SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
Global Warming
 เมื่อประชากรบนโลกเพิ่มขึ้น การบุกรุกทาลายพื้นที่ทางธรรมชาติเกิดขึ้น
อย่างกว้างขวาง การพัฒนาด้านต่าง ๆ ก็เป็นไปอย่างรวดเร็ว การใช้
พลังงานเชื้อเพลิงมากขึ้นหลายเท่า โดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรม และการ
คมนาคมขนส่ง กิจกรรมต่าง ๆ ที่มนุษย์กระทาเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการ
เพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกจนเป็นการเกิดภาวะโลกร้อน
 การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ามันและก๊าซธรรมชาติจากโรงงาน
อุตสาหกรรมต่างๆ ทาให้เพิ่ม ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ก๊าซไน
ตรัสออกไซด์จากการเผาขยะ
 การถางป่าเพื่อการเพาะปลูกเป็นตัวการสาคัญที่สุด ในการปลดปล่อยก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ เนื่องจากต้นไม้และป่าไม้ทาหน้าที่
เปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นก๊าซออกซิเจน ในกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) ก่อนที่ก๊าซจะขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ
ดังนั้นเมื่อพื้นที่ป่า ลดน้อยลง ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จึงขึ้นไป
สะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศได้มากขึ้น
 การทาการเกษตรและการปศุสัตว์จะเพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจก เช่น
ก๊าซมีเทนจากการทานาข้าว จากการย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิต จากมูลสัตว์
เลี้ยง
 กระบวนการแปรรูปอุตสาหกรรม เช่น เครื่องทาความเย็นในตู้เย็น
เครื่องปรับอากาศ โฟม กระป๋องสเปรย์ สารดับเพลิง ปล่อย ก๊าซที่มี
สารประกอบคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon- CFCs) และ
อุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกในขบวนการผลิต
 การใช้ยานพาหนะ รถจักรยานยนต์ รถยนต์ จะปล่อยควันจากท่อไอเสีย
ปล่อยก๊าซโอโซน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
 ลดการใช้พลังงานในบ้าน ด้วยการปิดโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง
และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน จะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้
ประมาณ 455 กิโลกรัมต่อปี
 ลดการสูญเสียพลังงานในโหมดสแตนด์บาย เครื่องเสียงระบบไฮไฟ
โทรทัศน์ เครื่องบันทึกวิดีโอ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และอุปกรณ์พ่วงต่างๆ ที่
ติดมา ด้วยการดึงปลั๊กออก หรือใช้ปลั๊กเสียบพ่วงอุปกรณ์ตัดไฟอัตโนมัติ
 เปลี่ยนหลอดไฟจากหลอดไส้ เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 ดวง จะช่วยลด
คาร์บอนไดออกไซด์ได้ประมาณ 68 กิโลกรัมต่อปี แถมยังช่วยประหยัด
การใช้พลังงานอีกด้วย เงินในกระเป๋าคุณเหลือเยอะขึ้นเลยล่ะ
 ประหยัดพลังงานให้ตู้เย็น ด้วยการใช้อย่างฉลาด ไม่นาอาหารร้อนเข้าตู้เย็น
ทันที ควรรอให้เย็นก่อน หลีกเลี่ยงการนาถุงพลาสติกใส่ของในตู้เย็น เพราะ
จะทาให้ตู้เย็นจ่ายความเย็นได้ไม่ทั่วถึงอาหาร ควรย้ายตู้เย็นออกจากห้องที่
ใช้เครื่องปรับอากาศ และอย่าลืมละลายน้าแข็งที่เกาะในตู้เย็นเป็นประจา
