SlideShare a Scribd company logo
1 of 143
Download to read offline
มังคลัตถวิภาวินี
ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๕
๏
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
อธิบายศัพทและสำนวน มังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒
ประโยค ป.ธ.๕
มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๕
© พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
ISBN 978-616-382-960-3
พิมพครั้งที่ ๑ - มิถุนายน ๒๕๕๘ ๔๐๐ เลม
เผยแพรออนไลน ทาง facebook, สิงหาคม ๒๕๖๕
- ตนฉบับ พิมพครั้งที่ ๑ สูญหาย คงเหลือแตสวนเนื้อหา
ไดพิมพทดแทนสวนที่สูญหายไปในคราวเผยแพรออนไลน
ผูออกแบบปก : Phu-Best-Design.com
พิสูจนอักษร : พระมหาสงวน สุทฺธิาโณ
จัดทำโดย : พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
โรงพิมพ์ : บริษัท พิมพสวย จำกัด
๕/๕ ถ. เทศบาลรังสฤษฎเหนือ แขวงลาดยาว
เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐ โทร. ๐ ๒๙๕๓ ๙๖๐๐
ทีติดต่อ : คณะ ๗ วัดอรุณราชวราราม
แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ
กทม. ๑๐๖๐๐ โทร. ๐ ๙๕๑๓๙ ๙๓๓๒
อนุโมทนา
พลเรือเอกชัยณรงค เจริญรักษ และคุณฐิติมา วิทยานนทเอกทวี
โดยการดำริและประสานงานของคุณภาณุวัฒณ มีสัตย ไดแจงความ
ประสงคขอเปนเจาภาพพิมพหนังสือ มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัยใหนักเรียน
ป.ธ.๕ เพื่อถวายแดนักเรียน กับทั้งเพื่อเปนการบำเพ็ญธรรมวิทยาทาน
ใหกวางขวางยิ่งขึ้นไป
การพิมพหนังสือเลมนี้ สืบเนื่องกับหนังสือเลมกอน คือในคราวพิมพ
มงคลวิเสสกถาปกาสินี (พิมพครั้งที่ ๓) ผูเขียนนี้กำชับวา ใหพิมพจำนวน
จำกัดแค ๓๐๐ เลมก็พอ เพราะตองการแกไข/เพิ่มเติมอีก
ในคราวนั้น ทราบวา มีโยมจำนวนหนึ่งพลาดโอกาสเปนเจาภาพ
เพราะไดจำนวนเลมหนังสือเต็มอัตราที่กำหนดแลว และโยมดังกลาวนั้น
ก็ถามถึงหนังสือที่กำลังรอพิมพ พรอมแจงความประสงคเปนเจาภาพไว
ประจวบกับเวลานั้นหนังสือ มังคลัตถวิภาวินี กำลังเริ่มตนขึ้น
จึงแจงไปยังคุณภาณุวัฒน ขอใหโยมรอพิมพหนังสือเลมนี้เปนลำดับตอไป
และทางฝายอาตมภาพเองก็ขอเวลาจัดทำตนฉบับใหสำเร็จ
เวลาลวงเลยมาจนกระทั่งบัดนี้ เปดภาคการศึกษาใหมแลว ตนฉบับ
หนังสือจึงสำเร็จ พรอมจะเขาโรงพิมพใหเสร็จออกมาดวยทุนพิมพหนังสือ
ที่คุณภาณุวัฒน รวบรวมมาไวพรอมแลว (๒๒,๐๐๐ บาท)
ขออนุโมทนาคณะผูศรัทธาในธรรมทุกทาน ที่สนับสนุนการศึกษา
พระปริยัติธรรมแผนกบาลีในครั้งนี้ ดวยอำนาจบุญจริยาที่รวมกันบำเพ็ญ
แลว จงเปนปจจัยเพื่อความเจริญในกุศลธรรม และเพื่อความตั้งมั่นแหง
พระสัทธรรมตลอดกาลนาน
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
๕ มิ.ย. ๒๕๕๘
คำนำ
ในตอนตนหนังสือ มังคลัตถทีปนี ทานวา พระสูตรทั้งหลายเกิดขึ้น
