SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
ภาวะโลกร้อน
global warming
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน คือ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก
หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ ได้เพิ่มปริมาณก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ จาก การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่ง และ การผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม
นอกจากนั้น มนุษย์เรายังได้เพิ่มก๊าซกลุ่มไนตรัสออกไซด์ และคลอโรฟลูโรคาร์บอน (CFC) เข้าไปอีก
ด้วย พร้อมๆกับการที่เราตัดและทาลาย ป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวย ความสะดวกให้แก่มนุษย์
ทาให้กลไกใน การดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป จากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิ ภาพ
ลง และในที่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้กระทา ต่อโลกได้หวนกลับมาสู่เราในลักษณะของ ภาวะโลกร้อน
สาเหตุภาวะโลกร้อน
สาเหตุภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่างทราบถึง
สาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น
ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่ง
เป็นสาเหตุสาคัญในการเกิดภาวะโลกร้อน
ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas)
เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็นต่อ
การรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ
ดังเช่นดาวเคราาะห์ดวงอื่นๆในระบบสุริยะแล้ว จะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืน
นั้นหนาวจัด เนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสีความร้อนออกมาใน
เวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน มีก๊าซจานวนมากที่มีคุณสมบัติในการ
ดูดซับคลื่นรังสีความร้อน และถูกจัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมีทั้งก๊าซที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจาก
กิจกรรมของมนุษย์ ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือ ไอน้า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โอโซน มีเทนและไนตรัส
ออกไซด์
สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon)
ซึ่งใช้เป็นสารทาความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม แต่ไม่ถูกกาหนดในพิธีสารเกียวโต
เนื่องจากเป็นสารที่ถูกจากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว
ผลกระทบของภาวะโลกร้อน
ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา แถบขั้วโลกได้รับผลกระทบมากสุดและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขาน้าแข็ง ก้อนน้าแข็งจะละลายอย่างรวดเร็ว ทาให้ระดับน้าทะเลทางขั้ว
โลกเพิ่มขึ้น และไหลลงสู่ทั่วโลกทาให้เกิดน้าท่วมได้ทุก ทวีป นอกจากนี้จะพลอยทาให้สัตว์ทางทะเล
เสียชีวิตเพราะระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง ส่วนทวีปยุโรป ยุโรปใต้ภูมิประเทศจะกลายเป็นพื้นที่ลาดเอียง
เกิดความแห้งแล้ง ในหลายพื้นที่ปัญหาอุทกภัยจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากธารน้าแข็งบนบริเวณยอดเขาสูงที่
ปกคลุมด้วยหิมะจะละลายจนหมด ขณะที่เอเชียอุณหภูมิจะสูงขึ้นเกิดฤดูกาลที่แห้งแล้ง มีน้าท่วม
ผลิตผลทางอาหารลดลง ระดับน้าทะเลสูงขึ้นสภาวะอากาศ แปร ปรวนอาจทาให้เกิดพายุต่าง ๆ
มากมายเข้าไปทาลายบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชน ซึ่งปัจจุบันก็เห็นผลกระทบได้ชัดไม่ว่าจะเป็น
ใต้ฝุ่นกก แต่แถบทวีปอเมริกาเหนืออุตสาหกรรมการผลิตอาหารจะได้รับผลประโยชน์เนื่องจากอากาศ
ที่อุ่นขึ้น พร้อม ๆ กับทุ่งหญ้าใหญ่ของแคนาดาและทุ่งราบใหญ่สหรัฐอเมริกา นักวิจัยได้มีการคาด
ประมาณอุณหภูมิผิวโลกในอีก 100 ปีข้างหน้า หรือประมาณปี 2643 ว่า อุณหภูมิจะสูงขึ้นจากปัจจุบัน
ราว 4.5 องศาเซลเซียส เนื่องจากคาดการณ์ว่า จะมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อยละ 63
และก๊าซมีเทนร้อยละ 27 ของก๊าซเรือนกระจก สาหรับประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1 องศา
เซลเซียส ในช่วง 40 ปี อย่างไรก็ตาม หากอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น 2- 4 องศาเซลเซียส จะทาให้พายุไต้ฝุ่น
