SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาการแซงคิวของคนไทย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นาย ณฐพล บุญโชติ เลขที่ 13 ชั้น ม.6
ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
2
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
นาย ณฐพล บุญโชติ เลขที่ 13
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาการแซงคิวของคนไทย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
The problem overtaking of thai people
ประเภทโครงงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทโครงงานเครื่องมือ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย ณฐพล บุญโชติ
3
ชื่อที่ปรึกษา
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม
-
ระยะเวลาดาเนินงาน
2-5 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
จากข่าวต่างๆที่ออกทางทีวีตามสื่อออนไลน์ที่มีอยู่ทั่วทุกที่ และที่เจอกันได้
ชีวิตประจาทั่วไป ทาให้เกิดปัญหาบ้างในครั้ง บ้างครั้งอาจถึงทะเลาะวิวาท
กัน และอาจจะทาให้เกิดความเสียทรัพย์สินหรืออื่นได้ อาจจะทาประเทศไทย
เราถูกประเทศอื่นมองไม่ดีได้ เราจึงอยากทาการแก้ไขปัญหาสาหรับการ
แทรกให้เป็นหารคิวอย่างเป็นระบบ เพื่อจะได้ลดการมีปํญหาที่เกิดจากการ
แทรกคิว จึงเกิดการเปรียบระหว่างประเทศไทยกับญี่ปุ่น ที่ว่าญี่ปุ่นนั้นมี
เทคโนโลยีที่สามารถช่วยแรงการแซงนี้ ได้คนญี่ปุ่นยังระบบการเข้าที่เป็น
ระบบ และเนื่องจากเหตุผลเหล่าผมจึงอยากมาทาโครงในการแก้ไขปัญหานี้
ด้วยเทคโนโลยี
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.) ต้องการให้การเข้าคิวของคนไทยนั้นเป็นระบบมากที่สุด
2.) เพื่อป้องกกันการเสียให้ชื่อเสียงของคนไทย
ป้องกันการเกิดปัญหาจากการไม่พพอใจเนื่องเกิดการแซงคิวโครงงานจะ
3.)
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทา
โครงงาน)
โครงงานนี้เป็นเพียงต้นแบบ(แบบจาลอง) เพื่อการศึกษาและเรียนรู้เท่านั้น
4
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทา
โครงงาน)
ใช้หลักการที่ได้จากสืบค้นจากสื่อออนไลน์ต่างๆ มาประกอบกันเป็นความ
เป็นหลักการและทฤษฎีการสร้างโครงงาน
เรื่องเกี่ยวกับการแซงคิวนี้ เห็นว่าไม่สามารถจะตอบได ้ตายตัวว่า
ควรจะให้แซง หรือควรจะไม่ให้แซง เพราะโดยสภาพแล ้ว
การเข ้าคิวนั้นเป็นการจัดระเบียบของสังคม โดยมุ่งประโยชน์ให้เกิดการจัดสรรที่เหมาะสม
เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ และยังลดปัญหาของการแก่งแย่งกันหรือทะเลาะกัน
แต่ว่าในการพิจารณาถึงการจัดสรรที่เหมาะสมและเป็นธรรมนั้น
พึงต ้องพิจารณาปัจจัยประกอบหลายประการ ไม่ใช่แค่เพียงว่าใครมาก่อนเท่านั้น
อย่างสมมุติว่ามีการแจกอาหารให้แก่ผู้ยากไร ้ ปรากฏว่าคนแข็งแรงก็วิ่งมาถึงเข ้าคิวได ้ก่อน
ส่วนคนที่อดอาหารใกล ้ตายนั้นค่อย ๆ คลานมาขอรับอาหาร โดยมาถึงทีหลังท ้ายคิว
โดยข ้อเท็จจริงเช่นนี้ย่อมไม่ได ้แปลว่าการแจกอาหารให้คนที่ยืนหัวคิวแรกนั้นจะเหมาะสม
ในทางกลับกัน คนแข็งแรงที่ยืนหัวคิวอาจจะต ้องนาอาหารไปให้คนที่อดอาหารใกล ้ตาย
ซึ่งเขาไม่มีแรงพอที่จะมาต่อคิวเลยก็ได ้กรณีจึงละเอียดอ่อนและไม่ใช่ว่าจะพิจารณาได ้ง่าย ๆ
ในกรณีของการโดนแซงคิวนี้ เราจึงควรพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป
ซึ่งเห็นว่ามี ๒ เรื่องที่เราควรพิจารณา และบริหารจัดการให้เหมาะสมทั้ง ๒ เรื่อง ได ้แก่
เรื่องการบริหารจัดการคิวในทางโลก และ เรื่องดูแลใจของตนเองในทางธรรม
โดยทั้ง ๒ เรื่องนี้แตกต่างกัน
ในเรื่องการบริหารจัดการคิวในทางโลกนั้น
ควรจะเริ่มต ้นด ้วยพิจารณาก่อนว่า เขาเจตนาจะมาแซงคิวจริงหรือเปล่า
บางทีเขาอาจจะมายืนอยู่ก่อนเรา แต่เราไม่เห็น เพราะเรามัวแต่มองของที่เราจะซื้อ
พอเราหันไปดูอีกที ก็เห็นเขามายืนข ้าง ๆ แล ้ว เราก็หลงคิดไปว่าเขามาแซงเรา
ในทางกลับกัน คนอื่นก็อาจจะเป็นเหมือนกันก็ได ้คือไม่ทันมองว่าเรายืนรอคิวอยู่แล ้ว
หรือบางที เขาเองอาจจะไม่ได ้ตั้งใจจะมาแซงคิว แต่แค่มายืนเพื่อดูของเฉย ๆ ก็ได ้
ในกรณีเหล่านี้ หากเรารีบร ้อนไปตัดสินว่าเขาเจตนาจะมาแซงคิว
ทั้งที่จริง ๆ แล ้วไม่ได ้เป็นเช่นนั้น ก็อาจทาให้เราเกิดอคติ และมองปัญหาในทางลบเกินจริง
ในกรณีดังกล่าวนี้ หากเราไม่แน่ใจเพราะมัวแต่มองสิ่งของอื่น ๆ
เราก็พึงสอบถามเขาอย่างสุภาพ ก็จะช่วยลดปัญหาที่ไม่จาเป็นต ้องมีขึ้นได ้
5
สมมุติต่อไปว่า หากเราพิจารณาแล ้วเห็นว่าเขาเจตนาจะมาแซงคิวจริง ๆ
