SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
ภาวะโลกร้อน คือ
ภาวะโลกร้อน คือการที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือนกระจก
หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์
ได้เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆการขนส่งและ
การผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนั้นมนุษย์เรายังได้เพิ่มก๊าซกลุ่มไนตรัสออกไซด์
และคลอโรฟลูโรคาร์บอน( CFC) เข้าไปอีกด้วยพร้อมๆกับการที่เราตัดและทาลาย
ป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวย ความสะดวกให้แก่มนุษย์ทาให้กลไกใน
การดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิ ภาพลง
และในที่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้กระทาต่อโลกได้หวนกลับมาสู่เราในลักษณะของภาวะโลกร้อน
สาเหตุภาวะโลกร้อน
สาเหตุภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง
โดยที่เราทุกคนต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ
การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิลเช่นถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน
ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก
ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญในการเกิดภาวะโลกร้อน
ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas)
เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อนหรือรังสีอินฟาเรดได้ดี
ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็นต่อการรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่
ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ
ดังเช่นดาวเคราาะห์ดวงอื่นๆในระบบสุริยะแล้วจะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด
และในตอนกลางคืนนั้นหนาวจัดเนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน
แล้วค่อยๆแผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลากลางคืน
ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน
มีก๊าซจานวนมากที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน
และถูกจัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก
ซึ่งมีทั้งก๊าซที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์
ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือไอน้าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โอโซน มีเทนและไนตรัสออกไซด์
สารซีเอฟซี เป็นต้น แต่ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มีเพียง6 ชนิด
โดยจะต้องเป็นก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เท่านั้นได้แก่
ทั้งนี้ ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่สาคัญอีกชนิดหนึ่ง
คือ สารซีเอฟซี (CFC หรือ
Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสารทาความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม
แต่ไม่ถูกกาหนดในพิธีสารเกียวโต
เนื่องจากเป็นสารที่ถูกจากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว
กิจกรรมต่าง ๆของมนุษย์ กาลังเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้
(อาจยกเว้นไอน้า) –
การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน
น้ามันและก๊าซธรรมชาติ
–
การตัดไม้ทาลายป่าทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
–
การทาการเกษตรและการปศุสัตว์ปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์
– ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ปล่อยก๊าซโอโซน
ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน
1. ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา
แถบขั้วโลกได้รับผลกระทบมากสุดและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขาน้าแข็
ง ก้อนน้าแข็งจะละลายอย่างรวดเร็ว ทาให้ระดับน้าทะเลทางขั้วโลกเพิ่มขึ้น
และไหลลงสู่ทั่วโลกทาให้เกิดน้าท่วมได้ทุก ทวีป
นอกจากนี้จะพลอยทาให้สัตว์ทางทะเลเสียชีวิตเพราะระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง
ส่วนทวีปยุโรป ยุโรปใต้ภูมิประเทศจะกลายเป็นพื้นที่ลาดเอียงเกิดความแห้งแล้ง
ในหลายพื้นที่ปัญหาอุทกภัยจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากธารน้าแข็งบนบริเวณยอดเขาสูงที่ปกคลุมด้วยหิมะจะละล
ายจนหมด
ขณะที่เอเชียอุณหภูมิจะสูงขึ้นเกิดฤดูกาลที่แห้งแล้ง มีน้าท่วม ผลิตผลทางอาหารลดลง
ระดับน้าทะเลสูงขึ้นสภาวะอากาศ แปร ปรวนอาจทาให้เกิดพายุต่าง ๆ
มากมายเข้าไปทาลายบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชน
ซึ่งปัจจุบันก็เห็นผลกระทบได้ชัดไม่ว่าจะเป็นใต้ฝุ่นกก
แต่แถบทวีปอเมริกาเหนืออุตสาหกรรมการผลิตอาหารจะได้รับผลประโยชน์เนื่องจากอากาศที่อุ่นขึ้น พร้อม
ๆ กับทุ่งหญ้าใหญ่ของแคนาดาและทุ่งราบใหญ่สหรัฐอเมริกา
นักวิจัยได้มีการคาดประมาณอุณหภูมิผิวโลกในอีก 100 ปีข้างหน้า หรือประมาณปี 2643 ว่า
อุณหภูมิจะสูงขึ้นจากปัจจุบันราว 4.5 องศาเซลเซียส เนื่องจากคาดการณ์ว่า
จะมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อยละ 63 และก๊าซมีเทนร้อยละ 27 ของก๊าซเรือนกระจก
สาหรับประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซียส ในช่วง 40 ปี อย่างไรก็ตาม
หากอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น 2- 4 องศาเซลเซียส จะทาให้พายุไต้ฝุ่นเปลี่ยนทิศทาง เกิดความรุนแรง
และมีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10-20 ในอนาคต นอกจากนี้ ฤดูร้อนจะขยายเวลายาวนานขึ้น
ในขณะที่ฤดูหนาวจะสั้นลง
2. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ
รัฐที่เป็นเกาะเล็ก ๆ ของทวีปอเมริกาจะได้รับผลจากระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นกัดกร่อนชายฝั่ง
จะสร้างความเสียหายแก่ระบบนิเวศ แนวปะการังจะถูกทาลาย ปลาทะเลประสบปัญหา
เนื่องจากระบบนิเวศที่แปรเปลี่ยนไป ธุรกิจท่องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญจะสูญเสียรายได้มหาศาล
นอกจากนี้ในเอเชียยังมีโอกาสร้อยละ 66-90 ที่อาจเกิดฝนกระหน่าและมรสุมอย่างรุนแรง
รวมถึงเกิดความแห้งแล้งในฤดูร้อนที่ยาวนาน ทั้งนี้ในปี 2532-2545 ประเทศไทยเกิดความเสียหาย
จากอุทกภัย พายุ และภัยแล้ง คิดเป็นมูลค่าเสียหายทางเศรษฐกิจมากกว่า 70,000 ล้านบาท
รายงาน ” Global DesertsOutlook” ของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ
เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก 5 มิถุนายน ชี้ว่า ภายใน 50 ปีข้างหน้า ระบบนิเวศวิทยาทะเลทราย
จะเปลี่ยนแปลงไปทั้งด้านชีววิทยา เศรษฐกิจและวัฒนธรรม
ปัจจุบันพืชและสัตว์ทะเลทราย คือแหล่งทรัพยากรมีคุณค่าสาหรับผลิตยาและธัญญาหารใหม่ๆ
ที่ทาให้ไม่ต้องสิ้นเปลืองน้าและยังมีช่องทางเศรษฐกิจใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ เช่น
การทาฟาร์มกุ้งและบ่อปลาในทะเลทรายรัฐอาริโซนาและทะเลทรายเน เจฟในอิสราเอล
อย่างไรก็ตาม ทะเลทรายที่มีอยู่ 12 แห่งทั่วโลก กาลังเผชิญปัญหาใหญ่ ไม่ใช่เรื่องการขยายตัว
แต่เป็นความแห้งแล้งเนื่องจากโลกร้อน
ธารน้าแข็งซึ่งส่งน้ามาหล่อเลี้ยงทะเลทรายในอเมริกาใต้กาลังละลาย น้าใต้ดินเค็มขึ้น
รวมทั้งผลกระทบที่เกิดจากน้ามือมนุษย์ ซึ่งหากไม่มีการลงมือป้ องกันอย่างทันท่วงที
ระบบนิเวศวิทยาและสัตว์ป่าในทะเลทรายจะสูญหายไปภายใน 50 ปีข้างหน้า
ในอนาคตประชากร 500 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเขตทะเลทรายทั่วโลกจะอยู่ไม่ได้อีกต่อไป
เพราะอุณหภูมิสูงขึ้นและน้าถูกใช้จนหมดหรือเค็มจนดื่มไม่ได้
3. ผลกระทบด้านสุขภาพ
ภาวะโลกร้อนไม่เพียง ทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปแต่มีสิ่งซ่อนเร้นที่แอบแฝงมาพร้อม
ปรากฏการณ์นี้ด้วยว่าโลกร้อนขึ้นจะสร้างสภาวะที่พอเหมาะพอควรให้เชื้อโรคเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
โลกร้อนขึ้นจะก่อให้เกิด สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืช
ที่เป็นอาหารของมนุษย์บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ดีในสภาพร้อนชื้นของโลก จะสามารถเพิ่มขึ้นมากในอีก 20
ปีข้างหน้า ทั้งจะมีการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นในโรคมาลาเรีย ไข้ส่า อหิวาตกโรค
และอาหารเป็นพิษนักวิทยาศาสตร์ในที่ประชุมองค์การอนามัยโลก และ London Schoolof Hygiene and
TropicalMedicine วิทยาลัยศึกษาด้านสุขอนามัยและเวชศาสตร์เขตร้อนของอังกฤษ แถลงว่า
ในแต่ละปีประชาชนราว 160,000 คนเสียชีวิตเพราะได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ตั้งแต่โรคมาลาเรีย
ไปจนถึงการขาดแคลนสุขอนามัยที่ดี และตัวเลขผู้เสียชีวิตนี้อาจเพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าตัวในอีก 17
ปีข้างหน้า แถลงการณ์ของคณะแพทย์ระดับโลกระบุว่า
เด็กในประเทศกาลังพัฒนาจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงมากที่สุด เช่นในประเทศแถบแอฟริกา ละตินอเมริกา
และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่จะต้องเผชิญกับการแพร่ขยายของการขาดแคลนสุขอนามัยโรคท้องร่วง
และโรคมาเลเรีย ท่ามกลางอุณหภูมิโลกร้อนขึ้น น้าท่วม และภัยแล้ง
วิธีการแก้ไขและป้ องกันภาวะโลกร้อน
1. ลดการใช้พลังงานที่ไม่จาเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้ า เช่น แอร์ เครื่องปรับอากาศพัดลมลม หากเป็นไปได้
ใช้วิธี เปิดหน้าต่าง ซึ่งบางช่วงที่อากาศดีๆ สามารถทาได้เช่นหลังฝนตก หรือช่วงอากาศเย็น
เป็นการลดค่าไฟ และ ลดความร้อน เนื่องจากหลักการทาความเย็นนั้นคือ การถ่ายเทความร้อนออก
ดังนั้นเวลาเราใช้แอร์ จะเกิดปริมาณความร้อนบริเวณหลังเครื่องระบายความร้อน
2. เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน ในกรณีที่สามารถทาได้ ได้แก่ รถไฟฟ้ า รถตู้รถเมล์ เนื่องจากพาหนะ
แต่ละคันจะเกิดการเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่งจะเกิดความร้อนและ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
ดังนั้นเมื่อลดปริมาณจานวนรถ ก็จะลดจานวนการเผาไหม้บนท้องถนน ในแต่ละวันลงได้
3. เวลาเดินเข้าห้างสรรพสินค้า
หากมีใครเปิดประตูทิ้งไว้ ให้ช่วยปิดด้วยเนื่องจากห้างสรรพสินค้าแต่ละห้างนั้น
มีพื้นที่มาก กว่าจะทาให้เกิดความเย็นได้ ก็จะก่อให้เกิด
เกิดความร้อนปริมาณมาก ดังนั้นเมื่อมีคนเปิดประตูทิ้งไว้ แอร์ก็จะยิ่งทางานมากขึ้นเพื่อให้ได้ความเย็นตาม
ที่ระบุไว้ในเครื่อง ซึ่งประตูที่เปิดอยู่จะนาความร้อนมาสู่ตัวห้างเครื่องก็จะทางานวนอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นสาเ
หตุให้เกิดความร้อนอีกปริมาณมากต่อสภาพ
ภายนอก
4. พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทนซึ่งก่อให้เกิดปริมาณค
วามร้อนต่อโลก เมื่อหลายคนรวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก
5. ช่วยกันปลูกต้นไม้ เพราะต้นไม้จะคายความชุ่มชื้นให้กับโลก และ
ช่วยดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุภาวะเรือนกระจก
6. การชวนกันออกไปเที่ยวธรรมชาติภายนอก ก็ช่วยลดการใช้ปริมาณไฟฟ้ าได้
7. เวลาซื้อของพยายามไม่รับภาชนะที่เป็นโฟม หรือกรณีที่เป็นพลาสติก
เช่นขวดน้าพยายามนากลับมาใช้อีก เนื่องจากพลาสติกเหล่านี้ทาการย่อยสลายยาก
ต้องใช้ปริมาณความร้อน เหมือนกับตอนที่ผลิตมันมา ซึ่งจะก่อให้เกิดความร้อนกับโลกของเราเราสามารถ
นากลับมาใช้เป็นภาชนะใส่น้าแทนกระติกน้าได้ หรือใช้ปลูกต้นไม้ก็ได้
8. ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ที่เคี้ยวเอื้อง เนื่องจากสัตว์เหล่านี้
อุจจาระจะปล่อยก๊าซมีเทนออกมา ดังนี้อุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ประเภทนี้ เมื่อมีจานวนมากก็จะก่อให้เกิดคว
ามร้อนกับโลกเรามาก
9. ใช้กระดาษด้วยความประหยัด กระดาษแต่ละแผ่น
ทามาจากการตัดต้นไม้ ซึ่งเป็นเสมือนปราการสาคัญของโลกเรา ดังน้นการใช้กระดาษแต่ละแผ่นควรใช้ให้
ประหยัดทั้งด้านหน้าหลัง ใช้เสร็จควรนามาเป็นวัสดุรอง หรือ
นามาเช็ดกระจกก็ได้นอกจากนี้การนากระดาษไปเผาก็จะเกิดความร้อนต่อโลกเราเช่นกัน
10. ไม่สนับสนุนกิจการใดๆ
ที่สิ้นเปลืองทรัพยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการที่มีการคานึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อม
ปรากฏการณ์โลกร้อน
ปรากฏการณ์โลกร้อน (อังกฤษ: Global warming)
หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้าในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของ
คริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ.2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ±
0.18 องศาเซลเซียส [1]
ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergo
vernmentalPanel on Climate Change:IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า
“จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20
(ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490)
ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลใ
นรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” [1]
ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น
ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่ม
อุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี
2490
เป็นต้นมา[2][3]
ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์
ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สาคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ
แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC
อยู่บ้าง [4]
แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทางานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยต
รงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ [5][6]
แบบจาลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC
บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21
(พ.ศ. 2544–2643) [1]
ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจาลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ
ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจาลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ
แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี พ.ศ. 2643
แต่ความร้อนจะยังคงเพิ่มขึ้นและระดับน้าทะเลก็จะสูงขึ้นต่อเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษ แม้ว่าระดับของแก๊
สเรือนกระจกจะเข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม
การที่อุณหภูมิและระดับน้าทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมาจากความจุความร้อนของน้าในมหา
สมุทรซึ่งมีค่าสูงมาก [1]
การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น
และคาดว่าทาให้เกิดภาวะลมฟ้ าอากาศสุดโต่ง (extreme weather) ที่รุนแรงมากขึ้น
ปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้าฟ้ าจะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่น ๆ ของปรากฏการณ์โลกร้อนได้แก่
การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธารน้าแข็ง การสูญพันธุ์พืช-สัตว์ต่าง ๆ
รวมทั้งการกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น
แต่ยังคงมีความไม่แน่นอนทางวิทยาศาสตร์อยู่บ้าง
ได้แก่ปริมาณของความร้อนที่คาดว่าจะเพิ่มในอนาคต ผลของความร้อนที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบอื่น ๆ
ที่จะเกิดกับแต่ละภูมิภาคบนโลกว่าจะแตกต่างกันอย่างไร รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ
แทบทุกประเทศได้ลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต ซึ่งมุ่งประเด็นไปที่การลดการปล่อยแก๊สเรือนก
ระจก
แต่ยังคงมีการโต้เถียงกันทางการเมืองและการโต้วาทีสาธารณะไปทั่วทั้งโลกเกี่ยวกับมาตรการว่าควรเป็นอ
ย่างไร จึงจะลดหรือย้อนกลับความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกในอนาคต
หรือจะปรับตัวกันอย่างไรต่อผลกระทบของปรากฏการณ์โลกร้อนที่คาดว่าจะต้องเกิดขึ้น
ภาวะโลกร้อน (Global Warming)
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change)
เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ
สาเหตุหลักของปัญหานี้มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ค่ะ (Greenhouse gases)
ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสาคัญกับโลก เพราะก๊าซจาพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน
จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น
โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ
กรองพลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทาให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ เรือนกระจก
(ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ค่ะ
แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจาก โรงงานอุตสาหกรรม
รถยนต์ หรือการกระทาใดๆที่เผา เชื้อเพลิงฟอสซิล (เช่น ถ่านหิน น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ หรือ
สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ) ส่งผลให้ระดับปริมาณ CO2 ในปัจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 ส่วน ใน
ล้านส่วน) เป็นครั้งแรกในรอบกว่า 6 แสนปี
ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น
ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน
ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มานี้ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3
ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ยังมีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อ
จากคาถามที่ว่า "โลกกาลังร้อนขึ้นจริงหรือ" เป็น "ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง
และต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร" ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทาการแก้ไขออกไปเพียงใด
ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ
ลูกหลานของพวกเราเอง
ในอนาคตคาดว่าผลกระทบของภาวะโลกร้อนจะรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ
เราสามารถช่วยกันลดภาวะโลกร้อนได้หลายวิธี
หลักๆก็เห็นจะเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและประหยัด
เพราะว่าพลังงานที่พวกเราใช้กันอยู่ทุกวันนี้กว่าจะมาถึงให้เราได้ใช้นั้น
ต้องผ่านกระบวนการขั้นตอนในการผลิตมากมาย และแต่ละขั้นตอนก็จะทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจกขึ้นมา
เพราะฉะนั้นการลดใช้พลังงานก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ เช่น การปิดไฟเมื่อไม่ได้ใช้
การใช้น้าอย่างประหยัด การใช้จักรยานแทนรถยนต์ในการเดินทางใกล้ๆ และอื่นๆอีกมากมาย
การปลูกต้นไม้ก็เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ อย่างที่เรารู้กันดีว่าในเวลากลางวัน
ต้นไม้นั้นจะช่วยหายใจเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไป และหายใจออกมาเป็นก๊าซออกซิเจน
เปรียบเสมือนเครื่องฟอกอากาศให้กับโลกของเราโดยแท้
แต่ทว่าปัจจุบันป่าไม้ถูกทาลายและมีจานวนลดลงไปอย่างมาก ฉะนั้นถ้าเราทุกคนช่วยกันปลูกต้นไม้
ก็เหมือนกับช่วยเพิ่มเครื่องฟอกอากาศให้กับโลกของเรา
สาเหตุการเกิดมลภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน (Global Warming) เกิดจาก การเพิ่มขึ้นของก๊าซที่ปกคลุมชั้นบรรยากาศของโลก
ทาให้อุณภูมิภายในโลกสูงขึ้น เป็นเหตุให้ฤดูกาลทั่วโลกเปลี่ยนไป
และก๊าซที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล
ภาวะโลกร้อน หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกในปัจจุบัน
สังเกตุได้จากอุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้น มีสาเหตุหลักของมาจากก๊าซเรือนกระจก
ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสาคัญกับโลก เพราะก๊าซจาพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือมีเทน
จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น
โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด ตอนกลางวันร้อนจัด
เพราะไม่มีบรรยากาศกรองพลังงานจากดวงอาทิตย์ ลักษณะเช่นนี้คล้ายกับหลักการของเรือนกระจก
จึงมักเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) การเพิ่มขึ้นของ ก๊าซเรือนกระจก
ส่งผลให้ชั้นบรรยากาศมีความสามารถในการกักเก็บรังสีความร้อนได้มากขึ้น
ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน
หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็นต่อการรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่
ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะแล้ว
จะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืนนั้นหนาวจัด
เนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ
แผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน
มีก๊าซจานวนมากที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน และถูกจัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก
ซึ่งมีทั้งก๊าซที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือ ไอน้า
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โอโซน มีเทนและไนตรัสออกไซด์ สารซีเอฟซี เป็นต้น แต่
ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มีเพียง 6 ชนิด
โดยจะต้องเป็นก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ (anthropogenic greenhouse gasemission) เท่านั้น
ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N20)
ก๊าซไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFC) ก๊าซเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFC) และก๊าซซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์
(SF6) ทั้งนี้ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่สาคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC
หรือ Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสารทาความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม
แต่ไม่ถูกกาหนดในพิธีสารเกียวโตเนื่องจากเป็นสารที่ถูกจากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว
แหล่งกาเนิดของก๊าซเรือนกระจก
 การย่อยสลายของซากพืชซากสัตว์
 จากโรงงานอุตสาหกรรม
 เครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น ใช้เป็นสารหล่อเย็นในตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ
 ของใช้ประจาวัน เช่น ใช้เป็นสารขับดันในเครื่องกระป๋องที่เป็นสเปรย์
 จากกทานาข้าวหรือพืชที่ขังน้าและปศุสัตว์
 การเผาไหม้ของซากพืชหรือสัตว์
 การใช้งานโดยมีการเผาไหม้ของถ่านหิน/น้ามัน/ก๊าซธรรมชาติ