เพราะเหตุ ๔ ประการ ไดแก (๑) เกิดเพราะความประสงคจะทรงแสดง
ธรรมตามอัธยาศัยของพระพุทธเจาเอง (๒) เกิดเพราะอัธยาศัยของผูอื่น
(๓) เกิดเพราะคำถา และ (๔) เกิดเพราะมีเหตุการณปรากฏขึ้น
บรรดาเหตุ ๔ ประการนี้ มงคลสูตร ซึ่งเปนที่มาของหนังสือ
มังคลัตถทีปนี นั้น เกิดเพราะคำถาม แมหนังสือ มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัย
ใหนักเรียน ป.ธ.๕ นี้ก็เกิดขึ้นเพราะคำถามเชนกัน ดังจะเลาตอไป
ในระหวางการเรียนการสอน วิชา แปลมคธเปนไทย ชั้นประโยค
ป.ธ.๕ ป พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘ ที่สำนักเรียนวัดอรุณราชวราราม นักเรียน
มีขอสงสัยตรงไหน ก็นำขอสงสัยนั้นมาถามอาจารย
ฝายอาจารยเมื่อไดรับคำถามแลว ก็ตอบไปตามกำลัง หรือขอโอกาส
เก็บไวตอบในภายหลัง และหลังจากตอบคำถามนั้นแลว ก็มักจะนำมาจด
บันทึกไว พรอมคนควาหาคำตอบเพิ่มเติมจากคัมภีรตางๆ จนถึงสิ้นป
การศึกษา คำถามและคำตอบ ก็มีจำนวนมากพอสำหรับพิมพเปนเลม
หนังสือ ดังที่ปรากฏนี้เอง
เนื้อหาในหนังสือเลมนี้ นอกจากจะมุงตอบคำถามใหนักเรียน
มีความรูเพียงพอสำหรับสอบบาลีสนามหลวง คือมุงอธิบายหลักบาลี
ไวยากรณ เปนตนแลว ยังมุงใหนักเรียนมีความรูทั่วถึง สมภูมิชั้น ป.ธ.๕
ฉะนั้น เนื้อหาบางตอนจึงเปนความรูใหมสำหรับนักเรียน เชน
สังขยา ๕ ประเภท ชื่อชนบทนิยมเปนพหุวจนะ บทวา มหา เปน ๓ ลิงค
เปนตน และขอใหนักเรียนศึกษาไวเปนความรูพิเศษ ซึ่งจะชวยเสริมให
เขาใจบทเรียนมากขึ้น
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย)
๕ มิ.ย. ๒๕๕๘
สารบัญ
เรื่อง หนา
อนุโมทนา ก
คำนำ ข
สารบัญ ค
อักษรยอชื่อคัมภีร ฏ
ปฺจมคาถายตฺถวณฺณนา ๑
ทานกถา ๑
ทปฺปนฺติ ๑
วิกฺขาเลตฺวา ๑
กปฺเปตา ๒
ปฏิ ๒
สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาป ๓
สนฺโต ๔
ยทิ ศัพทใชเปน วิกปฺปตฺถ ๖
ยสสฺส [ยโส-อสฺส] ๗
วิคาหติ ๗
วิเนยฺย ๙
ทีฆรตฺตํ ๙
สหพฺเยติ ๙
อาณาเปสิ ๙
ปติปตามหาทีหิ ๑๐
อภิฺเยฺยา, ปริฺเญยฺยา ๑๑
อานิสํโส มหา ๑๒
เจตสา มนสา ๑๒
ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว ๑๓
ธมฺมจริยากถา ๑๖
ติวิธํ : วิภัตติและวจนะวิปลาส ๑๖
เถยฺยสงฺขาตํ ใชในอรรถกรณะ ๑๖
โปรี ๑๗
ยิฏํ : ต ปจจัยใชเปนนามนาม ๑๗
อภิฺา สจฺฉิกตฺวา : วัณณสนธิ ๑๘
ปจฺจตฺตวจนํ : ชื่อพิเศษของวิภัตติทั้ง ๗ ๑๙
อิตฺถนฺนามํ ๒๐
สุกุมารา แปลวา ออนโยน ๒๐
ปุถุวจน = พหุวจนะ ๒๑
ภาวนปุสกนิทฺเทโส = กิริยาวิเสสนะ ๒๑
ชาต ศัพท เปนตน ใชเปน วจนสิลิฏก, สกตฺถ ๒๒
วิภาเวนฺติยา ๒๓
เกวล ศัพท ๒๓
อโหปุริสิกา ๒๕
วาทสฺส ตัดบทเปน วาโท+อสฺส, ภวสาโร ๒๕
โคพลิพัททนัย ๒๖
าตกสงฺคหกถา ๒๗
ปตามโห ลง อามห ปจจัย ๒๗
ปตา จ...เตสํ ยุโค ปตามหยุโค ๒๗
ปุริสคฺคหณฺเจตฺถ...สมตฺถิตํ โหติ ๒๗