เราก็พึงพิจารณาต่อไปว่า มีเหตุสมควรที่จะให้เขาแซงคิวหรือไม่
โดยปกติแล ้ว เราเองอาจจะมองเพียงประเด็นเดียวแล ้วก็ชี้ขาดว่า
ควรให้เขาแซงไป หรือว่าไม่ควรให้เขาแซง ยกตัวอย่างเช่น
อยากทาบุญโดยการให้เขาแซงคิว หรือไม่ให้เขาแซงคิวเพราะกลัวเขาจะเสียนิสัย
หรือให้แซงคิวเพราะไม่อยากทะเลาะกัน หรือเราไม่รีบอะไรจึงให้เขาแซงได ้ฯลฯ
แต่จริง ๆ แล ้ว เราก็ควรจะมองหลาย ๆ ปัจจัยอื่น ๆ ประกอบด ้วย
เช่น เขามีความจาเป็นรีบด่วนแค่ไหน เรามีความจาเป็นรีบด่วนแค่ไหน
คิวข ้างหลังเรามียาวแค่ไหน คิวข ้างหลังเราน่าจะมีใครรีบด่วนไหม
โอกาสที่จะคุยได ้กันด ้วยดี หรือคุยกันแล ้วทะเลาะกันมีแค่ไหน
หากให้แซง และไม่ให้แซงแล ้ว จะเกิดผลกระทบอย่างไรบ ้าง ฯลฯ
ยกตัวอย่างเช่น เราเข ้าคิวซื้ออาหารอยู่ แล ้วก็มีคนมาแซงคิว
เราก็ยอมให้แซงคิวไป โดยเรามองเพียงว่าเราเป็นคนใจดี และไม่ถือที่โดนเขาแซงคิว
แต่ปรากฏว่าข ้างหลังเรามีคนรอคิวอยู่อีกเป็นสิบคน
หรืออาหารที่ขายอยู่นั้น ก็ไม่เพียงพอที่จะขายคนทั้งหมดในคิวนั้น
เช่นนี้การที่เรายอมให้เขามาแซงคิวเราไป
ย่อมเท่ากับว่าเราไปช่วยเขาเบียดเบียนคนอื่น ๆ ที่เขากาลังรอคิวอยู่ด ้วย
หรือเท่ากับว่าเราใจดีบนต ้นทุนของคนอื่น ไม่ใช่ต ้นทุนเราคนเดียว
แต่หากเรารอยืนคิวอยู่คนเดียว โดยไม่มีคนอื่นต่อท ้าย ก็จะเป็นกรณีแตกต่างกัน
แต่ถึงแม้ว่าเรากาลังรอคิวอยู่คนเดียวก็ตาม
แต่หากเราเองป่ วยหนักเป็นโรคที่ต ้องทานอาหารตรงเวลา
หรือเราต ้องซื้ออาหารไปให้ผู้ป่ วยหนักเป็นโรคที่ต ้องทานอาหารตรงเวลา
เช่น โรคเบาหวาน หรือโรคกระเพาะขั้นรุนแรง เป็นต ้น การที่เราไปยอมให้เขาแซงคิว
และทาให้เราหรือคนอื่นต ้องรับผลเสียหายมากจากทานอาหารไม่ตรงเวลานั้น
ก็ย่อมจะเป็นการไม่เหมาะสม
หรือยกตัวอย่างในกรณีการต่อคิวในการจราจรบนท ้องถนน
หากเรามองเพียงว่ารถติดเข ้าคิวยาวมาก หากใครจะมาแทรกแถวแล ้ว เราไม่ยอม
เพราะทาให้เสียหายต่อคันที่ต่อคิวยาว และเป็นการเสียนิสัยของคนขับรถที่มาแทรกด ้วย
แต่หากสมมุติว่ารถที่มาแทรกเป็นรถพยาบาล หรือรถดับเพลิงซึ่งกาลังเปิดไซเรน
ก็ย่อมจะเห็นได ้ว่าเราพึงควรให้แทรกคิวเพราะว่าเขามีความเร่งด่วนมากกว่า
6
สมมุติว่าหากถนนมี ๓ เลน เลนซ ้ายและเลนกลางนั้นเลี้ยวซ ้าย ส่วนเลนขวาไปตรง
รถเราเข ้าคิวอยู่เลนกลางรอเลี้ยวซ ้าย แล ้วอยู่ ๆ มีรถเลนขวาจะมาขอแทรกคิว
เราก็มองว่ารถติดเข ้าคิวยาวมากในเลนซ ้ายและเลนกลาง
การมาแทรกอย่างนี้เป็นนิสัยไม่ดี เราจึงไม่ให้เขาแทรก ทั้งที่สามารถให้ได ้
การที่รถเขาแทรกไม่ได ้ทาให้รถเลนขวาด ้านหลังก็ไปไม่ได ้ด ้วย ทาให้เลนขวารถติดอีกหนึ่งเลน
จริง ๆ แล ้ว ที่เลนขวารถติดนั้นก็เพราะรถที่จะแทรกนั้นวิ่งผิดเลน และไม่ยอมจะไปตรง
แต่ในเมื่อยังไงเขาก็ไม่ยอมไปตรง โดยเขาก็รอแทรกอยู่อย่างนั้นแล ้ว
ในสถานการณ์อย่างนี้ เราก็ควรพิจารณาว่าหากเราให้เขาแทรก
เพื่อเป็นการช่วยรถคันอื่น ๆ ในเลนขวาไม่ต ้องมาติดยาวไปด ้วย จะเหมาะสมหรือไม่
หากพิจารณาแล ้ว เห็นว่าสมควรจะให้เขาแซง หรือไม่ให้เขาแซงก็ตาม
ในทุกกรณีก็สมควรจะคุยกันหรือประพฤติกันดี ๆ ด ้วยความสุภาพ ไม่สร ้างเหตุทะเลาะกัน
(จะทาเช่นนั้นได ้เราก็ต ้องไม่ปล่อยให้โมหะ โทสะ โลภะครอบงาใจครับ)
ในกรณีที่เราพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ แล ้วเห็นว่าสมควรจะให้เขาแซงคิว
แล ้วเราก็ให้เขาแซงคิวไปตามที่เห็นเหมาะสม
กรณีการให้แซงคิวดังกล่าวนั้นไม่ได ้หมายความว่าเราสนับสนุนให้เขาเสียนิสัย
เพราะว่าเราไม่ได ้มีเจตนาดังกล่าวเลย แต่เราให้เขาแซงนั้นเพราะเห็นเหตุอันสมควร
ในส่วนที่ว่าคนที่แซงนั้นจะเคยชินและเสียนิสัยหรือไม่นั้น
ก็เป็นเรื่องตามเหตุและปัจจัยส่วนตัวของเขา ซึ่งเราไม่ได ้มีเจตนาสนับสนุนอะไรด ้วย
สรุปแล ้ว การให้แซงคิว หรือไม่ให้แซงคิว ในเรื่องการบริหารจัดการคิวในทางโลกนั้น
ให้เราพึงพิจารณาปัจจัยทั้งหลายที่เกี่ยวข ้อง
กรณีไม่ได ้แปลว่ามาก่อน แล ้วจะต ้องได ้ก่อนเสมอไป หรือเราจะต ้องให้เขาแซงเสมอไป
อย่างสมมุติว่ารถวิ่งสวนทางกันในซอยแคบ โดยเขามาถึงก่อน เรามาถึงทีหลัง
แต่โดยสภาพแล ้ว เราอาจจะต ้องไปก่อนก็ได ้เพราะมุมการกีดขวางนั้นบังคับอย่างนั้น
หรือว่าเราเข ้าคิวจ่ายเงินซื้อของในซูเปอร์มาร์เก็ตโดยเรามีของอยู่เต็มรถเข็น
แล ้วมีคนหนึ่งมาต่อท ้ายโดยถือของแค่ชิ้นเดียว เราอาจจะควรให้เขาชาระเงินก่อนก็ได ้
(ทั้งที่เขาเองไม่ได ้บอกกล่าวหรือขอที่จะชาระเงินก่อนเลยด ้วยซ้า)