 การเผาไหม้ในหลายรูปแบบ เช่น การใช้น้ามันเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม ในรถยนต์
 การเผาป่า เพื่อใช้พื้นที่อยู่อาศัย หรือทาการเกษตร หรือเผาหญ้าเผาฟางหลังการเก็บเกี่ยว
 การทาปศุสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ การทาฟาร์ม

More Related Content

Similar to ภาวะโลกร้อน

มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
Kyjung Seekwang
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
dnavaroj
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
sudsanguan
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
Aungkana Na Na
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
Aungkana Na Na
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
Vilaiwun Bunya
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
onjiranaja
 
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
nalinee2535
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
songpol
 

Similar to ภาวะโลกร้อน (20)

มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
28 feb07
28 feb0728 feb07
28 feb07
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 
02 global warming
02 global warming02 global warming
02 global warming
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
Global warming 31 37
Global warming 31 37Global warming 31 37
Global warming 31 37
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
----------(2)
 ----------(2) ----------(2)
----------(2)
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
งานนำเสนอ10000000000000000000000000000000000000000000000000000000
 
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อนโครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
โครงงานเรื่องภาวะโลกร้อน
 

ภาวะโลกร้อน

  • 1. ภาวะโลกร้อน คือ ภาวะโลกร้อน คือการที่ อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้นจากภาวะเรือนกระจก หรือที่เรารู้จักกันดีในชื่อว่า Green house effect ซึ่งมีต้นเหตุจากการที่มนุษย์ ได้เพิ่มปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงต่างๆการขนส่งและ การผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนั้นมนุษย์เรายังได้เพิ่มก๊าซกลุ่มไนตรัสออกไซด์ และคลอโรฟลูโรคาร์บอน( CFC) เข้าไปอีกด้วยพร้อมๆกับการที่เราตัดและทาลาย ป่าไม้จานวนมหาศาลเพื่อสร้างสิ่งอานวย ความสะดวกให้แก่มนุษย์ทาให้กลไกใน การดึงเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกไปจากระบบบรรยากาศถูกลดทอนประสิทธิ ภาพลง และในที่สุดสิ่งต่างๆที่เราได้กระทาต่อโลกได้หวนกลับมาสู่เราในลักษณะของภาวะโลกร้อน สาเหตุภาวะโลกร้อน สาเหตุภาวะโลกร้อนเป็นภัยพิบัติที่มาถึง โดยที่เราทุกคนต่างทราบถึงสาเหตุของการเกิดเป็นอย่างดี นั่นคือ การที่มนุษย์เผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิลเช่นถ่านหิน น้ามัน และก๊าซธรรมชาติ เพื่อผลิตพลังงาน ทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญในการเกิดภาวะโลกร้อน ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อนหรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็นต่อการรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราาะห์ดวงอื่นๆในระบบสุริยะแล้วจะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืนนั้นหนาวจัดเนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆแผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน มีก๊าซจานวนมากที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน และถูกจัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมีทั้งก๊าซที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือไอน้าก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โอโซน มีเทนและไนตรัสออกไซด์ สารซีเอฟซี เป็นต้น แต่ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มีเพียง6 ชนิด
  • 2. โดยจะต้องเป็นก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ เท่านั้นได้แก่ ทั้งนี้ ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่สาคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสารทาความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม แต่ไม่ถูกกาหนดในพิธีสารเกียวโต เนื่องจากเป็นสารที่ถูกจากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว กิจกรรมต่าง ๆของมนุษย์ กาลังเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกเหล่านี้ (อาจยกเว้นไอน้า) – การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ามันและก๊าซธรรมชาติ – การตัดไม้ทาลายป่าทาให้เกิดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ – การทาการเกษตรและการปศุสัตว์ปล่อยก๊าซมีเทนและไนตรัสออกไซด์ – ควันจากท่อไอเสียรถยนต์ปล่อยก๊าซโอโซน ผลกระทบจากภาวะโลกร้อน 1. ผลกระทบด้านนิเวศวิทยา แถบขั้วโลกได้รับผลกระทบมากสุดและก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งภูเขาน้าแข็ ง ก้อนน้าแข็งจะละลายอย่างรวดเร็ว ทาให้ระดับน้าทะเลทางขั้วโลกเพิ่มขึ้น และไหลลงสู่ทั่วโลกทาให้เกิดน้าท่วมได้ทุก ทวีป นอกจากนี้จะพลอยทาให้สัตว์ทางทะเลเสียชีวิตเพราะระบบนิเวศเปลี่ยนแปลง ส่วนทวีปยุโรป ยุโรปใต้ภูมิประเทศจะกลายเป็นพื้นที่ลาดเอียงเกิดความแห้งแล้ง ในหลายพื้นที่ปัญหาอุทกภัยจะเพิ่มขึ้นเนื่องจากธารน้าแข็งบนบริเวณยอดเขาสูงที่ปกคลุมด้วยหิมะจะละล ายจนหมด ขณะที่เอเชียอุณหภูมิจะสูงขึ้นเกิดฤดูกาลที่แห้งแล้ง มีน้าท่วม ผลิตผลทางอาหารลดลง ระดับน้าทะเลสูงขึ้นสภาวะอากาศ แปร ปรวนอาจทาให้เกิดพายุต่าง ๆ มากมายเข้าไปทาลายบ้านเรือนที่อยู่อาศัยของประชาชน ซึ่งปัจจุบันก็เห็นผลกระทบได้ชัดไม่ว่าจะเป็นใต้ฝุ่นกก