เปลี่ยนทิศทาง เกิดความรุนแรง และมีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10-20 ในอนาคต นอกจากนี้ ฤดูร้อนจะ
ขยายเวลายาวนานขึ้น ในขณะที่ฤดูหนาวจะสั้นลง
ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
รัฐที่เป็นเกาะเล็ก ๆ ของทวีปอเมริกาจะได้รับผลจากระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นกัดกร่อนชายฝั่ง จะ
สร้างความเสียหายแก่ระบบนิเวศ แนวปะการังจะถูกทาลาย ปลาทะเลประสบปัญหา เนื่องจากระบบ
นิเวศที่แปรเปลี่ยนไป ธุรกิจท่องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญจะสูญเสียรายได้มหาศาล นอกจากนี้ ในเอเชีย
ยังมีโอกาสร้อยละ 66-90 ที่อาจเกิดฝนกระหน่าและมรสุมอย่างรุนแรง รวมถึงเกิดความแห้งแล้งในฤดู
ร้อนที่ยาวนาน ทั้งนี้ ในปี 2532-2545 ประเทศไทยเกิดความเสียหาย จากอุทกภัย พายุ และภัยแล้ง คิด
เป็นมูลค่าเสียหายทางเศรษฐกิจมากกว่า 70,000 ล้านบาท รายงาน
” Global Deserts Outlook” ของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เนื่องในวัน
สิ่งแวดล้อมโลก 5 มิถุนายน ชี้ว่า ภายใน 50 ปีข้างหน้า ระบบนิเวศวิทยาทะเลทราย จะเปลี่ยนแปลง
ไปทั้งด้านชีววิทยา เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ปัจจุบันพืชและสัตว์ทะเลทราย คือแหล่งทรัพยากรมี
คุณค่าสาหรับผลิตยาและธัญญาหารใหม่ๆ ที่ทาให้ไม่ต้องสิ้นเปลืองน้าและยังมีช่องทางเศรษฐกิจ
ใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ เช่น การทาฟาร์มกุ้งและบ่อปลาในทะเลทรายรัฐอาริโซนาและ
ทะเลทราย เน เจฟในอิสราเอล อย่างไรก็ตาม ทะเลทรายที่มีอยู่ 12 แห่งทั่วโลก กาลังเผชิญปัญหาใหญ่
ไม่ใช่เรื่องการขยายตัว แต่เป็นความแห้งแล้งเนื่องจากโลกร้อน ธารน้าแข็งซึ่งส่งน้ามาหล่อเลี้ยง
ทะเลทรายในอเมริกาใต้กาลังละลาย น้าใต้ดินเค็มขึ้น รวมทั้งผลกระทบที่เกิดจากน้ามือมนุษย์ซึ่งหาก
ไม่มีการลงมือป้องกันอย่างทันท่วงที ระบบนิเวศวิทยาและสัตว์ป่าในทะเลทรายจะสูญหายไปภายใน
50 ปีข้างหน้า ในอนาคตประชากร 500 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเขตทะเลทรายทั่วโลกจะอยู่ไม่ได้อีก
ต่อไป เพราะอุณหภูมิสูงขึ้นและน้าถูกใช้จนหมดหรือเค็มจนดื่มไม่ได้
ผลกระทบด้านสุขภาพ
ภาวะโลกร้อนไม่เพียง ทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปแต่มีสิ่งซ่อนเร้นที่แอบ
แฝงมาพร้อม ปรากฏการณ์นี้ด้วยว่าโลกร้อนขึ้นจะสร้างสภาวะที่พอเหมาะพอควรให้เชื้อ
โรคเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โลกร้อนขึ้นจะก่อให้เกิด สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การ
ฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืช ที่เป็นอาหารของมนุษย์บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ดีใน
สภาพร้อนชื้นของโลก จะสามารถเพิ่มขึ้นมากในอีก 20 ปีข้างหน้า ทั้งจะมีการติดเชื้อเพิ่ม
มากขึ้นในโรคมาลาเรีย ไข้ส่า อหิวาตกโรค และอาหารเป็นพิษนักวิทยาศาสตร์ในที่
ประชุมองค์การอนามัยโลก และ London School of Hygiene and
Tropical Medicine วิทยาลัยศึกษาด้านสุขอนามัยและเวชศาสตร์เขตร้อนของ
อังกฤษ แถลงว่า ในแต่ละปีประชาชนราว 160,000 คนเสียชีวิตเพราะได้รับผลกระทบ
จากภาวะโลกร้อน ตั้งแต่โรคมาลาเรีย ไปจนถึงการขาดแคลนสุขอนามัยที่ดี และตัวเลข
ผู้เสียชีวิตนี้อาจเพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าตัวในอีก 17 ปีข้างหน้า แถลงการณ์ของคณะแพทย์
ระดับโลกระบุว่า เด็กในประเทศกาลังพัฒนาจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงมากที่สุด เช่นในประเทศ
แถบแอฟริกา ละตินอเมริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่จะต้องเผชิญกับการแพร่ขยาย
ของการขาดแคลนสุขอนามัยโรคท้องร่วง และโรคมาเลเรีย ท่ามกลางอุณหภูมิโลกร้อน
ขึ้น น้าท่วม และภัยแล้ง
กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ กาลังเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ (อาจยกเว้นไอน้า)
– การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ามันและก๊าซธรรมชาติ
– การตัดไม้ทาลายป่าทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
– การทาการเกษตรและการปศุสัตว์ปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์
– ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ปล่อยก๊าซโอโซน
ที่มา : สถิติของอุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 ปี จนถึงปี 2000