หรือเรากาลังยืนรอเรียกแท็กซี่อยู่ และเห็นอีกคนหนึ่งกาลังเร่งรีบวิ่งมาเรียกแท็กซี่เหมือนกัน
ในเมื่อเราไม่รีบอะไรแล ้ว เราก็อาจจะควรให้เขาเรียกแท็กซี่ไปก่อนก็ได ้
โดยเราพึงพิจารณาความจาเป็นและความเหมาะสมเป็นกรณี ๆ ไป
ไม่ได ้ใช ้อารมณ์และความรู้สึกชั่ววูบมาตัดสิน
7
ในเรื่องของการดูแลใจของตนเองในทางธรรมนั้นแตกต่างจากการบริหารจัดการคิวในทางโลก
โดยเราไม่ต ้องไปพิจารณาปัจจัยแวดล ้อมภายนอกอะไร ไม่ต ้องไปพิจารณาคนอื่นเลย
แต่ให้พึงย้อนมาพิจารณาที่จิตใจตนเองเท่านั้น
โดยไม่ว่าเราจะโดนแซง ไม่โดนแซง ให้เขาแซง หรือไม่ให้เขาแซงก็ตาม
เราเองพึงมีสติรักษาจิตใจตนเองอยู่เสมอ โดยไม่ปล่อยให้โมหะ โทสะ โลภะเข ้ามาครอบงาใจ
บางทีเราเห็นเหมาะสมที่จะให้เขาแซงคิว หรือเราจาเป็นที่จะต ้องให้เขาแซงคิวทั้งที่ไม่เห็นด ้วย
ซึ่งการที่ให้เขาแซงคิว หรือโดนแซงคิวไปนั้น ไม่ได ้เสียหายอะไรมากมาย
แค่เสียเวลาเพิ่มเติมอีกนิดหน่อย แต่ว่าเราโดนโทสะครอบงาใจ
กลับมาบ ้านแล ้วยังมีโทสะอยู่ โดยที่เราไม่ได ้มีสติรู้ทันจิตใจตนเองว่าโดนโทสะเข ้าครอบงา
กรณีเช่นนี้ย่อมถือว่าเสียหายที่จิตใจตนเองหนักกว่าที่โดนแซงคิวเสียอีก
โดยก็ไม่ใช่ความผิดคนอื่นด ้วย แต่เป็นความผิดตนเองล ้วน ๆ ที่สร ้างไฟโทสะมาเผาใจตนเอง
ในบางคราว เรายังไม่ได ้โดนแซง แค่เพียงมีคนอื่นมายืนใกล ้ๆ เพื่อดูของที่ขายว่ามีอะไรบ ้าง
เราก็รีบจุดไฟโทสะมาเผาจิตใจตนเองเสียแล ้ว
ในบางคราว เรายอมให้เขาแซง โดยอ้างว่าเรามีเมตตาให้คนที่แซง แต่เราไม่เห็นว่าเกิดโทสะแล ้ว
หรือเราไม่ยอมให้เขาแซง โดยอ้างว่าคิวข ้างหลังยาว แต่เราไม่เห็นว่าเรางกคิว
หรือเรามีความอยากจะดัดนิสัยคนที่มาแซงคิว หรือสั่งสอนคนที่มาแซงคิว
ก็กลายเป็นว่าเราหลงทาตามกิเลสอกุศลโดยที่เราไม่ได ้รู้เท่าทันใจตนเอง
หรือแม้กระทั่งกรณีเราให้เขาแซงคิว เพราะเราอยากจะได ้บุญกุศล
แต่เราไม่ได ้รู้ทันจิตใจตนเองว่าเริ่มปรุงแต่งความโลภขึ้นมาในใจแล ้ว
ในจิตใจหลงเพลินไปแต่เพียงว่าให้เขาแซงคิวเพื่อเราจะได ้ทาบุญ
สรุปก็คือให้เราพึงมีสติรู้ทันจิตใจตนเองตามความเป็นจริงครับ
หากจะลองแบ่งกรณีการบริหารจัดการคิวในทางโลก และการดูแลใจตนเองในทางธรรมแล ้ว
ก็อาจจะแบ่งได ้เป็นกรณี ๆ ดังนี้ว่า
๑ ให้เขาแซง ไม่เหมาะสมในทางโลก และเป็นอกุศล
๒ ให้เขาแซง เหมาะสมในทางโลก แต่เป็นอกุศล
๓ ให้เขาแซง ไม่เหมาะสมในทางโลก แต่เป็นกุศล
๔ ให้เขาแซง เหมาะสมในทางโลก และเป็นกุศล
๕ ไม่ให้เขาแซง ไม่เหมาะสมในทางโลก และเป็นอกุศล
๖ ไม่ให้เขาแซง เหมาะสมในทางโลก แต่เป็นอกุศล
๗ ไม่ให้เขาแซง ไม่เหมาะสมในทางโลก แต่เป็นกุศล
๘ ไม่ให้เขาแซง เหมาะสมในทางโลก และเป็นกุศล
8
ฉะนั้น ปัญหาจึงไม่ได ้อยู่ที่ว่าจะให้เขาแซงหรือไม่ให้เขาแซง
แต่ปัญหาอยู่ที่ว่าพฤติการณ์เหมาะสมที่จะให้เขาแซงหรือไม่
และเรามีสติรู้ทันจิตใจของเราหรือไม่ จิตใจเราเป็นกุศลหรืออกุศล
กรณีแซงคิวดังที่ได ้อธิบายมานี้ ยังสามารถนาไปปรับใช ้กับกรณีอื่น ๆ ได ้อีกด ้วย
เช่น กรณีที่คนอื่นมาขอความช่วยเหลือเราในเรื่องใด ๆ ก็ตาม
เราพึงมองใน ๒ เรื่องคือว่าปัจจัยและพฤติการณ์เหมาะสมที่จะช่วยเหลือเขาหรือไม่ อย่างไร
เรามีสติรู้ทันจิตใจของเราในการช่วยเหลือหรือไม่ช่วยเหลือเขาหรือไม่ จิตใจเราเป็นกุศลหรืออกุศล
บางที เราตัดสินใจช่วยเขา แต่เป็นสิ่งไม่เหมาะสม และจิตใจเป็นอกุศลก็ได ้
หรือเราตัดสินใจไม่ช่วยเขา แต่กลับเป็นสิ่งเหมาะสม และจิตใจเป็นกุศลก็ได ้ซึ่งไม่แน่เสมอไป
โดยเราสามารถจาแนกได ้เป็น ๘ กรณีเช่นเดียวกันกับที่ได ้จาแนกไว ้แล ้วข ้างต ้น
วิธีดาเนินงาน
สืบค้นข้อมูลหาหลักฐาน แล้วมาวิเคราะห์เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ
มากขึ้น และจะได้นาไปศึกษาต่อไป
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์ , มือถือ
งบประมาณ
ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
9
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทา
เอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทา
โครงงาน)
คาดว่าจะลดปัญหาที่เกิดจากการแซงคิวได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
สังคม(หน้าที่พลเมือง)
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.dlitemag.com/index.php?option=com_content&view=article&id=845&Itemid=1
https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/633706
http://www.siamguru.org/society/que/
https://talk.mthai.com/inbox/334399.html
https://www.kroobannok.com/68022