เพราะตู้เย็นจะกินไฟมากขึ้นเมื่อมีน้าแข็งเกาะ ควรทาความสะอาดตู้เย็นทุก
สัปดาห์
 ควรตากเสื้อผ้าที่ซักแล้วให้แห้ง ด้วยแสงแดดธรรมชาติ ช่วยทาลายเชื้อโรค
และช่วยประหยัดไฟฟ้าอีกด้วย ไม่ควรใช้เครื่องปั่นผ้าแห้งหากไม่จาเป็น
 รถยนต์ส่วนตัวจอดไว้ที่บ้านบ้างก็ได้ แล้วออกมาขี่จักรยาน ใช้รถโดยสาร
ประจาทาง หรือเดินเมื่อต้อง ไปทากิจกรรม หรือธุระใกล้ๆ บ้าน เพราะการ
ขับรถยนต์น้อยลง หมายถึงการใช้น้ามันลดลง และลดการปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์ด้วย เพราะน้ามันทุกๆ 3.785 ลิตร (1 แกลลอน) ที่
ประหยัดได้ จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ ประมาณ 9 กิโลกรัมเลยนะ
 เปลี่ยนมาใช้พลังงานชีวภาพ เช่น ไบโอดีเซล เอทานอล ให้มากขึ้นเพื่อลด
การใช้พลังงานประเภทน้ามัน แถมราคาถูกกว่าด้วย
 เลือกซื้อรถยนต์ที่มีขนาดเหมาะสมกับขนาดครอบครัว และประโยชน์ใน
การใช้งาน รวมทั้งเลือกรุ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด เพื่อโลก และ
ตัวคุณเอง
 บ้านใกล้กันไปด้วยกันสิ ร่วมกันประหยัดน้ามันแบบ Car Pool ช่วย
ประหยัดน้ามันและยังเป็นการลดจานวนรถติดบนถนนช่วยลดการปล่อย
คาร์บอนไดออกไซด์ทางอ้อม แถมที่สาคัญ ยังได้เพื่อนใหม่ด้วยนะเออ (แต่
อย่าเล่นโทรศัพท์ขณะขับรถนะครับ โดนจับปรับไม่รู้นะ)
 เผื่อเวลาก่อนออกจากบ้าน ขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อ
ชั่วโมงในระยะทางไกล จะช่วยลดการใช้ น้ามันลงได้ 20% หรือคิดเป็น
ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดได้ 1 ตัน ต่อรถยนต์แต่ละคัน ที่ใช้งานราว
3 หมื่นกิโลเมตรต่อปี
เป็นที่ทราบกันในกลางทศวรรษที่ 18 ว่าก๊าซบางชนิดในชั้นบรรยากาศของโลก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์
นั้น กักเก็บความร้อนและรักษาความอบอุ่นของโลกเอาไว้ ในต้นศตวรรษที่ 20 นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนชื่อ Svante
Arrhenius ผลักดันแนวคิดที่ว่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์จากฝีมือมนุษย์จะทาให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นในที่สุด เขา
ไม่เห็นว่านั่นเป็นเรื่องเลวร้าย และนักวิทยาศาสตร์ส่วนมากลังเลว่ามนุษย์สามารถเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้เร็ว
พอที่จะสร้างผลกระทบที่สังเกตเห็นได้จริงๆ หรือ
ถึงแม้ความคิดที่ว่ามนุษยชาติอาจทาให้อุณหภูมิทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้นได้ถูกนาเสนอเมื่อมากกว่า 1 ทศวรรษมาแล้ว แต่ไม่
นานมานี้เองที่นักวิทยาศาสตร์สามารถยืนยันสิ่งนี้ได้อย่างมั่นใจ ข้อมูลดิบถูกรวบรวมจากทั่วโลก เทคโนโลยีได้รับการ
พัฒนาเพื่อช่วยให้เราวิเคราะห์ข้อมูลดิบเหล่านั้นได้ และต้องใช้ความก้าวหน้าขั้นพื้นฐานของวิชาฟิสิกส์และสาขาวิชา
อื่นๆ ก่อนที่เราจะเข้าใจเรื่องนี้ได้ สิ่งที่เรารู้ตอนนี้เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศต้องยกความดีให้นักวิจัยที่ทุ่มเทมาหลายต่อ
หลายรุ่น
นอกจากนี้ ในปัจจุบันเรายังสามารถเฝ้าสังเกตภาวะโลกร้อนที่มีสาเหตุจากมนุษย์ได้ง่ายขึ้น เนื่องจากเราได้ปล่อย
คาร์บอนไดออกไซต์ปริมาณสูงขึ้นมากเข้าสู่ระบบภูมิอากาศในทศวรรษที่ผ่านมา จนทาให้ปัจจุบันสามารถมองเห็น