More Related Content

Viewers also liked

Viewers also liked (11)

Unit8anticipationguide
Unit8anticipationguideUnit8anticipationguide
Unit8anticipationguide
 
AUDIT OF ACCOUNTS OF PROFESSIONAL BODIES IN INDIA
AUDIT OF ACCOUNTS OF PROFESSIONAL BODIES IN INDIAAUDIT OF ACCOUNTS OF PROFESSIONAL BODIES IN INDIA
AUDIT OF ACCOUNTS OF PROFESSIONAL BODIES IN INDIA
 
Pilliers du-seo
Pilliers du-seoPilliers du-seo
Pilliers du-seo
 
Jillian
JillianJillian
Jillian
 
Cat
CatCat
Cat
 
Flat Stanley Slide Show 2012
Flat Stanley Slide Show 2012Flat Stanley Slide Show 2012
Flat Stanley Slide Show 2012
 
Smart transport for smart kovai
Smart transport for smart kovaiSmart transport for smart kovai
Smart transport for smart kovai
 
Mdb dn 2017_15_monitoringb
Mdb dn 2017_15_monitoringbMdb dn 2017_15_monitoringb
Mdb dn 2017_15_monitoringb
 
HR & ADMIN
HR & ADMINHR & ADMIN
HR & ADMIN
 
Deontologia
DeontologiaDeontologia
Deontologia
 
Nivea mini case study presentation
Nivea mini case study presentationNivea mini case study presentation
Nivea mini case study presentation
 

Similar to งานนำเสนอ บทที่2

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
Klimat i förändring
Klimat i förändringKlimat i förändring
Klimat i förändringMin Duan
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..Kyjung Seekwang
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนpapassara
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนorrenee jongrak
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนtaveena
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนVilaiwun Bunya
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนonjiranaja
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนguidena
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน2348365991
 

Similar to งานนำเสนอ บทที่2 (20)

แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
Klimat i förändring
Klimat i förändringKlimat i förändring
Klimat i förändring
 
02 global warming
02 global warming02 global warming
02 global warming
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
Global warming 31 37
Global warming 31 37Global warming 31 37
Global warming 31 37
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
----------(2)
 ----------(2) ----------(2)
----------(2)
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
28 feb07
28 feb0728 feb07
28 feb07
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 