More Related Content

Similar to Natapol boonchot 604 13

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
โครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนโครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนpantida44027
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์jedsadakorn hongthong
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานMunin Tarkang
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานnayigaa
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project DT_sim
 
2562 final-project26
2562 final-project262562 final-project26
2562 final-project26ssuser015151
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Chanika Panyana
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์Sendai' Toktak
 

Similar to Natapol boonchot 604 13 (20)

คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์คอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
โครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนโครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project (1)
2559 project  (1)2559 project  (1)
2559 project (1)
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
2561 project 609
2561 project 6092561 project 609
2561 project 609
 
how to eat
how to eathow to eat
how to eat
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project26
2562 final-project262562 final-project26
2562 final-project26
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโรงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 13-project
2559 13-project 2559 13-project
2559 13-project
 

More from tanfish3

PROJECT : 2
PROJECT : 2 PROJECT : 2
PROJECT : 2 tanfish3
 
Presentation 13 604
Presentation 13 604Presentation 13 604
Presentation 13 604tanfish3
 
Presentation 13 604
Presentation 13 604Presentation 13 604
Presentation 13 604tanfish3
 
Natapol 13 604
Natapol 13 604Natapol 13 604
Natapol 13 604tanfish3
 

More from tanfish3 (11)