ปตา จ...ปตามหทฺวนฺทาติ ๒๘
โกเลยฺยกา ๒๘
ทฺวิชสงฺฆา, ทิโช ๒๘
อนวชฺชกมฺมกถา ๒๙
อนสนสงฺขาโต อุปวาโส ๒๙
ปสนฺนมานโส ๒๙
มหาชนปทานํ : ชื่อแควน นิยมเปนพหุวจนะ ๓๐
เสยฺยถีทํ ๓๒
กุ ในคำวา กุราชภาเวน ๓๒
ปฺจงฺคิกํ ตุริยํ = ดนตรีมีองค ๕ ๓๔
มรุกนฺตาร = ทะเลทราย ๓๔
กามทุโห ๓๕
อจฺฉสิ ๓๕
วิมลาทีสุ ๓๕
ฉคาถายตฺถวณฺณนา ๓๖
ปาปวิรติมชฺชปานสํยมกถา ๓๖
อวฺหย=ชื่อ ๓๖
ยโต : โต ปจจัยเปนเครื่องหมาย ๕ วิภัตติ ๓๖
วชฺช=คำพูด ๓๗
อโวจ ๓๗
ตชฺชํ ๓๗
อนุวิธิยนาสุ ๓๘
วิลียติ ๓๙
สปตฺตา ๓๙
เผณุทฺเทหกํ ๔๐
เยสํ โน = เย มยํ ๔๐
มาริส ๔๑
นาวหเร, ภเณ=น อวหรติ, ภรติ ๔๒
อุปนาเมสิ ๔๒
ลทฺธาน ๔๓
เสหิ ๔๓
วารุณี : ษีเมาน้ำดอง ๔๓
อปฺปมาทกถา ๔๔
โยณฺณวา : สังเกตสังขยา ๔๕
สังขยา ๕, ๖ และ ๗ ประเภท ๔๗
สตฺตมคาถายตฺถวณฺณนา ๕๒
คารวกถา ๕๒
ปณฺฑุปลาส ๕๒
วตฺตํ/วฏฏํ แปลวา คาใชสอย ๕๒
ธมฺมสฺส โกวิทา : หักฉัฏฐีเปนสัตตมี ๕๔
นิวาตกถา ๕๕
เกสรสีหา : ในราชสีห ๔ ประเภท ๕๕
สนฺตุิกถา ๕๖
อิติ มาสฑฺฒ...วิตกฺกสนฺโตโส นาม ๕๖
หายติ ๕๖
ปฺาเปสิ : เปนทั้ง กัตตุ. และ เหตุ.กัต.? ๕๘
ปริสฺสยานํ สหิตา ๕๙
กปฺป ศัพท : ใชในอรรถเปรียบเทียบ ๕๙
นิทฺธเม=นิทฺธเมยฺย ๕๙
กตฺุตากถา ๖๐
ทเท=ททามิ, มุฺเจ=มุฺจามิ ๖๑
คตโยพฺพนา ๖๑
อนฺธการํ วิย ๖๑
อนฺธการาวตฺถํ ๖๑
ตโตเยว ใชในอรรถเหตุ ๖๒
อมฺพณก=เรือโกลน ๖๒
สหตฺถา : ศัพทที่แปลงเปน ส ๖๓
อภิราธเย ๖๔
ทชฺชา ๖๔
ธมฺมสฺสวนกถา ๖๕
อหนิ=ในวัน ๖๕
อุปฺปชฺชนฺตาป...วุจฺจนฺติ ๖๕
กุสโล เภริสทฺทสฺส, กุสโล สงฺขสทฺทสฺส ๖๖
ปุตฺตกํ : ก ปจจัยแปลไดหลายอยาง ๖๖
มา กโรสิ : วิธีการใช มา ปฏิเสธ ๖๖
มํ น ปฏิภาติ : หักทุติยาเปนจตุตถีและฉัฏฐีวิภัตติ ๖๘
กานนํ = ดง ปา หมูไม ๗๐
ปาทป=ตนไม ๗๐
ปริปูเรนฺติ ๗๐
ทริโต ๗๑
อมคาถายตฺถวณฺณนา ๗๒
ขนฺติกถา ๗๒
ทสหิ อกฺโกสวตฺถูหิ : อักโกสวัตถุ ๑๐ ๗๒
พหุ อตีตมทฺธาเน : พหุ ควรเปน อหุ ๗๓
ยสฺสทานิ=ยสฺส อิทานิ ๗๓
ทุรุตฺตํ=คำพูดชั่ว ๗๓
อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา: อักษรหาย ความหมายเปลี่ยน ๗๔
วโจ : แปลง อํ ทุติยาวิภัตติ เปน โอ ๗๘
ตสฺสา อตฺถิตายาติ ๗๘
ขตฺติยวคฺคฏีกา ๗๙
จกฺกาทิติกํ ๘๐
ตสฺเสว เตน ปาปโย ๘๐
ปาปกตรสฺส ๘๑
ตตฺถิโตเยว ๘๓
เวเทหิกา ๘๓
คหปตานี ๘๓
อผาสุ, อผาสุกํ ๘๔
อยฺเย ในคำวา ปสฺสถยฺเย ๘๔
ยโต=ยทา ๘๕
โสรโต ๘๕
กุรุรา/กุรูรา ๘๕
โสวจสฺสตากถา ๘๖
สุวโจ ๘๖
โสวจสฺสํ ๘๖
โสวจสฺสตา ๘๖
ปุรกฺขิตฺวา ๘๖
วิปฺปจฺจนีกสาเต : ทันตเฉทนนัย/ทันตโสธนนัย ๘๖
อนุโลมสาเต ๘๗
ขโม ๘๘
ขนฺตา ๘๘
ปฏานิภาเวน ๘๘
วิเสสาธิคมสฺส ทูเร/อทูเร ๘๘
กตฺวา เปนกิริยาปธานนัย ๙๐
อกโรนฺตา จตสฺโส ปริสา: อกโรนฺตา/อกโรนฺตี ? ๙๐
จตูสุ อปาเยสุ [อบาย ๔] ๙๑
ปฺจวิธพนฺธนกมฺมกรณานาทีสุ ๙๒
กาหนฺติ ๙๒
สมณทสฺสนกถา ๙๓
ตถาสมาหิตํ ๙๓
อชฺฌุเปกฺขิตา ๙๓