ผลกระทบของภาวะโลกร้อนได้อย่างชัดเจน โดยส่งผลกระทบต่อประชาชนและระบบนิเวศทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์
โรงงาน และ โรงไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นล้วนเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรวดเร็วกว่าที่จะเป็นไปได้ในอดีต และกาลังทาให้เกิด
ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดมากขึ้น
การวัดอุณหภูมิของโลก
เพื่อให้เห็นภาพว่าโลกร้อนมากเพียงใด จะต้องมีมาตราวัดจากทั่วโลก เพราะโลกทั้งใบไม่ได้ร้อนขึ้นในอัตราเดียวกัน
อันที่จริงแล้ว บางส่วนของโลกอาจเย็นลงด้วยซ้าในขณะที่โลกโดยรวมกาลังร้อนขึ้น นอกจากนี้ ยังจาเป็นต้องอ่านค่า
อุณหภูมิจากทั่วโลกในชั่วระยะเวลาหนึ่งเพื่อให้เห็นภาพในระยะยาวที่ถูกต้อง นักวิจัยต้องเดินทางไปยังสุดมุมโลก จึง
ค้นพบวิธีที่จะ "ย้อนเวลากลับไป" เพื่อทาให้ความเป็นมาของอุณหภูมิทั่วโลกปรากฏชัดขึ้นมา แหล่งที่มาของข้อมูล
อุณหภูมิในอดีตบางแหล่ง ได้แก่
 • บันทึกทางประวัติศาสตร์ เช่น บันทึกเหตุการณ์ของเรือ บันทึกประจาวันของชาวไร่ชาวนา และ บทความหนังสือพิมพ์ เมื่อ
ประเมินอย่างรอบคอบแล้ว สิ่งเหล่านี้สามารถให้ข้อมูลที่มีคุณค่าทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
 • บันทึกส่วนตัวและความเป็นมาจากการบอกเล่า เป็นข้อมูลอันมีประโยชน์ทั้งจากคนรุ่นเก่าและชนพื้นเมือง ผู้ซึ่งต้องพึ่งพา
ธรรมชาติในการอยู่รอดเสมอ ดังนั้นจึงเป็นผู้เฝ้าสังเกตความเปลี่ยนแปลงของทศวรรษที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี
 • การวัดค่าโดยตรง (เช่น ใช้เทอร์โมมิเตอร์) วิธีนี้เกิดขึ้นเมื่อเพียง 300 ปีที่แล้ว และใช้กันน้อยจนเมื่อ 150 ปีที่แล้ว นอกจากนี้
ชนิดของเทอร์โมมิเตอร์ที่แตกต่างกันและความผันแปรอื่นๆ ต้องถูกนามาพิจารณา
 • ข้อมูลที่รวบรวมโดยบอลลูนและดาวเทียม มีประโยชน์มาก แต่เพิ่งมีขึ้นในพ.ศ. 2522
 • ความหนาของวงปีต้นไม้ ความกว้างและความหนาแน่นแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพการเจริญเติบโต
 • ตะกอนนอนก้นทะเลและทะเลสาบ ตะกอนหลายพันล้านตันทับถมเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี ซากฟอสซิลขนาดเล็กและสารเคมีที่ถูกกัก
เก็บไว้เป็นชั้นๆ ในรูปของตะกอนสามารถใช้ในการทานายสภาพภูมิอากาศในอดีตได้
 • โครงปะการัง อุณหภูมิของน้าที่ปะการังเจริญเติบโตสามารถวัดได้จากชิ้นส่วนโลหะ ออกซิเจน และ ไอโซโทปของออกซิเจน
ในโครงปะการัง
 • ละอองฟอสซิล ต้นไม้แต่ละต้นมีละอองเกสรรูปร่างที่ต่างกัน เมื่อรู้ว่าต้นไม้ชนิดใดในซากฟอสซิลเจริญเติบโตในช่วงเวลา
หนึ่งจะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์สรุปได้ว่าสภาพภูมิอากาศในช่วงเวลานั้นเป็นอย่างไร
 • แกนน้าแข็ง เมื่อผ่านไปหลายทศวรรษหิมะที่ตกบนภูเขาสูงและและน้าแข็งที่ปกคลุมขั้วโลกนั้นอัดรวมกันและกลายเป็น
น้าแข็งอัดแน่น ฝุ่นและฟองอากาศที่ถูกกักเก็บในน้าแข็งนี้ให้ข้อมูลทางสภาพภูมิอากาศที่มีค่า ตัวอย่างเช่น อากาศที่ถูกกัก
เก็บไว้ในก้อนน้าแข็งนี้ทาหน้าที่เป็นบันทึกของความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซต์ในระยะหนึ่งพันปี
 • การสังเกตการละลายของน้าแข็ง อัตราของการลดลงของธารน้าแข็ง อากาศที่อุ่นขึ้นจนทาให้ดินเยือกแข็งละลาย น้าแข็งที่
