทั้งหมด ในขณะที่ประเทศพัฒนา แล้วจะมีการใช้จ่ายด้านอาหารในสัดส่วนเพียง 1 ใน 5 ของการใช้จ่ายทั้งหมด โดยประเภทของอาหารที่คนในประเทศที่มี กำาลังซื้อและกลุ่มประเทศที่ยากจนเลือกรับประทาน มากที่สุด จากการคำานวณโดยอาศัยข้อมูลจาก The 2005 International Comoarison Program (ICP) data ปรากฏว่า ในกลุ่มประเทศยากจนจะบริโภคอาหารในกลุ่ม
  • 26. Worldwide IndustryWorldwide Industry AnalysisAnalysis เมื่อศึกษาถึงอาหารแปรรูปอย่างเจาะลึก พบ ว่า มูลค่าตลาดตลอด Supply chain สูงถึง 2,100 พันล้าน เหรียญสหรัฐ โดยกลุ่มเบเกอรี่ และผลิตภัณฑ์นม มีส่วนแบ่งตลาดมากที่สุด ซึ่งหากจะถามถึงเจ้า ตลาดอาหารแปรรูปโดยครองส่วนแบ่งตลาดมาก ที่สุดถึงร้อยละ 16 ของมูลค่าตลาดโลก คือ สหรัฐอเมริกา แต่อย่างไรก็ตาม หากมองอัตราการเติบโต ทางการค้า จะพบว่า ประเทศที่มีการเติบโตทาง อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปมากที่สุด กลับเป็น อิหร่าน (เพราะมีกำาลังซื้อ) ส่วนประเทศอื่นก็มี
  • 27. Competitor AnalysisCompetitor Analysis BRF ก่อตั้งขึ้นในปี 2009 และทำาการควบรวม กิจการกับบริษัทฯ แปรรูปอาหารจากประเทศ รัสเซีย เป็นที่เรียบร้อยในปี 2012 จนเป็นบริษัทฯ ด้านการแปรรูปอาหารที่ใหญ่ติด 1 ใน 10 ของโลก และมีการจำาหน่ายสินค้าไปกว่า 110 ประเทศ มีฐาน การผลิตในบราซิลมากถึง 47 โรงงานกระจายทั่ว ประเทศบราซิล และอีก 11 หน่วยธุรกิจทั่วโลก มี ตราสินค้ามากกว่า 10 แบรนด์ เพื่อผลิตสินค้าที่ ตอบสนองความต้องการผู้บริโภคทั้งอาหารแช่แข็ง และอาหารแช่เย็น มีส่วนแบ่งทางการตลาดใน ประเทศบราซิลสูงถึง 95% BRF ได้รับเลือกจากนิตยสาร Forbes ให้อยู่ใน รายชื่อ 100 บริษัท ที่มีนวตกรรมมากที่สุด และมี ความยั่งยืนมากที่สุดในโลก
  • 29. กลยุทธ์การเข้าสู่ตลาดระหว่าง ประเทศในตลาดใหม่ Mode of Entry ของ CPF แบ่งเป็น 2 รูป แบบ 1.ในส่วนการผลิต ใช้กลยุทธ์เข้าซื้อกิจการ: Acquisition (Takeover) Strategy โรงงานผู้แปรรูปอาหาร เพื่อควบคุมคุณภาพ สินค้า และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้เหมาะสมกับ พฤติกรรมผู้บริโภค 2. ในส่วนของการตลาดใช้วิธีการแต่งตั้ง ตัวแทนจำาหน่าย กับให้บริษัทฯ ที่มีความ แข็งแกร่งในการกระจายสินค้าประเภท