นิสินฺนสฺส ๙๓
ตตฺถาป ตโต ๙๓
สตสหสฺสมตฺตา ๙๓
มหินฺท...ปพฺพชนฺติ นาม ๙๔
ปาตุกมฺมาย ๙๔
อตีวมหา : บทวา มหา เปนได ๓ ลิงค ๙๕
อฑฺฒรตนํ ๙๖
นาค ศัพทเดียว แปลไดหลายอยาง ๙๖
วิธีแปล ขมนียํ/ยาปนียํ ๙๗
นิทฺทํ อุปคตสฺส ๙๗
ฑยฺหามิ ๙๘
ธมฺมสากจฺฉากถา ๙๘
นวมคาถายตฺถวณฺณนา ๙๙
ตปกถา ๙๙
ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา : วิเสสลาภี ๙๙
ตีติกฺขา ๙๙
มหาหํสชาตก ๙๙
ยตฺวาธิกรณเมนํ ๑๐๐
หตฺถปาทสิตหสิตกถิตวิโลกิตาทิเภทํ: ต ปจจัย ๔ สาธนะ ๑๐๑
หิ ศัพท ๑๐๒
ยถา=ยสฺมา ๑๐๓
อกมฺมฺโ ๑๐๔
มฺเ=วิย ๑๐๔
พฺรหฺมจริยกถา ๑๐๕
อหฺจ ภริยา จ : ปโรปุริส ๑๐๕
อริยสจฺจทสฺสนกถา ๑๐๖
ทุกฺขํ อริยสจฺจํ : วิเสสลาภี ๑๐๖
ภวา ๑๐๖
นิพฺพานสจฺฉิกิริยากถา ๑๐๗
กฺจิ ธมฺมํ อุปาทิยติ : แปลแลวยกขึ้นตั้งอรรถ ๑๐๗
อาลมฺเพติ ๑๐๘
อาโท ลง สฺมึ สัตตมีวิภัตติ ๑๐๘
ทสมคาถายตฺถวณฺณนา ๑๐๙
อกมฺปตจิตฺตกถา ๑๐๙
อุปายาเสหิ : อุปายาส คืออะไร ๑๐๙
อโสกจิตฺตกถา ๑๑๑
อนฺโต ลงแลวลบวิภัตติ ๑๑๑
ฌาเปสิ ๑๑๒
อาคา ๑๑๓
กาลกเต ๑๑๓
ตสฺส [ตํ อสฺส] ๑๑๓
ปริณเต ๑๑๔
วิรชจิตฺตกถา ๑๑๕
ภยมนฺตรโต ๑๑๕
เขมจิตฺตกถา ๑๑๖
ราชฺโ ๑๑๖
อิยตมกิเอสานมนฺตสฺสโร ๑๑๖
เอกาทสมคาถายตฺถวณฺณนา ๑๒๑
คจฺเฉ ๑๒๑
อุรุ ศัพท ในคำวา สิรฺยาทิมงฺคลภิธานยุโตรุเถโร ๑๒๑
บันทึกทายเลม ๑๒๒
บรรณานุกรม ๑๒๓
หนังสือที่พิมพเปนทาน ๑๒๗
รายนามผูรวมพิมพหนังสือ ๑๒๘
ปญฺจมคาถายตฺถวณฺณนา
ทานกถา
-๐-
ทปฺปนฺติ (มงฺคล. ๒/๔/๓)๑
ทปฺปนฺติ ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๔ หนา ๓ แปลวา
งมงาย ใชในอรรถเดียวกันกับ มุยฺหนฺติ (ลุมหลง)
ทปฺปนฺติ [ทปู+ย+อนฺติ] ยอมงมงาย ประกอบดวย ทปู ธาตุในความ
หัวเราะ, กระดาง, โออวด (หาสคพฺพเน)๒ ย ปจจัยในกัตตุวาจก หมวด ทิว
ธาตุ อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ, บางอาจารยวา ทปฺ ธาตุ แปลง ปฺย เปน ปฺป๓
วิกฺขาเลตฺวา (มงฺคล. ๒/๑๕/๙)
นักเรียนสงสัยวา วิกฺขาเลตฺวา ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ขอ ๑๕ หนา
๙ เปนวาจกอะไร
วิกฺขาเลตฺวา ในที่ดังกลาว เปน เหตุกัตตุวาจก, ความจริง มีผูอธิบาย
วิกฺขาเลตฺวา วาเปนไดทั้ง กัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก
วิกฺขาเลตฺวา [วิ+ขลฺ+เณ+ตฺวา] ที่เปนเหตุกัตตุวาจก แปลวา
ยัง...ใหบวนแลว ประกอบดวย วิ บทหนา ขล ธาตุในความชำระ๔ ดวย
อำนาจ วิ อุปสัคอยูหนา แปลวา บวน เณ ปจจัยในเหตุกัตตุวาจก ตฺวา
๑ ในวงเล็บ=(หนังสือมังคลัตถทีปนี พิมพครั้งที่ ๑๕ พ.ศ. ๒๕๔๙, ภาคที่ ๒/ขอ/หนา)
๒ พระวิสุทธาจารมหาเถระ รจนาที่พมา, พระราชปริยัติโมลี (อุปสโม) และคณะ
ปริวรรต, ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, (กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕),
คาถา ๑๘๐ หนา ๑๘๔.