PROJECT : 2
PROJECT : 2 PROJECT : 2
PROJECT : 2
 
Ploy at 3
Ploy at 3Ploy at 3
Ploy at 3
 
Ploy at 2
Ploy at 2Ploy at 2
Ploy at 2
 
Presentation 13 604
Presentation 13 604Presentation 13 604
Presentation 13 604
 
Boss jeng
Boss jengBoss jeng
Boss jeng
 
Poy at 3
Poy at 3Poy at 3
Poy at 3
 
Presentation 13 604
Presentation 13 604Presentation 13 604
Presentation 13 604
 
Poy3
Poy3Poy3
Poy3
 
Poy2
Poy2Poy2
Poy2
 
Poy
PoyPoy
Poy
 
Natapol 13 604
Natapol 13 604Natapol 13 604
Natapol 13 604
 

Natapol boonchot 604 13

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาการแซงคิวของคนไทย ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นาย ณฐพล บุญโชติ เลขที่ 13 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี) ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
  • 2. 2 ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… นาย ณฐพล บุญโชติ เลขที่ 13 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาการแซงคิวของคนไทย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) The problem overtaking of thai people ประเภทโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ ประเภทโครงงานเครื่องมือ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ณฐพล บุญโชติ
  • 3. 3 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 2-5 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จากข่าวต่างๆที่ออกทางทีวีตามสื่อออนไลน์ที่มีอยู่ทั่วทุกที่ และที่เจอกันได้ ชีวิตประจาทั่วไป ทาให้เกิดปัญหาบ้างในครั้ง บ้างครั้งอาจถึงทะเลาะวิวาท กัน และอาจจะทาให้เกิดความเสียทรัพย์สินหรืออื่นได้ อาจจะทาประเทศไทย เราถูกประเทศอื่นมองไม่ดีได้ เราจึงอยากทาการแก้ไขปัญหาสาหรับการ แทรกให้เป็นหารคิวอย่างเป็นระบบ เพื่อจะได้ลดการมีปํญหาที่เกิดจากการ แทรกคิว จึงเกิดการเปรียบระหว่างประเทศไทยกับญี่ปุ่น ที่ว่าญี่ปุ่นนั้นมี เทคโนโลยีที่สามารถช่วยแรงการแซงนี้ ได้คนญี่ปุ่นยังระบบการเข้าที่เป็น ระบบ และเนื่องจากเหตุผลเหล่าผมจึงอยากมาทาโครงในการแก้ไขปัญหานี้ ด้วยเทคโนโลยี วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.) ต้องการให้การเข้าคิวของคนไทยนั้นเป็นระบบมากที่สุด 2.) เพื่อป้องกกันการเสียให้ชื่อเสียงของคนไทย ป้องกันการเกิดปัญหาจากการไม่พพอใจเนื่องเกิดการแซงคิวโครงงานจะ 3.) ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทา โครงงาน) โครงงานนี้เป็นเพียงต้นแบบ(แบบจาลอง) เพื่อการศึกษาและเรียนรู้เท่านั้น
  • 4. 4 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทา โครงงาน) ใช้หลักการที่ได้จากสืบค้นจากสื่อออนไลน์ต่างๆ มาประกอบกันเป็นความ เป็นหลักการและทฤษฎีการสร้างโครงงาน เรื่องเกี่ยวกับการแซงคิวนี้ เห็นว่าไม่สามารถจะตอบได ้ตายตัวว่า ควรจะให้แซง หรือควรจะไม่ให้แซง เพราะโดยสภาพแล ้ว การเข ้าคิวนั้นเป็นการจัดระเบียบของสังคม โดยมุ่งประโยชน์ให้เกิดการจัดสรรที่เหมาะสม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ และยังลดปัญหาของการแก่งแย่งกันหรือทะเลาะกัน แต่ว่าในการพิจารณาถึงการจัดสรรที่เหมาะสมและเป็นธรรมนั้น พึงต ้องพิจารณาปัจจัยประกอบหลายประการ ไม่ใช่แค่เพียงว่าใครมาก่อนเท่านั้น อย่างสมมุติว่ามีการแจกอาหารให้แก่ผู้ยากไร ้ ปรากฏว่าคนแข็งแรงก็วิ่งมาถึงเข ้าคิวได ้ก่อน ส่วนคนที่อดอาหารใกล ้ตายนั้นค่อย ๆ คลานมาขอรับอาหาร โดยมาถึงทีหลังท ้ายคิว โดยข ้อเท็จจริงเช่นนี้ย่อมไม่ได ้แปลว่าการแจกอาหารให้คนที่ยืนหัวคิวแรกนั้นจะเหมาะสม ในทางกลับกัน คนแข็งแรงที่ยืนหัวคิวอาจจะต ้องนาอาหารไปให้คนที่อดอาหารใกล ้ตาย ซึ่งเขาไม่มีแรงพอที่จะมาต่อคิวเลยก็ได ้กรณีจึงละเอียดอ่อนและไม่ใช่ว่าจะพิจารณาได ้ง่าย ๆ ในกรณีของการโดนแซงคิวนี้ เราจึงควรพิจารณาเป็นกรณี ๆ ไป ซึ่งเห็นว่ามี ๒ เรื่องที่เราควรพิจารณา และบริหารจัดการให้เหมาะสมทั้ง ๒ เรื่อง ได ้แก่ เรื่องการบริหารจัดการคิวในทางโลก และ เรื่องดูแลใจของตนเองในทางธรรม โดยทั้ง ๒ เรื่องนี้แตกต่างกัน ในเรื่องการบริหารจัดการคิวในทางโลกนั้น ควรจะเริ่มต ้นด ้วยพิจารณาก่อนว่า เขาเจตนาจะมาแซงคิวจริงหรือเปล่า บางทีเขาอาจจะมายืนอยู่ก่อนเรา แต่เราไม่เห็น เพราะเรามัวแต่มองของที่เราจะซื้อ พอเราหันไปดูอีกที ก็เห็นเขามายืนข ้าง ๆ แล ้ว เราก็หลงคิดไปว่าเขามาแซงเรา ในทางกลับกัน คนอื่นก็อาจจะเป็นเหมือนกันก็ได ้คือไม่ทันมองว่าเรายืนรอคิวอยู่แล ้ว หรือบางที เขาเองอาจจะไม่ได ้ตั้งใจจะมาแซงคิว แต่แค่มายืนเพื่อดูของเฉย ๆ ก็ได ้ ในกรณีเหล่านี้ หากเรารีบร ้อนไปตัดสินว่าเขาเจตนาจะมาแซงคิว ทั้งที่จริง ๆ แล ้วไม่ได ้เป็นเช่นนั้น ก็อาจทาให้เราเกิดอคติ และมองปัญหาในทางลบเกินจริง ในกรณีดังกล่าวนี้ หากเราไม่แน่ใจเพราะมัวแต่มองสิ่งของอื่น ๆ เราก็พึงสอบถามเขาอย่างสุภาพ ก็จะช่วยลดปัญหาที่ไม่จาเป็นต ้องมีขึ้นได ้
  • 5. 5 สมมุติต่อไปว่า หากเราพิจารณาแล ้วเห็นว่าเขาเจตนาจะมาแซงคิวจริง ๆ เราก็พึงพิจารณาต่อไปว่า มีเหตุสมควรที่จะให้เขาแซงคิวหรือไม่ โดยปกติแล ้ว เราเองอาจจะมองเพียงประเด็นเดียวแล ้วก็ชี้ขาดว่า ควรให้เขาแซงไป หรือว่าไม่ควรให้เขาแซง ยกตัวอย่างเช่น อยากทาบุญโดยการให้เขาแซงคิว หรือไม่ให้เขาแซงคิวเพราะกลัวเขาจะเสียนิสัย หรือให้แซงคิวเพราะไม่อยากทะเลาะกัน หรือเราไม่รีบอะไรจึงให้เขาแซงได ้ฯลฯ แต่จริง ๆ แล ้ว เราก็ควรจะมองหลาย ๆ ปัจจัยอื่น ๆ ประกอบด ้วย เช่น เขามีความจาเป็นรีบด่วนแค่ไหน เรามีความจาเป็นรีบด่วนแค่ไหน คิวข ้างหลังเรามียาวแค่ไหน คิวข ้างหลังเราน่าจะมีใครรีบด่วนไหม โอกาสที่จะคุยได ้กันด ้วยดี หรือคุยกันแล ้วทะเลาะกันมีแค่ไหน หากให้แซง และไม่ให้แซงแล ้ว จะเกิดผลกระทบอย่างไรบ ้าง ฯลฯ ยกตัวอย่างเช่น เราเข ้าคิวซื้ออาหารอยู่ แล ้วก็มีคนมาแซงคิว เราก็ยอมให้แซงคิวไป โดยเรามองเพียงว่าเราเป็นคนใจดี และไม่ถือที่โดนเขาแซงคิว แต่ปรากฏว่าข ้างหลังเรามีคนรอคิวอยู่อีกเป็นสิบคน หรืออาหารที่ขายอยู่นั้น ก็ไม่เพียงพอที่จะขายคนทั้งหมดในคิวนั้น เช่นนี้การที่เรายอมให้เขามาแซงคิวเราไป ย่อมเท่ากับว่าเราไปช่วยเขาเบียดเบียนคนอื่น ๆ ที่เขากาลังรอคิวอยู่ด ้วย หรือเท่ากับว่าเราใจดีบนต ้นทุนของคนอื่น ไม่ใช่ต ้นทุนเราคนเดียว แต่หากเรารอยืนคิวอยู่คนเดียว โดยไม่มีคนอื่นต่อท ้าย ก็จะเป็นกรณีแตกต่างกัน แต่ถึงแม้ว่าเรากาลังรอคิวอยู่คนเดียวก็ตาม แต่หากเราเองป่ วยหนักเป็นโรคที่ต ้องทานอาหารตรงเวลา หรือเราต ้องซื้ออาหารไปให้ผู้ป่ วยหนักเป็นโรคที่ต ้องทานอาหารตรงเวลา เช่น โรคเบาหวาน หรือโรคกระเพาะขั้นรุนแรง เป็นต ้น การที่เราไปยอมให้เขาแซงคิว และทาให้เราหรือคนอื่นต ้องรับผลเสียหายมากจากทานอาหารไม่ตรงเวลานั้น ก็ย่อมจะเป็นการไม่เหมาะสม หรือยกตัวอย่างในกรณีการต่อคิวในการจราจรบนท ้องถนน หากเรามองเพียงว่ารถติดเข ้าคิวยาวมาก หากใครจะมาแทรกแถวแล ้ว เราไม่ยอม เพราะทาให้เสียหายต่อคันที่ต่อคิวยาว และเป็นการเสียนิสัยของคนขับรถที่มาแทรกด ้วย แต่หากสมมุติว่ารถที่มาแทรกเป็นรถพยาบาล หรือรถดับเพลิงซึ่งกาลังเปิดไซเรน ก็ย่อมจะเห็นได ้ว่าเราพึงควรให้แทรกคิวเพราะว่าเขามีความเร่งด่วนมากกว่า