  • 3. แต่แถบทวีปอเมริกาเหนืออุตสาหกรรมการผลิตอาหารจะได้รับผลประโยชน์เนื่องจากอากาศที่อุ่นขึ้น พร้อม ๆ กับทุ่งหญ้าใหญ่ของแคนาดาและทุ่งราบใหญ่สหรัฐอเมริกา นักวิจัยได้มีการคาดประมาณอุณหภูมิผิวโลกในอีก 100 ปีข้างหน้า หรือประมาณปี 2643 ว่า อุณหภูมิจะสูงขึ้นจากปัจจุบันราว 4.5 องศาเซลเซียส เนื่องจากคาดการณ์ว่า จะมีการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถึงร้อยละ 63 และก๊าซมีเทนร้อยละ 27 ของก๊าซเรือนกระจก สาหรับประเทศไทยมีอุณหภูมิสูงขึ้นประมาณ 1 องศาเซลเซียส ในช่วง 40 ปี อย่างไรก็ตาม หากอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้น 2- 4 องศาเซลเซียส จะทาให้พายุไต้ฝุ่นเปลี่ยนทิศทาง เกิดความรุนแรง และมีจานวนเพิ่มขึ้นร้อยละ 10-20 ในอนาคต นอกจากนี้ ฤดูร้อนจะขยายเวลายาวนานขึ้น ในขณะที่ฤดูหนาวจะสั้นลง 2. ผลกระทบด้านเศรษฐกิจ รัฐที่เป็นเกาะเล็ก ๆ ของทวีปอเมริกาจะได้รับผลจากระดับน้าทะเลที่สูงขึ้นกัดกร่อนชายฝั่ง จะสร้างความเสียหายแก่ระบบนิเวศ แนวปะการังจะถูกทาลาย ปลาทะเลประสบปัญหา เนื่องจากระบบนิเวศที่แปรเปลี่ยนไป ธุรกิจท่องเที่ยวทางทะเลที่สาคัญจะสูญเสียรายได้มหาศาล นอกจากนี้ในเอเชียยังมีโอกาสร้อยละ 66-90 ที่อาจเกิดฝนกระหน่าและมรสุมอย่างรุนแรง รวมถึงเกิดความแห้งแล้งในฤดูร้อนที่ยาวนาน ทั้งนี้ในปี 2532-2545 ประเทศไทยเกิดความเสียหาย จากอุทกภัย พายุ และภัยแล้ง คิดเป็นมูลค่าเสียหายทางเศรษฐกิจมากกว่า 70,000 ล้านบาท รายงาน ” Global DesertsOutlook” ของโครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ เนื่องในวันสิ่งแวดล้อมโลก 5 มิถุนายน ชี้ว่า ภายใน 50 ปีข้างหน้า ระบบนิเวศวิทยาทะเลทราย จะเปลี่ยนแปลงไปทั้งด้านชีววิทยา เศรษฐกิจและวัฒนธรรม ปัจจุบันพืชและสัตว์ทะเลทราย คือแหล่งทรัพยากรมีคุณค่าสาหรับผลิตยาและธัญญาหารใหม่ๆ ที่ทาให้ไม่ต้องสิ้นเปลืองน้าและยังมีช่องทางเศรษฐกิจใหม่ๆ ที่เป็นมิตรกับธรรมชาติ เช่น การทาฟาร์มกุ้งและบ่อปลาในทะเลทรายรัฐอาริโซนาและทะเลทรายเน เจฟในอิสราเอล อย่างไรก็ตาม ทะเลทรายที่มีอยู่ 12 แห่งทั่วโลก กาลังเผชิญปัญหาใหญ่ ไม่ใช่เรื่องการขยายตัว แต่เป็นความแห้งแล้งเนื่องจากโลกร้อน ธารน้าแข็งซึ่งส่งน้ามาหล่อเลี้ยงทะเลทรายในอเมริกาใต้กาลังละลาย น้าใต้ดินเค็มขึ้น
  • 4. รวมทั้งผลกระทบที่เกิดจากน้ามือมนุษย์ ซึ่งหากไม่มีการลงมือป้ องกันอย่างทันท่วงที ระบบนิเวศวิทยาและสัตว์ป่าในทะเลทรายจะสูญหายไปภายใน 50 ปีข้างหน้า ในอนาคตประชากร 500 ล้านคนที่อาศัยอยู่ในเขตทะเลทรายทั่วโลกจะอยู่ไม่ได้อีกต่อไป เพราะอุณหภูมิสูงขึ้นและน้าถูกใช้จนหมดหรือเค็มจนดื่มไม่ได้ 3. ผลกระทบด้านสุขภาพ ภาวะโลกร้อนไม่เพียง ทาให้ระบบนิเวศเปลี่ยนแปลงไปแต่มีสิ่งซ่อนเร้นที่แอบแฝงมาพร้อม ปรากฏการณ์นี้ด้วยว่าโลกร้อนขึ้นจะสร้างสภาวะที่พอเหมาะพอควรให้เชื้อโรคเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว โลกร้อนขึ้นจะก่อให้เกิด สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมแก่การฟักตัวของเชื้อโรคและศัตรูพืช ที่เป็นอาหารของมนุษย์บางชนิด โรคที่ฟักตัวได้ดีในสภาพร้อนชื้นของโลก จะสามารถเพิ่มขึ้นมากในอีก 20 ปีข้างหน้า ทั้งจะมีการติดเชื้อเพิ่มมากขึ้นในโรคมาลาเรีย ไข้ส่า อหิวาตกโรค และอาหารเป็นพิษนักวิทยาศาสตร์ในที่ประชุมองค์การอนามัยโลก และ London Schoolof Hygiene and TropicalMedicine วิทยาลัยศึกษาด้านสุขอนามัยและเวชศาสตร์เขตร้อนของอังกฤษ แถลงว่า ในแต่ละปีประชาชนราว 160,000 คนเสียชีวิตเพราะได้รับผลกระทบจากภาวะโลกร้อน ตั้งแต่โรคมาลาเรีย ไปจนถึงการขาดแคลนสุขอนามัยที่ดี และตัวเลขผู้เสียชีวิตนี้อาจเพิ่มขึ้นเกือบสองเท่าตัวในอีก 17 ปีข้างหน้า แถลงการณ์ของคณะแพทย์ระดับโลกระบุว่า เด็กในประเทศกาลังพัฒนาจัดอยู่ในกลุ่มเสี่ยงมากที่สุด เช่นในประเทศแถบแอฟริกา ละตินอเมริกา และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่จะต้องเผชิญกับการแพร่ขยายของการขาดแคลนสุขอนามัยโรคท้องร่วง และโรคมาเลเรีย ท่ามกลางอุณหภูมิโลกร้อนขึ้น น้าท่วม และภัยแล้ง วิธีการแก้ไขและป้ องกันภาวะโลกร้อน 1. ลดการใช้พลังงานที่ไม่จาเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้ า เช่น แอร์ เครื่องปรับอากาศพัดลมลม หากเป็นไปได้ ใช้วิธี เปิดหน้าต่าง ซึ่งบางช่วงที่อากาศดีๆ สามารถทาได้เช่นหลังฝนตก หรือช่วงอากาศเย็น เป็นการลดค่าไฟ และ ลดความร้อน เนื่องจากหลักการทาความเย็นนั้นคือ การถ่ายเทความร้อนออก ดังนั้นเวลาเราใช้แอร์ จะเกิดปริมาณความร้อนบริเวณหลังเครื่องระบายความร้อน 2. เลือกใช้ระบบขนส่งมวลชน ในกรณีที่สามารถทาได้ ได้แก่ รถไฟฟ้ า รถตู้รถเมล์ เนื่องจากพาหนะ แต่ละคันจะเกิดการเผาผลาญเชื้อเพลิง ซึ่งจะเกิดความร้อนและ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้นเมื่อลดปริมาณจานวนรถ ก็จะลดจานวนการเผาไหม้บนท้องถนน ในแต่ละวันลงได้ 3. เวลาเดินเข้าห้างสรรพสินค้า หากมีใครเปิดประตูทิ้งไว้ ให้ช่วยปิดด้วยเนื่องจากห้างสรรพสินค้าแต่ละห้างนั้น มีพื้นที่มาก กว่าจะทาให้เกิดความเย็นได้ ก็จะก่อให้เกิด เกิดความร้อนปริมาณมาก ดังนั้นเมื่อมีคนเปิดประตูทิ้งไว้ แอร์ก็จะยิ่งทางานมากขึ้นเพื่อให้ได้ความเย็นตาม