ปกคลุมขั้วโลกที่หดหาย และ น้าแข็งในทะเลอาร์กติกที่ลดน้อยลง เป็นตัวบ่งชี้ของภาวะโลกร้อนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
สิ่งสาคัญ คือ ไม่ควรพิจารณาแหล่งข้อมูลดิบอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น แต่พิจารณาร่วมกัน ซึ่งจะทาให้เกิดภาพทาง
วิทยาศาสตร์ของโลกที่กาลังร้อนขึ้นที่น่าเชื่อถือ ซึ่งภาพนี้ตรงกับข้อมูลก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้น
https://youtu.be/Ik_BjHcEXnA
https://youtu.be/FYmrdXFcaZg
 https://tech.mthai.com/tips-technic/40583.html
 https://www.youtube.com/watch?time_continue=3&v
=Ik_BjHcEXnA
 https://www.greenpeace.org/archive-
thailand/campaigns/climate-and-energy/climate-
change-science/climate-research/

More Related Content

Similar to Global warming 31 37

ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนtaveena
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนVilaiwun Bunya
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนonjiranaja
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกdnavaroj
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2thanaluhk
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนjzuzu2536
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลพัน พัน
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม Aungkana Na Na
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรNipitapon Khantharot
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)Aungkana Na Na
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..Kyjung Seekwang
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อนsudsanguan
 

Similar to Global warming 31 37 (17)

ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
----------(2)
 ----------(2) ----------(2)
----------(2)
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลกการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของโลก
 
งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2งานนำเสนอ บทที่2
งานนำเสนอ บทที่2
 
การลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อนการลดภาวะโลกร้อน
การลดภาวะโลกร้อน
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
โครงงานวิทย์ งานคอม
โครงงานวิทย์  งานคอม โครงงานวิทย์  งานคอม
โครงงานวิทย์ งานคอม
 
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไรภาวะโลกร้อนคืออะไร
ภาวะโลกร้อนคืออะไร
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)โครงงานวิทย์ (งานคอม)
โครงงานวิทย์ (งานคอม)
 
มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..มลพิษทางอ..
มลพิษทางอ..
 
02 global warming
02 global warming02 global warming
02 global warming
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
Global warming
Global warmingGlobal warming
Global warming
 
โลกร้อน
โลกร้อนโลกร้อน
โลกร้อน
 

Global warming 31 37

  • 2.