  • 30. ตัวแทนจำาหน่ายในประเทศบราซิล CPF เลือกบริษัท Aurora ซึ่งเป็นบริษัทฯ ตัวแทนจำาหน่ายสินค้าประเภทขนม, ของ ขบเคี้ยว, เครื่องดื่ม และอาหารสำาเร็จรูป ที่ใหญ่ ที่สุดในประเทศบราซิล Aurora เปิดกิจการมา แล้วกว่า 69 ปี มีสินค้าที่เป็นตัวแทนจำาหน่าย กว่า 30 แบรนด์จากทั่วโลก และคุมช่องทางการ จัดจำาหน่ายทั้งในประเทศบราซิล และละติน อเมริกา กว่า 100 ช่องทาง
  • 32. STP Marketing SS : Market SSegmentationเลือกฐานลูกค้าในเขตเมืองเศรษฐกิจสำาคัญของ บราซิล ได้แก่ เมืองริโอ เดอ จาเนโร, บรา ซิลเรีย และเซาเปาโล ซึ่งมีความหนาแน่นของ ประชากรรวมกันมากถึง 50% ของประชากรทั้ง ประเทศ Brasília Rio de Janeiro São Paulo
  • 33. STP Marketing กลุ่มเป้าหมายหลัก  –เพศชาย หญิง อายุ 25-35 ปี  ประกอบอาชีพรับจ้าง และพนักงานบริษัท รายได้ 25,000 – 35,000 บาท กลุ่มเป้าหมายรอง  –เพศชาย หญิง อายุ 15-20 ปี นักเรียน นักศึกษา รายได้ 15,000 บาทขึ้นไป กลุ่มเป้าหมายรายย่อย นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเซีย TT : MARKET TTARGETING
  • 34. STP Marketing PP : market ppositioning รสชาติถูกปาก ราคาถูกใจรสชาติถูกปาก ราคาถูกใจ กำาไรงามกำาไรงาม
  • 38. กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์ ชื่อ และตราสินค้า ฉลากผลิตภัณฑ์ รสชาติอาหาร : ปรับฉลากเป็นภาษาโปรตุเกส ซึ่งเป็นภาษาราชก เพิ่มตรารับรองมาตราฐานผลิตภัณฑ์ด้านอาหารขอ : เพิ่มเมนูอาหารแปรรูป ที่เป็นอาหารสไตล์ บราซิล
  • 39. กลยุทธ์ด้านราคา ราคาขายสำาหรับคู่ค้า ราคาขายปลีก : ขายในอัตรให้คู่ค้าหลักมีกำาไร 40% เพื่อให้ช่องทางการจำาหน่ายสุดท้ายได้กำาไร 1 : จำาหน่ายแบบกล่องเดี่ยวราคา 100 – 120 บ ส่วนการจำาหน่ายแบบแพ็คใหญ่หรือเหมากล ( 1 กล่องมี 6 แพค) ราคา 80 – 90 บาท/แพ
  • 41. กลยุทธ์ด้านการส่งเสริม การขาย ตั้งรางวัลเช่น การท่องเที่ยวต่าง ประเทศ เป็น Group โดยวัดจากยอดการ สั่งซื้อรายไตรมาศ ของบริษัทฯ ตัวแทน จำาหน่าย  การให้ส่วนลดเงินสดในอัตราที่สูงกว่า ปกติกับบริษัทตัวแทนจำาหน่าย  จัดสรรงบประมาณการตลาดให้ 7% จากยอดการสั่งซื้อสินค้าให้กับบริษัท ตัวแทนจำาหน่าย
  • 42. กลยุทธ์ด้านการส่งเสริม การขายมีสินค้าตัวอย่างให้บริษัทตัวแทน จำาหน่ายใช้เปิดบูธชิมสินค้า 5% จากยอด การสั่งซื้อ จัดทำาของที่ระลึกพิมพ์ตราสินค้า CP เช่น กล่องเก็บอุณหภูมิมอบให้บริษัท ตัวแทนจำาหน่ายเป็นของแถมคู่กับ ผลิตภัณฑ์ ร่วมงานมหกรรมแสดงสินค้าด้าน อาหาร ณ ประเทศบราซิล โดยร่วมกับ กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