๓ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรมกิริยาอาขยาต ฉบับธรรมเจดีย, (กรุงเทพฯ:
เรืองปญญา, ๒๕๔๕), หนา ๑๓๐.
๔ ขล โสธนมฺหิ, ดู ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๗๙ หนา ๗๗.
มังคลัตถวิภาวินี
๒
ปจจัย ดวยอำนาจ เณ ปจจัย ทีฆะ อ ตนธาตุเปน อา ลบ ณ เหลือไวแต เอ
สำเร็จรูปเปน วิกฺขาเลตฺวา
สวนที่เปน กัตตุวาจก นั้นมีองคประกอบเหมือน เหตุกัตตุวาจก แปลก
แต ลง เณ ปจจัยในกัตตุวาจก เทานั้น๑
กปฺเปตา (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓)
กปฺเปตา ศัพทเดิมเปน กปฺเปตุ (ผูสำเร็จ) แจกแบบ สตฺถุ เอา อุ
การันต กับ สิ เปน อา๒
เพราะอำนาจ สิ วิภัตติ จึงแปลงสระทายเปน อา และลบ สิ วิภัตติ
ดวยสูตรวา สตฺถุปตาทีนมา สิสฺมึ สิโลโป จ๓, ศัพทวา อาทาตา, สนฺธาตา,
อนุปฺปทาตา เปนตน (มงฺคล.๒/๕๕/๔๗-๔๘) ก็พึงทราบโดยนัยนี้
ปฏิ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๕)
ปฏิ ในขอวา ปฏิ ปจฺเจโก ปุคฺคโล ปฏิปุคฺคโล เปนอัพยยศัพท จึงไม
เปลี่ยนรูปไปตามวิภัตติ
ในที่นี้ตองการใช ปฏิ ศัพท ขยาย ปุคฺคโล (พึงสังเกตทานไขความวา
ปจฺเจโก) จึงลง สิ ปฐมาวิภัตติแลวลบเสีย ทั้งนี้มีหลักการทั่วไปวา ใหลบ
วิภัตติหลังอุปสัคและนิบาต๔
๑ บุญสืบ อินสาร, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิ
สงเสริมสามเณร ในพระสังฆราชูปถัมภ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก, ๒๕๕๕), หนา ๖๙๗.
๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค ภาคที่
๒ นามและอัพยยศัพท, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๑), หนา ๖๑.
๓ พระคันธสาราภิวงศ แปลและอธิบาย, ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑ , (นครปฐม:
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๗), หนา
๕๑๕.