  • 3.  เมื่อประชากรบนโลกเพิ่มขึ้น การบุกรุกทาลายพื้นที่ทางธรรมชาติเกิดขึ้น อย่างกว้างขวาง การพัฒนาด้านต่าง ๆ ก็เป็นไปอย่างรวดเร็ว การใช้ พลังงานเชื้อเพลิงมากขึ้นหลายเท่า โดยเฉพาะด้านอุตสาหกรรม และการ คมนาคมขนส่ง กิจกรรมต่าง ๆ ที่มนุษย์กระทาเหล่านี้ เป็นสาเหตุของการ เพิ่มปริมาณก๊าซเรือนกระจกจนเป็นการเกิดภาวะโลกร้อน
  • 4.
  • 5.  การเผาไหม้เชื้อเพลิงจากถ่านหิน น้ามันและก๊าซธรรมชาติจากโรงงาน อุตสาหกรรมต่างๆ ทาให้เพิ่ม ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ก๊าซมีเทน ก๊าซไน ตรัสออกไซด์จากการเผาขยะ
  • 6.
  • 7.  การถางป่าเพื่อการเพาะปลูกเป็นตัวการสาคัญที่สุด ในการปลดปล่อยก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ เนื่องจากต้นไม้และป่าไม้ทาหน้าที่ เปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ให้เป็นก๊าซออกซิเจน ในกระบวนการ สังเคราะห์ด้วยแสง (Photosynthesis) ก่อนที่ก๊าซจะขึ้นสู่ชั้นบรรยากาศ ดังนั้นเมื่อพื้นที่ป่า ลดน้อยลง ปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จึงขึ้นไป สะสมอยู่ในชั้นบรรยากาศได้มากขึ้น
  • 8.
  • 10.
  • 11.  กระบวนการแปรรูปอุตสาหกรรม เช่น เครื่องทาความเย็นในตู้เย็น เครื่องปรับอากาศ โฟม กระป๋องสเปรย์ สารดับเพลิง ปล่อย ก๊าซที่มี สารประกอบคลอโรฟลูโอโรคาร์บอน (Chlorofluorocarbon- CFCs) และ อุตสาหกรรมที่ใช้กรดไนตริกในขบวนการผลิต
  • 12.
  • 13.  การใช้ยานพาหนะ รถจักรยานยนต์ รถยนต์ จะปล่อยควันจากท่อไอเสีย ปล่อยก๊าซโอโซน ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา
  • 14.
  • 15.
  • 16.  ลดการใช้พลังงานในบ้าน ด้วยการปิดโทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ เครื่องเสียง และเครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆ เมื่อไม่ได้ใช้งาน จะช่วยลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ ประมาณ 455 กิโลกรัมต่อปี
  • 17.
  • 18.  ลดการสูญเสียพลังงานในโหมดสแตนด์บาย เครื่องเสียงระบบไฮไฟ โทรทัศน์ เครื่องบันทึกวิดีโอ คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ และอุปกรณ์พ่วงต่างๆ ที่ ติดมา ด้วยการดึงปลั๊กออก หรือใช้ปลั๊กเสียบพ่วงอุปกรณ์ตัดไฟอัตโนมัติ
  • 19.
  • 20.  เปลี่ยนหลอดไฟจากหลอดไส้ เป็นหลอดฟลูออเรสเซนต์ 1 ดวง จะช่วยลด คาร์บอนไดออกไซด์ได้ประมาณ 68 กิโลกรัมต่อปี แถมยังช่วยประหยัด การใช้พลังงานอีกด้วย เงินในกระเป๋าคุณเหลือเยอะขึ้นเลยล่ะ
  • 21.