งานนำเสนอ บทที่2

  • 2. เอกสารที่เกี่ยวข้อง ภาวะโลกร้อน ภาวะโลกร้อน คือ ภาวะโลกร้อน คือ การที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือน กระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อ ว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ ได้เพิ่มปริมาณก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ จาก การเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆ การขนส่ง และ การผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนั้น มนุษย์เรายังได้เพิ่มก๊าซกลุ่มไนตรัสออกไซด์ และคลอโรฟลูโรคาร์บอน (CFC) เข้าไปอีก ด้วย พร้อมๆกับการที่เราตัดและทาลาย ป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวย ความสะดวกให้แก่มนุษย์ ทาให้กลไกใน การดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไป จากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิ ภาพ ลง และในที่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้กระทา ต่อโลกได้หวนกลับมาสู่เราในลักษณะของ ภาวะโลกร้อน
  • 3. สาเหตุภาวะโลกร้อน สาเหตุภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่างทราบถึง สาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล เช่น ถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่ง เป็นสาเหตุสาคัญในการเกิดภาวะโลกร้อน ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็นต่อ การรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราาะห์ดวงอื่นๆในระบบสุริยะแล้ว จะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืน นั้นหนาวจัด เนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสีความร้อนออกมาใน เวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน มีก๊าซจานวนมากที่มีคุณสมบัติในการ ดูดซับคลื่นรังสีความร้อน และถูกจัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมีทั้งก๊าซที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจาก กิจกรรมของมนุษย์ ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือ ไอน้า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โอโซน มีเทนและไนตรัส ออกไซด์ สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสารทาความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม แต่ไม่ถูกกาหนดในพิธีสารเกียวโต เนื่องจากเป็นสารที่ถูกจากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว
  • 4. ผลกระทบของภาวะโลกร้อน ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา แถบขั้วโลกได้รับผลกระทบมากสุดและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขาน้าแข็ง ก้อนน้าแข็งจะละลายอย่างรวดเร็ว ทาให้ระดับน้าทะเลทางขั้ว โลกเพิ่มขึ้น และไหลลงสู่ทั่วโลกทาให้เกิดน้าท่วมได้ทุก ทวีป นอกจากนี้จะพลอยทาให้สัตว์ทางทะเล เสียชีวิตเพราะระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง ส่วนทวีปยุโรป ยุโรปใต้ภูมิประเทศจะกลายเป็นพื้นที่ลาดเอียง เกิดความแห้งแล้ง ในหลายพื้นที่ปัญหาอุทกภัยจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากธารน้าแข็งบนบริเวณยอดเขาสูงที่ ปกคลุมด้วยหิมะจะละลายจนหมด ขณะที่เอเชียอุณหภูมิจะสูงขึ้นเกิดฤดูกาลที่แห้งแล้ง มีน้าท่วม ผลิตผลทางอาหารลดลง ระดับน้าทะเลสูงขึ้นสภาวะอากาศ แปร ปรวนอาจทาให้เกิดพายุต่าง ๆ มากมายเข้าไปทาลายบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชน ซึ่งปัจจุบันก็เห็นผลกระทบได้ชัดไม่ว่าจะเป็น ใต้ฝุ่นกก แต่แถบทวีปอเมริกาเหนืออุตสาหกรรมการผลิตอาหารจะได้รับผลประโยชน์เนื่องจากอากาศ ที่อุ่นขึ้น พร้อม ๆ กับทุ่งหญ้าใหญ่ของแคนาดาและทุ่งราบใหญ่สหรัฐอเมริกา นักวิจัยได้มีการคาด ประมาณอุณหภูมิผิวโลกในอีก 100 ปีข้างหน้า หรือประมาณปี 2643 ว่า อุณหภูมิจะสูงขึ้นจากปัจจุบัน ราว 4.5 องศาเซลเซียส เนื่องจากคาดการณ์ว่า จะมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อยละ 63 และก๊าซมีเทนร้อยละ 27 ของก๊าซเรือนกระจก สาหรับประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1 องศา เซลเซียส ในช่วง 40 ปี อย่างไรก็ตาม หากอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น 2- 4 องศาเซลเซียส จะทาให้พายุไต้ฝุ่น เปลี่ยนทิศทาง เกิดความรุนแรง และมีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10-20 ในอนาคต นอกจากนี้ ฤดูร้อนจะ ขยายเวลายาวนานขึ้น ในขณะที่ฤดูหนาวจะสั้นลง