  • 6. 6 สมมุติว่าหากถนนมี ๓ เลน เลนซ ้ายและเลนกลางนั้นเลี้ยวซ ้าย ส่วนเลนขวาไปตรง รถเราเข ้าคิวอยู่เลนกลางรอเลี้ยวซ ้าย แล ้วอยู่ ๆ มีรถเลนขวาจะมาขอแทรกคิว เราก็มองว่ารถติดเข ้าคิวยาวมากในเลนซ ้ายและเลนกลาง การมาแทรกอย่างนี้เป็นนิสัยไม่ดี เราจึงไม่ให้เขาแทรก ทั้งที่สามารถให้ได ้ การที่รถเขาแทรกไม่ได ้ทาให้รถเลนขวาด ้านหลังก็ไปไม่ได ้ด ้วย ทาให้เลนขวารถติดอีกหนึ่งเลน จริง ๆ แล ้ว ที่เลนขวารถติดนั้นก็เพราะรถที่จะแทรกนั้นวิ่งผิดเลน และไม่ยอมจะไปตรง แต่ในเมื่อยังไงเขาก็ไม่ยอมไปตรง โดยเขาก็รอแทรกอยู่อย่างนั้นแล ้ว ในสถานการณ์อย่างนี้ เราก็ควรพิจารณาว่าหากเราให้เขาแทรก เพื่อเป็นการช่วยรถคันอื่น ๆ ในเลนขวาไม่ต ้องมาติดยาวไปด ้วย จะเหมาะสมหรือไม่ หากพิจารณาแล ้ว เห็นว่าสมควรจะให้เขาแซง หรือไม่ให้เขาแซงก็ตาม ในทุกกรณีก็สมควรจะคุยกันหรือประพฤติกันดี ๆ ด ้วยความสุภาพ ไม่สร ้างเหตุทะเลาะกัน (จะทาเช่นนั้นได ้เราก็ต ้องไม่ปล่อยให้โมหะ โทสะ โลภะครอบงาใจครับ) ในกรณีที่เราพิจารณาปัจจัยต่าง ๆ แล ้วเห็นว่าสมควรจะให้เขาแซงคิว แล ้วเราก็ให้เขาแซงคิวไปตามที่เห็นเหมาะสม กรณีการให้แซงคิวดังกล่าวนั้นไม่ได ้หมายความว่าเราสนับสนุนให้เขาเสียนิสัย เพราะว่าเราไม่ได ้มีเจตนาดังกล่าวเลย แต่เราให้เขาแซงนั้นเพราะเห็นเหตุอันสมควร ในส่วนที่ว่าคนที่แซงนั้นจะเคยชินและเสียนิสัยหรือไม่นั้น ก็เป็นเรื่องตามเหตุและปัจจัยส่วนตัวของเขา ซึ่งเราไม่ได ้มีเจตนาสนับสนุนอะไรด ้วย สรุปแล ้ว การให้แซงคิว หรือไม่ให้แซงคิว ในเรื่องการบริหารจัดการคิวในทางโลกนั้น ให้เราพึงพิจารณาปัจจัยทั้งหลายที่เกี่ยวข ้อง กรณีไม่ได ้แปลว่ามาก่อน แล ้วจะต ้องได ้ก่อนเสมอไป หรือเราจะต ้องให้เขาแซงเสมอไป อย่างสมมุติว่ารถวิ่งสวนทางกันในซอยแคบ โดยเขามาถึงก่อน เรามาถึงทีหลัง แต่โดยสภาพแล ้ว เราอาจจะต ้องไปก่อนก็ได ้เพราะมุมการกีดขวางนั้นบังคับอย่างนั้น หรือว่าเราเข ้าคิวจ่ายเงินซื้อของในซูเปอร์มาร์เก็ตโดยเรามีของอยู่เต็มรถเข็น แล ้วมีคนหนึ่งมาต่อท ้ายโดยถือของแค่ชิ้นเดียว เราอาจจะควรให้เขาชาระเงินก่อนก็ได ้ (ทั้งที่เขาเองไม่ได ้บอกกล่าวหรือขอที่จะชาระเงินก่อนเลยด ้วยซ้า) หรือเรากาลังยืนรอเรียกแท็กซี่อยู่ และเห็นอีกคนหนึ่งกาลังเร่งรีบวิ่งมาเรียกแท็กซี่เหมือนกัน ในเมื่อเราไม่รีบอะไรแล ้ว เราก็อาจจะควรให้เขาเรียกแท็กซี่ไปก่อนก็ได ้ โดยเราพึงพิจารณาความจาเป็นและความเหมาะสมเป็นกรณี ๆ ไป ไม่ได ้ใช ้อารมณ์และความรู้สึกชั่ววูบมาตัดสิน
  • 7. 7 ในเรื่องของการดูแลใจของตนเองในทางธรรมนั้นแตกต่างจากการบริหารจัดการคิวในทางโลก โดยเราไม่ต ้องไปพิจารณาปัจจัยแวดล ้อมภายนอกอะไร ไม่ต ้องไปพิจารณาคนอื่นเลย แต่ให้พึงย้อนมาพิจารณาที่จิตใจตนเองเท่านั้น โดยไม่ว่าเราจะโดนแซง ไม่โดนแซง ให้เขาแซง หรือไม่ให้เขาแซงก็ตาม เราเองพึงมีสติรักษาจิตใจตนเองอยู่เสมอ โดยไม่ปล่อยให้โมหะ โทสะ โลภะเข ้ามาครอบงาใจ บางทีเราเห็นเหมาะสมที่จะให้เขาแซงคิว หรือเราจาเป็นที่จะต ้องให้เขาแซงคิวทั้งที่ไม่เห็นด ้วย ซึ่งการที่ให้เขาแซงคิว หรือโดนแซงคิวไปนั้น ไม่ได ้เสียหายอะไรมากมาย แค่เสียเวลาเพิ่มเติมอีกนิดหน่อย แต่ว่าเราโดนโทสะครอบงาใจ กลับมาบ ้านแล ้วยังมีโทสะอยู่ โดยที่เราไม่ได ้มีสติรู้ทันจิตใจตนเองว่าโดนโทสะเข ้าครอบงา กรณีเช่นนี้ย่อมถือว่าเสียหายที่จิตใจตนเองหนักกว่าที่โดนแซงคิวเสียอีก โดยก็ไม่ใช่ความผิดคนอื่นด ้วย แต่เป็นความผิดตนเองล ้วน ๆ ที่สร ้างไฟโทสะมาเผาใจตนเอง ในบางคราว เรายังไม่ได ้โดนแซง แค่เพียงมีคนอื่นมายืนใกล ้ๆ เพื่อดูของที่ขายว่ามีอะไรบ ้าง เราก็รีบจุดไฟโทสะมาเผาจิตใจตนเองเสียแล ้ว ในบางคราว เรายอมให้เขาแซง โดยอ้างว่าเรามีเมตตาให้คนที่แซง แต่เราไม่เห็นว่าเกิดโทสะแล ้ว หรือเราไม่ยอมให้เขาแซง โดยอ้างว่าคิวข ้างหลังยาว แต่เราไม่เห็นว่าเรางกคิว หรือเรามีความอยากจะดัดนิสัยคนที่มาแซงคิว หรือสั่งสอนคนที่มาแซงคิว ก็กลายเป็นว่าเราหลงทาตามกิเลสอกุศลโดยที่เราไม่ได ้รู้เท่าทันใจตนเอง หรือแม้กระทั่งกรณีเราให้เขาแซงคิว เพราะเราอยากจะได ้บุญกุศล แต่เราไม่ได ้รู้ทันจิตใจตนเองว่าเริ่มปรุงแต่งความโลภขึ้นมาในใจแล ้ว ในจิตใจหลงเพลินไปแต่เพียงว่าให้เขาแซงคิวเพื่อเราจะได ้ทาบุญ สรุปก็คือให้เราพึงมีสติรู้ทันจิตใจตนเองตามความเป็นจริงครับ หากจะลองแบ่งกรณีการบริหารจัดการคิวในทางโลก และการดูแลใจตนเองในทางธรรมแล ้ว ก็อาจจะแบ่งได ้เป็นกรณี ๆ ดังนี้ว่า ๑ ให้เขาแซง ไม่เหมาะสมในทางโลก และเป็นอกุศล ๒ ให้เขาแซง เหมาะสมในทางโลก แต่เป็นอกุศล ๓ ให้เขาแซง ไม่เหมาะสมในทางโลก แต่เป็นกุศล ๔ ให้เขาแซง เหมาะสมในทางโลก และเป็นกุศล ๕ ไม่ให้เขาแซง ไม่เหมาะสมในทางโลก และเป็นอกุศล ๖ ไม่ให้เขาแซง เหมาะสมในทางโลก แต่เป็นอกุศล ๗ ไม่ให้เขาแซง ไม่เหมาะสมในทางโลก แต่เป็นกุศล ๘ ไม่ให้เขาแซง เหมาะสมในทางโลก และเป็นกุศล
  • 8. 8 ฉะนั้น ปัญหาจึงไม่ได ้อยู่ที่ว่าจะให้เขาแซงหรือไม่ให้เขาแซง แต่ปัญหาอยู่ที่ว่าพฤติการณ์เหมาะสมที่จะให้เขาแซงหรือไม่ และเรามีสติรู้ทันจิตใจของเราหรือไม่ จิตใจเราเป็นกุศลหรืออกุศล กรณีแซงคิวดังที่ได ้อธิบายมานี้ ยังสามารถนาไปปรับใช ้กับกรณีอื่น ๆ ได ้อีกด ้วย เช่น กรณีที่คนอื่นมาขอความช่วยเหลือเราในเรื่องใด ๆ ก็ตาม เราพึงมองใน ๒ เรื่องคือว่าปัจจัยและพฤติการณ์เหมาะสมที่จะช่วยเหลือเขาหรือไม่ อย่างไร เรามีสติรู้ทันจิตใจของเราในการช่วยเหลือหรือไม่ช่วยเหลือเขาหรือไม่ จิตใจเราเป็นกุศลหรืออกุศล บางที เราตัดสินใจช่วยเขา แต่เป็นสิ่งไม่เหมาะสม และจิตใจเป็นอกุศลก็ได ้ หรือเราตัดสินใจไม่ช่วยเขา แต่กลับเป็นสิ่งเหมาะสม และจิตใจเป็นกุศลก็ได ้ซึ่งไม่แน่เสมอไป โดยเราสามารถจาแนกได ้เป็น ๘ กรณีเช่นเดียวกันกับที่ได ้จาแนกไว ้แล ้วข ้างต ้น วิธีดาเนินงาน สืบค้นข้อมูลหาหลักฐาน แล้วมาวิเคราะห์เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ มากขึ้น และจะได้นาไปศึกษาต่อไป เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ , มือถือ งบประมาณ ไม่มี ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
  • 9. 9 ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทา เอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทา โครงงาน) คาดว่าจะลดปัญหาที่เกิดจากการแซงคิวได้ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียน ยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง สังคม(หน้าที่พลเมือง) แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.dlitemag.com/index.php?option=com_content&view=article&id=845&Itemid=1 https://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/633706 http://www.siamguru.org/society/que/ https://talk.mthai.com/inbox/334399.html https://www.kroobannok.com/68022