  • 22.  ประหยัดพลังงานให้ตู้เย็น ด้วยการใช้อย่างฉลาด ไม่นาอาหารร้อนเข้าตู้เย็น ทันที ควรรอให้เย็นก่อน หลีกเลี่ยงการนาถุงพลาสติกใส่ของในตู้เย็น เพราะ จะทาให้ตู้เย็นจ่ายความเย็นได้ไม่ทั่วถึงอาหาร ควรย้ายตู้เย็นออกจากห้องที่ ใช้เครื่องปรับอากาศ และอย่าลืมละลายน้าแข็งที่เกาะในตู้เย็นเป็นประจา เพราะตู้เย็นจะกินไฟมากขึ้นเมื่อมีน้าแข็งเกาะ ควรทาความสะอาดตู้เย็นทุก สัปดาห์
  • 23.
  • 24.  ควรตากเสื้อผ้าที่ซักแล้วให้แห้ง ด้วยแสงแดดธรรมชาติ ช่วยทาลายเชื้อโรค และช่วยประหยัดไฟฟ้าอีกด้วย ไม่ควรใช้เครื่องปั่นผ้าแห้งหากไม่จาเป็น
  • 25.  รถยนต์ส่วนตัวจอดไว้ที่บ้านบ้างก็ได้ แล้วออกมาขี่จักรยาน ใช้รถโดยสาร ประจาทาง หรือเดินเมื่อต้อง ไปทากิจกรรม หรือธุระใกล้ๆ บ้าน เพราะการ ขับรถยนต์น้อยลง หมายถึงการใช้น้ามันลดลง และลดการปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ด้วย เพราะน้ามันทุกๆ 3.785 ลิตร (1 แกลลอน) ที่ ประหยัดได้ จะลดคาร์บอนไดออกไซด์ได้ ประมาณ 9 กิโลกรัมเลยนะ
  • 26.
  • 27.  เปลี่ยนมาใช้พลังงานชีวภาพ เช่น ไบโอดีเซล เอทานอล ให้มากขึ้นเพื่อลด การใช้พลังงานประเภทน้ามัน แถมราคาถูกกว่าด้วย
  • 28.  เลือกซื้อรถยนต์ที่มีขนาดเหมาะสมกับขนาดครอบครัว และประโยชน์ใน การใช้งาน รวมทั้งเลือกรุ่นที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากที่สุด เพื่อโลก และ ตัวคุณเอง
  • 29.  บ้านใกล้กันไปด้วยกันสิ ร่วมกันประหยัดน้ามันแบบ Car Pool ช่วย ประหยัดน้ามันและยังเป็นการลดจานวนรถติดบนถนนช่วยลดการปล่อย คาร์บอนไดออกไซด์ทางอ้อม แถมที่สาคัญ ยังได้เพื่อนใหม่ด้วยนะเออ (แต่ อย่าเล่นโทรศัพท์ขณะขับรถนะครับ โดนจับปรับไม่รู้นะ)
  • 30.
  • 31.  เผื่อเวลาก่อนออกจากบ้าน ขับรถด้วยความเร็วไม่เกิน 90 กิโลเมตรต่อ ชั่วโมงในระยะทางไกล จะช่วยลดการใช้ น้ามันลงได้ 20% หรือคิดเป็น ปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ลดได้ 1 ตัน ต่อรถยนต์แต่ละคัน ที่ใช้งานราว 3 หมื่นกิโลเมตรต่อปี
  • 32.