  • 5. ที่ระบุไว้ในเครื่อง ซึ่งประตูที่เปิดอยู่จะนาความร้อนมาสู่ตัวห้างเครื่องก็จะทางานวนอยู่อย่างนั้น ซึ่งเป็นสาเ หตุให้เกิดความร้อนอีกปริมาณมากต่อสภาพ ภายนอก 4. พยายามรับประทานอาหารให้หมด เศษอาหารที่เหลือทิ้งไว้จะก่อให้เกิดก๊าซมีเทนซึ่งก่อให้เกิดปริมาณค วามร้อนต่อโลก เมื่อหลายคนรวมๆกันก็เป็นปริมาณความร้อนที่มาก 5. ช่วยกันปลูกต้นไม้ เพราะต้นไม้จะคายความชุ่มชื้นให้กับโลก และ ช่วยดูดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นสาเหตุภาวะเรือนกระจก 6. การชวนกันออกไปเที่ยวธรรมชาติภายนอก ก็ช่วยลดการใช้ปริมาณไฟฟ้ าได้ 7. เวลาซื้อของพยายามไม่รับภาชนะที่เป็นโฟม หรือกรณีที่เป็นพลาสติก เช่นขวดน้าพยายามนากลับมาใช้อีก เนื่องจากพลาสติกเหล่านี้ทาการย่อยสลายยาก ต้องใช้ปริมาณความร้อน เหมือนกับตอนที่ผลิตมันมา ซึ่งจะก่อให้เกิดความร้อนกับโลกของเราเราสามารถ นากลับมาใช้เป็นภาชนะใส่น้าแทนกระติกน้าได้ หรือใช้ปลูกต้นไม้ก็ได้ 8. ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ที่เคี้ยวเอื้อง เนื่องจากสัตว์เหล่านี้ อุจจาระจะปล่อยก๊าซมีเทนออกมา ดังนี้อุตสาหกรรมเลี้ยงสัตว์ประเภทนี้ เมื่อมีจานวนมากก็จะก่อให้เกิดคว ามร้อนกับโลกเรามาก 9. ใช้กระดาษด้วยความประหยัด กระดาษแต่ละแผ่น ทามาจากการตัดต้นไม้ ซึ่งเป็นเสมือนปราการสาคัญของโลกเรา ดังน้นการใช้กระดาษแต่ละแผ่นควรใช้ให้ ประหยัดทั้งด้านหน้าหลัง ใช้เสร็จควรนามาเป็นวัสดุรอง หรือ นามาเช็ดกระจกก็ได้นอกจากนี้การนากระดาษไปเผาก็จะเกิดความร้อนต่อโลกเราเช่นกัน 10. ไม่สนับสนุนกิจการใดๆ ที่สิ้นเปลืองทรัพยากรของโลกเรา และควรสนับสนุนกิจการที่มีการคานึงถึงการรักษาสิ่งแวดล้อม
  • 6. ปรากฏการณ์โลกร้อน ปรากฏการณ์โลกร้อน (อังกฤษ: Global warming) หมายถึงการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเฉลี่ยของอากาศใกล้พื้นผิวโลกและน้าในมหาสมุทรตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังของ คริสต์ศตวรรษที่ 20 และมีการคาดการณ์ว่าอุณหภูมิเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ในช่วง 100 ปีที่ผ่านมา นับถึง พ.ศ.2548 อากาศใกล้ผิวดินทั่วโลกโดยเฉลี่ยมีค่าสูงขึ้น 0.74 ± 0.18 องศาเซลเซียส [1] ซึ่งคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Intergo vernmentalPanel on Climate Change:IPCC) ของสหประชาชาติได้สรุปไว้ว่า “จากการสังเกตการณ์การเพิ่มอุณหภูมิโดยเฉลี่ยของโลกที่เกิดขึ้นตั้งแต่กลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 (ประมาณตั้งแต่ พ.ศ. 2490) ค่อนข้างแน่ชัดว่าเกิดจากการเพิ่มความเข้มของแก๊สเรือนกระจกที่เกิดขึ้นโดยกิจกรรมของมนุษย์ที่เป็นผลใ นรูปของปรากฏการณ์เรือนกระจก” [1] ปรากฏการณ์ธรรมชาติบางอย่าง เช่น ความผันแปรของการแผ่รังสีจากดวงอาทิตย์และการระเบิดของภูเขาไฟ อาจส่งผลเพียงเล็กน้อยต่อการเพิ่ม อุณหภูมิในช่วงก่อนยุคอุตสาหกรรมจนถึง พ.ศ. 2490และมีผลเพียงเล็กน้อยต่อการลดอุณหภูมิหลังจากปี 2490 เป็นต้นมา[2][3] ข้อสรุปพื้นฐานดังกล่าวนี้ได้รับการรับรองโดยสมาคมและสถาบันการศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ไม่น้อยกว่า 30 แห่ง รวมทั้งราชสมาคมทางวิทยาศาสตร์ระดับชาติที่สาคัญของประเทศอุตสาหกรรมต่าง ๆ แม้นักวิทยาศาสตร์บางคนจะมีความเห็นโต้แย้งกับข้อสรุปของ IPCC อยู่บ้าง [4] แต่เสียงส่วนใหญ่ของนักวิทยาศาสตร์ที่ทางานด้านการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศของโลกโดยต รงเห็นด้วยกับข้อสรุปนี้ [5][6] แบบจาลองการคาดคะเนภูมิอากาศที่สรุปโดย IPCC บ่งชี้ว่าอุณหภูมิโลกโดยเฉลี่ยที่ผิวโลกจะเพิ่มขึ้น 1.1 ถึง 6.4 องศาเซลเซียส ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 21 (พ.ศ. 2544–2643) [1] ค่าตัวเลขดังกล่าวได้มาจากการจาลองสถานการณ์แบบต่าง ๆ
  • 7. ของการแผ่ขยายแก๊สเรือนกระจกในอนาคต รวมถึงการจาลองค่าความไวภูมิอากาศอีกหลากหลายรูปแบบ แม้การศึกษาเกือบทั้งหมดจะมุ่งไปที่ช่วงเวลาถึงเพียงปี พ.ศ. 2643 แต่ความร้อนจะยังคงเพิ่มขึ้นและระดับน้าทะเลก็จะสูงขึ้นต่อเนื่องไปอีกหลายสหัสวรรษ แม้ว่าระดับของแก๊ สเรือนกระจกจะเข้าสู่ภาวะเสถียรแล้วก็ตาม การที่อุณหภูมิและระดับน้าทะเลเข้าสู่สภาวะดุลยภาพได้ช้าเป็นเหตุมาจากความจุความร้อนของน้าในมหา สมุทรซึ่งมีค่าสูงมาก [1] การที่อุณหภูมิของโลกเพิ่มสูงขึ้นทาให้ระดับน้าทะเลสูงขึ้น และคาดว่าทาให้เกิดภาวะลมฟ้ าอากาศสุดโต่ง (extreme weather) ที่รุนแรงมากขึ้น ปริมาณและรูปแบบการเกิดหยาดน้าฟ้ าจะเปลี่ยนแปลงไป ผลกระทบอื่น ๆ ของปรากฏการณ์โลกร้อนได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของผลิตผลทางเกษตร การเคลื่อนถอยของธารน้าแข็ง การสูญพันธุ์พืช-สัตว์ต่าง ๆ รวมทั้งการกลายพันธุ์และแพร่ขยายโรคต่าง ๆ เพิ่มมากขึ้น แต่ยังคงมีความไม่แน่นอนทางวิทยาศาสตร์อยู่บ้าง ได้แก่ปริมาณของความร้อนที่คาดว่าจะเพิ่มในอนาคต ผลของความร้อนที่เพิ่มขึ้นและผลกระทบอื่น ๆ ที่จะเกิดกับแต่ละภูมิภาคบนโลกว่าจะแตกต่างกันอย่างไร รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ แทบทุกประเทศได้ลงนามและให้สัตยาบันในพิธีสารเกียวโต ซึ่งมุ่งประเด็นไปที่การลดการปล่อยแก๊สเรือนก ระจก แต่ยังคงมีการโต้เถียงกันทางการเมืองและการโต้วาทีสาธารณะไปทั่วทั้งโลกเกี่ยวกับมาตรการว่าควรเป็นอ ย่างไร จึงจะลดหรือย้อนกลับความร้อนที่เพิ่มขึ้นของโลกในอนาคต หรือจะปรับตัวกันอย่างไรต่อผลกระทบของปรากฏการณ์โลกร้อนที่คาดว่าจะต้องเกิดขึ้น ภาวะโลกร้อน (Global Warming) ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ค่ะ (Greenhouse gases) ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสาคัญกับโลก เพราะก๊าซจาพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรองพลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทาให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ค่ะ แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจาก โรงงานอุตสาหกรรม