๔ กจฺจายน. สูตร ๒๒๑, รูปสิทฺธิ. สูตร ๒๘๒, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๔๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๓
สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาปิ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖)
สัตตมีวิภัตติที่สัมพันธเขากับ ทา ธาตุ ใหใชในอรรถสัมปทาน คือหัก
สัตตมีวิภัตติเปนจตุตถีวิภัตติ แปลวา แก๑
หลักการลงสัตตมีวิภัตติในอรรถสัมปทานนี้ ปรากฏใชในที่
ประกอบดวย ทา ธาตุเทานั้น เพราะ ทา ธาตุ เปนธาตุที่มองหาสัมปทาน๒
ฉะนั้น สัตตมีวิภัตติดังจะแสดงตอไปนี้จึงลงในอรรถจตุตถีวิภัตติ แปลวา แก
ปฏิปนฺเน ทินฺนทานสฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓)
ทานที่ทายกให แกบุคคลผูปฏิบัติ
โสตาปนฺนาทีสุ ทินฺนทานสฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓)
ทานที่ทายกถวาย แกพระโสดาบัน เปนตน
ตตฺถ ทินฺนํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๔,๑๕)
ทานที่ทายกถวาย แกปฏิคาหกนั้น
ตตฺถ ตตฺถ ทินฺนสฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๕)
ทานที่ทายกถวายแกปฏิคาหกนั้นๆ
สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาป (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖)
แมทักษิณาที่ทายกถวาย แกสงฆ
ปุถุชฺชนสมเณ ทินฺนํ มหปฺผลตรํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗)
ทานที่ทายกถวาย แกสมณะผูเปนปุถุชน มีผลมากกวา
ขีณาสเว ทินฺนทานโต (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗)
กวาทานที่ทายกถวาย แกพระขีณาสพ
ทุสฺสีเลป ทินฺนํ มหปฺผลตรํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗)
ทานที่ทายกถวาย แมแกสมณะผูทุศีล
๑ กจฺจายน.สูตร ๓๑๑, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๖๔๒, รูปสิทฺธิ. สูตร ๓๒๕.
๒ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๑๑๓๐.
มังคลัตถวิภาวินี
๔
สนฺโต (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๘)
สนฺโต ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘ เปนพหุวจนะ ถา
นักเรียนไมศึกษาใหทั่วตลอดหรือผูสอนไมแนะนำ อาจจะเขาใจผิดคิดวาเปน
เอกวจนะ เพราะเทียบกับแบบแจก อ การันตในปุงลิงค
ที่จริง สนฺโต ในที่นี้เปน พหุวจนะ ใชเปน วิเสสนะ ของ สปฺปุริสา มี
แบบแจกเฉพาะที่นักเรียนไมคุนเคย จึงนำมาแสดงไว ดังนี้
สนฺต ศัพท แจกอยางนี้
สนฺตสทฺทปทมาลา๑
วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ
ป. สํ (สนฺโต)๒ สนฺโต สนฺตา
ทุ. สํ สนฺตํ สนฺเต
ต. สตา สนฺเตน สนฺเตหิ สนฺเตภิ สพฺภิ
จ. สโต สนฺตสฺส สนฺตานํ สตํ สตานํ
ปฺ สตา สนฺตา สนฺตสฺมา สนฺตมฺหา สนฺเตหิ สนฺเตภิ สพฺภิ
ฉ. สโต สนฺตสฺส สนฺตานํ สตํ สตานํ
ส. สติ สนฺเต สนฺตสฺมึ สนฺตมฺหิ สนฺเตสุ
อา. โภ สนฺต ภวนฺโต สนฺโต
๑ พระอัครวังสเถระ รจนา, พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และจำรูญ ธรรมดา แปล,
สัททนีติปทมาลา, (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาี-
ศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖), หนา ๕๖๘.
๒ อาจารยบางทานกลาววา สนฺโต ไมควรเปนเอกวจนะ เพราะทานอธิบายไวใน
คัมภีรสัททนีติปทมาลา (ฉบับแปล หนา ๕๗๐) วา บทวา สนฺโต อสนฺโต ใชเปนพหุพจน
เทานั้น ไมมีใชเปนเอกพจนแมสักแหง
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๕
ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ที่อางถึงนี้ ปรากฏ สนฺต ศัพทในขอความวา
ปุน จปรํ สีห ทายกํ ทานปตึ สนฺโต สปฺปุริสา ภชนฺติ ยมฺป สีห ทายกํ....
ภชนฺติ อิทมฺป สีห สนฺทิ€ิกํ ทานผลํ ฯ
[สีหะ ขออื่นยังมีอีก สัตบุรุษทั้งหลายผูสงบระงับ ยอมคบทายก
ทานบดี, สีหะ ขอที่สัตบุรุษทั้งหลายผูสงบระงับคบทายกทานบดี แมนี้ เปน
ผลแหงทานที่เห็นไดเอง]
สนฺต ศัพท ในที่นี้แปลวา ผูสงบระงับ ซึ่งเปนเพียงความหมายหนึ่งใน
หลายความหมาย ที่จริง สนฺต ศัพท มีความหมายมากถึง ๗ อยาง ไดแก
อจฺจิเต วิชฺชมาเน จ ปสตฺเถ สจฺจสาธุสุ
ขินฺเน จ สมิเต เจว สนฺโตภิเธยฺยลิงฺคิโก ฯ๑
สนฺต ศัพท ที่เปนอภิเธยยลิงคคือเปนไดทั้ง ๓ ลิงค มีอรรถ ๗ อยาง คือ
๑) อจฺจิต การบูชา
๒) วิชฺชมาน ความมีอยู
๓) ปสตฺถ การสรรเสริญ
๔) สจฺจ ความจริง
๕) สาธุ คนดี
๖) ขินฺน ความลำบากหรือความเหน็ดเหนื่อย
๗) สมิต ความสงบจากกิเลส
สนฺต ศัพท ที่แปลวา ผูสงบ นี้วิเคราะหวา กิเลเส สเมตีติ สนฺโต (สมุ
อุปสเม+ต) ผูระงับกิเลส ชื่อวา สันตะ (อาเทศ มฺ เปน นฺ)
๑ พระมหาสมปอง มุทิโต, อภิธานวรรณนา, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: บริษัท
ประยูรวงศพริ้นทติ้ง, ๒๕๔๗), คาถา ๘๔๑, ๒๒๘ หนา ๙๘๙, ๓๑๐.