  • 33. เป็นที่ทราบกันในกลางทศวรรษที่ 18 ว่าก๊าซบางชนิดในชั้นบรรยากาศของโลก เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ นั้น กักเก็บความร้อนและรักษาความอบอุ่นของโลกเอาไว้ ในต้นศตวรรษที่ 20 นักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดนชื่อ Svante Arrhenius ผลักดันแนวคิดที่ว่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซต์จากฝีมือมนุษย์จะทาให้อุณหภูมิเพิ่มขึ้นในที่สุด เขา ไม่เห็นว่านั่นเป็นเรื่องเลวร้าย และนักวิทยาศาสตร์ส่วนมากลังเลว่ามนุษย์สามารถเผาไหม้เชื้อเพลิงฟอสซิลได้เร็ว พอที่จะสร้างผลกระทบที่สังเกตเห็นได้จริงๆ หรือ ถึงแม้ความคิดที่ว่ามนุษยชาติอาจทาให้อุณหภูมิทั่วโลกเพิ่มสูงขึ้นได้ถูกนาเสนอเมื่อมากกว่า 1 ทศวรรษมาแล้ว แต่ไม่ นานมานี้เองที่นักวิทยาศาสตร์สามารถยืนยันสิ่งนี้ได้อย่างมั่นใจ ข้อมูลดิบถูกรวบรวมจากทั่วโลก เทคโนโลยีได้รับการ พัฒนาเพื่อช่วยให้เราวิเคราะห์ข้อมูลดิบเหล่านั้นได้ และต้องใช้ความก้าวหน้าขั้นพื้นฐานของวิชาฟิสิกส์และสาขาวิชา อื่นๆ ก่อนที่เราจะเข้าใจเรื่องนี้ได้ สิ่งที่เรารู้ตอนนี้เกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศต้องยกความดีให้นักวิจัยที่ทุ่มเทมาหลายต่อ หลายรุ่น นอกจากนี้ ในปัจจุบันเรายังสามารถเฝ้าสังเกตภาวะโลกร้อนที่มีสาเหตุจากมนุษย์ได้ง่ายขึ้น เนื่องจากเราได้ปล่อย คาร์บอนไดออกไซต์ปริมาณสูงขึ้นมากเข้าสู่ระบบภูมิอากาศในทศวรรษที่ผ่านมา จนทาให้ปัจจุบันสามารถมองเห็น ผลกระทบของภาวะโลกร้อนได้อย่างชัดเจน โดยส่งผลกระทบต่อประชาชนและระบบนิเวศทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็นรถยนต์ โรงงาน และ โรงไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นล้วนเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศรวดเร็วกว่าที่จะเป็นไปได้ในอดีต และกาลังทาให้เกิด ความเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดมากขึ้น การวัดอุณหภูมิของโลก เพื่อให้เห็นภาพว่าโลกร้อนมากเพียงใด จะต้องมีมาตราวัดจากทั่วโลก เพราะโลกทั้งใบไม่ได้ร้อนขึ้นในอัตราเดียวกัน อันที่จริงแล้ว บางส่วนของโลกอาจเย็นลงด้วยซ้าในขณะที่โลกโดยรวมกาลังร้อนขึ้น นอกจากนี้ ยังจาเป็นต้องอ่านค่า อุณหภูมิจากทั่วโลกในชั่วระยะเวลาหนึ่งเพื่อให้เห็นภาพในระยะยาวที่ถูกต้อง นักวิจัยต้องเดินทางไปยังสุดมุมโลก จึง ค้นพบวิธีที่จะ "ย้อนเวลากลับไป" เพื่อทาให้ความเป็นมาของอุณหภูมิทั่วโลกปรากฏชัดขึ้นมา แหล่งที่มาของข้อมูล อุณหภูมิในอดีตบางแหล่ง ได้แก่