  • 8. รถยนต์ หรือการกระทาใดๆที่เผา เชื้อเพลิงฟอสซิล (เช่น ถ่านหิน น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ หรือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ) ส่งผลให้ระดับปริมาณ CO2 ในปัจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 ส่วน ใน ล้านส่วน) เป็นครั้งแรกในรอบกว่า 6 แสนปี ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มานี้ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3 ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยังมีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อ จากคาถามที่ว่า "โลกกาลังร้อนขึ้นจริงหรือ" เป็น "ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร" ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทาการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง ในอนาคตคาดว่าผลกระทบของภาวะโลกร้อนจะรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ เราสามารถช่วยกันลดภาวะโลกร้อนได้หลายวิธี หลักๆก็เห็นจะเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและประหยัด เพราะว่าพลังงานที่พวกเราใช้กันอยู่ทุกวันนี้กว่าจะมาถึงให้เราได้ใช้นั้น ต้องผ่านกระบวนการขั้นตอนในการผลิตมากมาย และแต่ละขั้นตอนก็จะทาให้เกิดก๊าซเรือนกระจกขึ้นมา เพราะฉะนั้นการลดใช้พลังงานก็เป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ เช่น การปิดไฟเมื่อไม่ได้ใช้ การใช้น้าอย่างประหยัด การใช้จักรยานแทนรถยนต์ในการเดินทางใกล้ๆ และอื่นๆอีกมากมาย การปลูกต้นไม้ก็เป็นวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ อย่างที่เรารู้กันดีว่าในเวลากลางวัน ต้นไม้นั้นจะช่วยหายใจเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไป และหายใจออกมาเป็นก๊าซออกซิเจน เปรียบเสมือนเครื่องฟอกอากาศให้กับโลกของเราโดยแท้ แต่ทว่าปัจจุบันป่าไม้ถูกทาลายและมีจานวนลดลงไปอย่างมาก ฉะนั้นถ้าเราทุกคนช่วยกันปลูกต้นไม้ ก็เหมือนกับช่วยเพิ่มเครื่องฟอกอากาศให้กับโลกของเรา
  • 9. สาเหตุการเกิดมลภาวะโลกร้อน ภาวะโลกร้อน (Global Warming) เกิดจาก การเพิ่มขึ้นของก๊าซที่ปกคลุมชั้นบรรยากาศของโลก ทาให้อุณภูมิภายในโลกสูงขึ้น เป็นเหตุให้ฤดูกาลทั่วโลกเปลี่ยนไป และก๊าซที่เพิ่มขึ้นส่วนใหญ่เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิงฟอสซิล ภาวะโลกร้อน หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกในปัจจุบัน สังเกตุได้จากอุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้น มีสาเหตุหลักของมาจากก๊าซเรือนกระจก ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสาคัญกับโลก เพราะก๊าซจาพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือมีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศกรองพลังงานจากดวงอาทิตย์ ลักษณะเช่นนี้คล้ายกับหลักการของเรือนกระจก จึงมักเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) การเพิ่มขึ้นของ ก๊าซเรือนกระจก ส่งผลให้ชั้นบรรยากาศมีความสามารถในการกักเก็บรังสีความร้อนได้มากขึ้น ก๊าซเรือนกระจก (Greenhouse Gas) เป็นก๊าซที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน หรือรังสีอินฟาเรดได้ดี ก๊าซเหล่านี้มีความจาเป็นต่อการรักษาอุณหภูมิในบรรยากาศของโลกให้คงที่ ซึ่งหากบรรยากาศโลกไม่มีก๊าซเรือนกระจกในชั้นบรรยากาศ ดังเช่นดาวเคราะห์ดวงอื่นๆ ในระบบสุริยะแล้ว จะทาให้อุณหภูมิในตอนกลางวันนั้นร้อนจัด และในตอนกลางคืนนั้นหนาวจัด เนื่องจากก๊าซเหล่านี้ดูดคลื่นรังสีความร้อนไว้ในเวลากลางวัน แล้วค่อยๆ แผ่รังสีความร้อนออกมาในเวลากลางคืน ทาให้อุณหภูมิในบรรยากาศโลกไม่เปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน มีก๊าซจานวนมากที่มีคุณสมบัติในการดูดซับคลื่นรังสีความร้อน และถูกจัดอยู่ในกลุ่มก๊าซเรือนกระจก ซึ่งมีทั้งก๊าซที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ก๊าซเรือนกระจกที่สาคัญคือ ไอน้า ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โอโซน มีเทนและไนตรัสออกไซด์ สารซีเอฟซี เป็นต้น แต่ ก๊าซเรือนกระจกที่ถูกควบคุมโดยพิธีสารเกียวโต มีเพียง 6 ชนิด
  • 10. โดยจะต้องเป็นก๊าซที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ (anthropogenic greenhouse gasemission) เท่านั้น ได้แก่ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ก๊าซมีเทน (CH4) ก๊าซไนตรัสออกไซด์ (N20) ก๊าซไฮโดรฟลูออโรคาร์บอน (HFC) ก๊าซเพอร์ฟลูออโรคาร์บอน (PFC) และก๊าซซัลเฟอร์เฮกซะฟลูออไรด์ (SF6) ทั้งนี้ยังมีก๊าซเรือนกระจกที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ที่สาคัญอีกชนิดหนึ่ง คือ สารซีเอฟซี (CFC หรือ Chlorofluorocarbon) ซึ่งใช้เป็นสารทาความเย็นและใช้ในการผลิตโฟม แต่ไม่ถูกกาหนดในพิธีสารเกียวโตเนื่องจากเป็นสารที่ถูกจากัดการใช้ในพิธีสารมอนทรีออลแล้ว แหล่งกาเนิดของก๊าซเรือนกระจก  การย่อยสลายของซากพืชซากสัตว์  จากโรงงานอุตสาหกรรม  เครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน เช่น ใช้เป็นสารหล่อเย็นในตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ  ของใช้ประจาวัน เช่น ใช้เป็นสารขับดันในเครื่องกระป๋องที่เป็นสเปรย์  จากกทานาข้าวหรือพืชที่ขังน้าและปศุสัตว์  การเผาไหม้ของซากพืชหรือสัตว์  การใช้งานโดยมีการเผาไหม้ของถ่านหิน/น้ามัน/ก๊าซธรรมชาติ  การเผาไหม้ในหลายรูปแบบ เช่น การใช้น้ามันเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม ในรถยนต์  การเผาป่า เพื่อใช้พื้นที่อยู่อาศัย หรือทาการเกษตร หรือเผาหญ้าเผาฟางหลังการเก็บเกี่ยว  การทาปศุสัตว์ การเลี้ยงสัตว์ การทาฟาร์ม