มังคลัตถวิภาวินี
๖
ยทิ ศัพทใชเปน วิกปฺปตฺถ (มงฺคล.๒/๒๓/๑๘)
นักเรียนคอนขางคุนเคย ยทิ ศัพท ที่เปนนิบาตบอกปริกัป
(คาดคะเน) ลงในอรรถ ปริกปฺปตฺถ ที่แปลวา ผิวา, ถาวา, หากวา ที่จริง
ยทิ ศัพทลงในอรรถอื่นก็ได
ในที่บางแหง ยทิ ศัพทลงในอรรถแหง วา ศัพท คือลงในอรรถที่เปน
วิกปฺปน (วิกปฺปตฺถ)๑ แปลวา ก็ดี, ก็ตาม, หรือ เชน ยทิ ศัพท ในมังคลัตถ-
ทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘ ไมไดลงในอรรถ ปริกปฺปตฺถ ไมควรแปลวา
ผิวา แตลงในอรรถแหง วา ศัพท ตองแปลวา ก็ดี, ก็ตาม, หรือ; ขอความ
ดังกลาวเปนพุทธพจนมาในสีหสูตรนำมาแสดงไวดังนี้วา
»Ø¹ ¨»Ã™ ÊÕË ทายโก ทานปติ ڐà·Ç »ÃÔÊ™ ÍػʧڡÁµÔ ·Ô
¢µÚµÔ»ÃÔÊ™ Â·Ô ¾ÚÃÒËÚÁ³»ÃÔÊ™ Â·Ô ¤Ë»µÔ»ÃÔÊ™ Â·Ô ÊÁ³»ÃÔÊ™ ÇÔÊÒÃâ·
ÍػʧڡÁµÔ ÍÁ§Ú¡ØÀÙâµ...Ï
[สีหะ ขออื่นยังมีอีก ทายกทานบดีจะเขาไปยังบริษัทใดๆ จะเปน
กษัตริยก็ตาม พราหมณก็ตาม คฤหบดีก็ตาม สมณะก็ตาม เปนผูแกลวกลา
ไมเกอเขิน เขาไปยังบริษัทนั้น]
สวนคำวา ­ڐà·Ç นั้น ตัดบทเปน ยํ-ยํ-เอว แปลงนิคหิต (ตัวหนา)
กับ ย (ตัวหลัง) เปน ฺ แลวซอน ò เปน ­ڐí-àÍÇ, แลวแปลง นิคหิต
เปน ท เปน ­ڐà·Ç
๑ ดูใน จตุปทวิภาค สทฺทนีติ สุตฺตมาลา ทานวา ยทิอิติ กตฺถจิ วาสทฺทตฺเถ,
(พระอัคควังสมหาเถระ รจนา, พระมหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร ปริวรรต, สทฺทนีติ สุตฺต-
มาลา, กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๙, หนา ๓๘๙) ฉบับแปลดูที่
พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม) ตรวจชำระ, สัททนีติสุตตมาลา, นครปฐม: มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕, หนา ๑๒๗๙), ใน
เชิงอรรถฉบับแปลที่อางทานวา ยทิ ที่ลงในอรรถ วา ศัพท คือลงในอรรถ วิกปฺปน
๒ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๒๖๗.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๗
ยสสฺส [ยโส-อสฺส] (มงฺคล.๒/๒๓/๑๘)
ในคาถา ขอ ๒๓ วา ยสสฺส วฑฺฒติ [ยศของทายกนั้นยอมเจริญ]
ยสสฺส ตัดบทเปน ยโส อสฺส จัดเปนโลปสระสนธิ สระอยูหลัง ลบ
สระหนา ตอบทเปน ยสสฺส เชน กุโต+เอตฺถ=กุเตตฺถ๑
สอดคลองกับที่ทานอธิบายไวในอรรถกถาเถรคาถาวา
ยสสฺส วฑฺฒตีติ สมฺมุเข คุณาภิตฺถวสงฺขาโต ปริวารสมฺปทาสงฺขาโต
จ ยโส อสฺส ปริพฺรูหติ ฯ๒
[บทวา ยสสฺส วฑฺฒติ ความวา ยศกลาวคือความยกยองสรรเสริญคุณ
ในที่ตอหนา และยศกลาวคือความถึงพรอมดวยบริวารยอมเพิ่มพูนแกผูนั้น]
การตัดและตอบทดวยวิธีนี้ มีปรากฏในขอตอๆ ไป เชน
ยตสฺสา [ยโต อสฺสา] (มงฺคล.๒/๕๒/๔๕)
วาทสฺส [วาโท อสฺส] (มงฺคล.๒/๘๑/๗๑)
ปาปกตรสฺส [ปาปกตโร อสฺส] (มงฺคล.๒/๔๓๑/๓๓๗)
วิคาหติ (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙)
ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘-๑๙ วา อมงฺกุภูโต ปริสํ
วิคาหติ (ในคาถา)
ในหนังสือเรียนบางเลมทานแปล วิคาหติ วา ไมเบียดเบียน สวนอีก
เลม ทานแปล วิคาหติ วา เขาไป, นักเรียนสงสัยวา ควรแปลอยางไรดี
ในคำแปลทั้งสองนั้น คำแปลวา เขาไป มีผูคนควาแลวพบขอมูล
สนับสนุน สวนคำแปลวา ไมเบียดเบียน นั้น ยังหาขอมูลสนับสนุนไมพบ จึง
ฝากใหนักศึกษาคนควากันตอไป; ขอมูลที่พบนั้น มีดังนี้
๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๓๐ หนา ๔๑.