  • 5. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ รัฐที่เป็นเกาะเล็ก ๆ ของทวีปอเมริกาจะได้รับผลจากระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นกัดกร่อนชายฝั่ง จะ สร้างความเสียหายแก่ระบบนิเวศ แนวปะการังจะถูกทาลาย ปลาทะเลประสบปัญหา เนื่องจากระบบ นิเวศที่แปรเปลี่ยนไป ธุรกิจท่องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญจะสูญเสียรายได้มหาศาล นอกจากนี้ ในเอเชีย ยังมีโอกาสร้อยละ 66-90 ที่อาจเกิดฝนกระหน่าและมรสุมอย่างรุนแรง รวมถึงเกิดความแห้งแล้งในฤดู ร้อนที่ยาวนาน ทั้งนี้ ในปี 2532-2545 ประเทศไทยเกิดความเสียหาย จากอุทกภัย พายุ และภัยแล้ง คิด เป็นมูลค่าเสียหายทางเศรษฐกิจมากกว่า 70,000 ล้านบาท รายงาน ” Global Deserts Outlook” ของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เนื่องในวัน สิ่งแวดล้อมโลก 5 มิถุนายน ชี้ว่า ภายใน 50 ปีข้างหน้า ระบบนิเวศวิทยาทะเลทราย จะเปลี่ยนแปลง ไปทั้งด้านชีววิทยา เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ปัจจุบันพืชและสัตว์ทะเลทราย คือแหล่งทรัพยากรมี คุณค่าสาหรับผลิตยาและธัญญาหารใหม่ๆ ที่ทาให้ไม่ต้องสิ้นเปลืองน้าและยังมีช่องทางเศรษฐกิจ ใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ เช่น การทาฟาร์มกุ้งและบ่อปลาในทะเลทรายรัฐอาริโซนาและ ทะเลทราย เน เจฟในอิสราเอล อย่างไรก็ตาม ทะเลทรายที่มีอยู่ 12 แห่งทั่วโลก กาลังเผชิญปัญหาใหญ่ ไม่ใช่เรื่องการขยายตัว แต่เป็นความแห้งแล้งเนื่องจากโลกร้อน ธารน้าแข็งซึ่งส่งน้ามาหล่อเลี้ยง ทะเลทรายในอเมริกาใต้กาลังละลาย น้าใต้ดินเค็มขึ้น รวมทั้งผลกระทบที่เกิดจากน้ามือมนุษย์ซึ่งหาก ไม่มีการลงมือป้องกันอย่างทันท่วงที ระบบนิเวศวิทยาและสัตว์ป่าในทะเลทรายจะสูญหายไปภายใน 50 ปีข้างหน้า ในอนาคตประชากร 500 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเขตทะเลทรายทั่วโลกจะอยู่ไม่ได้อีก ต่อไป เพราะอุณหภูมิสูงขึ้นและน้าถูกใช้จนหมดหรือเค็มจนดื่มไม่ได้
  • 6. ผลกระทบด้านสุขภาพ ภาวะโลกร้อนไม่เพียง ทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปแต่มีสิ่งซ่อนเร้นที่แอบ แฝงมาพร้อม ปรากฏการณ์นี้ด้วยว่าโลกร้อนขึ้นจะสร้างสภาวะที่พอเหมาะพอควรให้เชื้อ โรคเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โลกร้อนขึ้นจะก่อให้เกิด สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การ ฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืช ที่เป็นอาหารของมนุษย์บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ดีใน สภาพร้อนชื้นของโลก จะสามารถเพิ่มขึ้นมากในอีก 20 ปีข้างหน้า ทั้งจะมีการติดเชื้อเพิ่ม มากขึ้นในโรคมาลาเรีย ไข้ส่า อหิวาตกโรค และอาหารเป็นพิษนักวิทยาศาสตร์ในที่ ประชุมองค์การอนามัยโลก และ London School of Hygiene and Tropical Medicine วิทยาลัยศึกษาด้านสุขอนามัยและเวชศาสตร์เขตร้อนของ อังกฤษ แถลงว่า ในแต่ละปีประชาชนราว 160,000 คนเสียชีวิตเพราะได้รับผลกระทบ จากภาวะโลกร้อน ตั้งแต่โรคมาลาเรีย ไปจนถึงการขาดแคลนสุขอนามัยที่ดี และตัวเลข ผู้เสียชีวิตนี้อาจเพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าตัวในอีก 17 ปีข้างหน้า แถลงการณ์ของคณะแพทย์ ระดับโลกระบุว่า เด็กในประเทศกาลังพัฒนาจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงมากที่สุด เช่นในประเทศ แถบแอฟริกา ละตินอเมริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่จะต้องเผชิญกับการแพร่ขยาย ของการขาดแคลนสุขอนามัยโรคท้องร่วง และโรคมาเลเรีย ท่ามกลางอุณหภูมิโลกร้อน ขึ้น น้าท่วม และภัยแล้ง
  • 7. กิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ กาลังเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ (อาจยกเว้นไอน้า) – การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ามันและก๊าซธรรมชาติ – การตัดไม้ทาลายป่าทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ – การทาการเกษตรและการปศุสัตว์ปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์ – ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ปล่อยก๊าซโอโซน ที่มา : สถิติของอุณหภูมิโลกที่เพิ่มขึ้นทุกๆ 5 ปี จนถึงปี 2000