  • 34.  • บันทึกทางประวัติศาสตร์ เช่น บันทึกเหตุการณ์ของเรือ บันทึกประจาวันของชาวไร่ชาวนา และ บทความหนังสือพิมพ์ เมื่อ ประเมินอย่างรอบคอบแล้ว สิ่งเหล่านี้สามารถให้ข้อมูลที่มีคุณค่าทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ  • บันทึกส่วนตัวและความเป็นมาจากการบอกเล่า เป็นข้อมูลอันมีประโยชน์ทั้งจากคนรุ่นเก่าและชนพื้นเมือง ผู้ซึ่งต้องพึ่งพา ธรรมชาติในการอยู่รอดเสมอ ดังนั้นจึงเป็นผู้เฝ้าสังเกตความเปลี่ยนแปลงของทศวรรษที่ผ่านมาได้เป็นอย่างดี  • การวัดค่าโดยตรง (เช่น ใช้เทอร์โมมิเตอร์) วิธีนี้เกิดขึ้นเมื่อเพียง 300 ปีที่แล้ว และใช้กันน้อยจนเมื่อ 150 ปีที่แล้ว นอกจากนี้ ชนิดของเทอร์โมมิเตอร์ที่แตกต่างกันและความผันแปรอื่นๆ ต้องถูกนามาพิจารณา  • ข้อมูลที่รวบรวมโดยบอลลูนและดาวเทียม มีประโยชน์มาก แต่เพิ่งมีขึ้นในพ.ศ. 2522  • ความหนาของวงปีต้นไม้ ความกว้างและความหนาแน่นแตกต่างกันขึ้นอยู่กับสภาพการเจริญเติบโต  • ตะกอนนอนก้นทะเลและทะเลสาบ ตะกอนหลายพันล้านตันทับถมเพิ่มขึ้นทุกๆ ปี ซากฟอสซิลขนาดเล็กและสารเคมีที่ถูกกัก เก็บไว้เป็นชั้นๆ ในรูปของตะกอนสามารถใช้ในการทานายสภาพภูมิอากาศในอดีตได้  • โครงปะการัง อุณหภูมิของน้าที่ปะการังเจริญเติบโตสามารถวัดได้จากชิ้นส่วนโลหะ ออกซิเจน และ ไอโซโทปของออกซิเจน ในโครงปะการัง  • ละอองฟอสซิล ต้นไม้แต่ละต้นมีละอองเกสรรูปร่างที่ต่างกัน เมื่อรู้ว่าต้นไม้ชนิดใดในซากฟอสซิลเจริญเติบโตในช่วงเวลา หนึ่งจะช่วยให้นักวิทยาศาสตร์สรุปได้ว่าสภาพภูมิอากาศในช่วงเวลานั้นเป็นอย่างไร  • แกนน้าแข็ง เมื่อผ่านไปหลายทศวรรษหิมะที่ตกบนภูเขาสูงและและน้าแข็งที่ปกคลุมขั้วโลกนั้นอัดรวมกันและกลายเป็น น้าแข็งอัดแน่น ฝุ่นและฟองอากาศที่ถูกกักเก็บในน้าแข็งนี้ให้ข้อมูลทางสภาพภูมิอากาศที่มีค่า ตัวอย่างเช่น อากาศที่ถูกกัก เก็บไว้ในก้อนน้าแข็งนี้ทาหน้าที่เป็นบันทึกของความเข้มข้นของคาร์บอนไดออกไซต์ในระยะหนึ่งพันปี  • การสังเกตการละลายของน้าแข็ง อัตราของการลดลงของธารน้าแข็ง อากาศที่อุ่นขึ้นจนทาให้ดินเยือกแข็งละลาย น้าแข็งที่ ปกคลุมขั้วโลกที่หดหาย และ น้าแข็งในทะเลอาร์กติกที่ลดน้อยลง เป็นตัวบ่งชี้ของภาวะโลกร้อนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว สิ่งสาคัญ คือ ไม่ควรพิจารณาแหล่งข้อมูลดิบอย่างใดอย่างหนึ่งเท่านั้น แต่พิจารณาร่วมกัน ซึ่งจะทาให้เกิดภาพทาง วิทยาศาสตร์ของโลกที่กาลังร้อนขึ้นที่น่าเชื่อถือ ซึ่งภาพนี้ตรงกับข้อมูลก๊าซเรือนกระจกที่เพิ่มขึ้น
  • 37.  https://tech.mthai.com/tips-technic/40583.html  https://www.youtube.com/watch?time_continue=3&v =Ik_BjHcEXnA  https://www.greenpeace.org/archive- thailand/campaigns/climate-and-energy/climate- change-science/climate-research/