๒ เถร.อ. ๒๑๒.
มังคลัตถวิภาวินี
๘
๑. ในพจนานุกรมบาลี-อังกฤษ ฉบับสมาคมบาลีปกรณ (Pali Text
Society) วา วิคาหติ แปลวา หยั่งลง, เขาไป (to plunge into, to enter)๑ และ
พจนานุกรมบาลี-ไทยก็วา วิคาหติ ก. หยั่งลง๒
๒. ในอรรถกถา ทานอธิบายศัพทใกลเคียงกับ วิคาหติ ไว เทาที่พบ ๒
แหง คือ
๒.๑) วิคาหิยาติ อนุปวิสิตฺวา ฯ๓ วิคาหิย แปลวา เขาไป ฯ
๒.๒) วิคาหิสุนฺติ...ปกฺขนฺทึสุ ฯ๔ ÇÔ¤ÒËÔÊØ™ แปลวา แลนไป ฯ
ในขั้นนี้จึงยุติไดวา ขอใหนักเรียนแปล วิคาหติ วา เขาไป และขอ
ระงับคำแปลวา ไมเบียดเบียน นั้นไวกอนจนกวาจะพบขอมูลอางอิง
วิเนยฺย (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙)
วิเนยฺย [วิ+นี+ตูนาทิ] ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๙
เปนกิริยากิตก แปลวา นำออกแลว
วิเนยฺย ประกอบดวย วิ บทหนา นี ธาตุในความนำไป (นี นย-
ปาปุเณ)๕ แปลง อี เปน เอ แปลง ตูนาทิ ปจจัย เปน ย ซอน ย๖
๑ T. W. Rhys Davids and William Stede, The Pali text Society Pali-
English Dictionary, (London: The Pali Text Society, 2004) p. 615.
๒ พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร สระคำ), ศ.พิเศษ ดร.จำลอง สารพัดนึก,
พจนานุกรม บาลี-ไทย สำหรับนักศึกษา ฉบับปรับปรุงใหม, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพฯ:
บริษัท ธรรมสาร จำกัด, ๒๕๕๒), หนา ๔๑๘.
๓ สํ.อ. ๑/๓๖๑.
๔ ชา.อ. ๘/๒๘๖.
๕ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๑๕ หนา ๒๒๕.
๖ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรมกิริยากิตตฉบับธรรมเจดีย, (กรุงเทพฯ: เรือง-
ปญญา, ม.ป.ป.), หนา ๓๑๑.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๙
ทีฆรตฺตํ (เชน มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙)
นักเรียนสงสัยวา ทำไมทานใชศัพทวา ทีฆรตฺตํ ไมใช ทีฆรตฺตึ, ผูเขียนนี้
จึงตอบวา ที่ทานใชศัพทวา ทีฆรตฺตํ เพราะมีหลักการดังตอไปนี้
รตฺติ ศัพท เมื่อนำไปสมาสกับศัพทอื่นที่บอกจำนวนหรือบอก
ระยะเวลา เชน ทีฆ, อโห, วสฺส ใหลง อ ปจจัยที่สุดสมาสนั้น๑ รตฺติ จึง
กลายเปน รตฺต เชน ทีฆรตฺต
ในที่นี้ประกอบ อํ ทุติยาวิภัตติ จึงไดรูปเปน ทีฆรตฺตํ (ตลอดคืน
ยาวนาน), คำวา อโหรตฺตํ ก็พึงทราบดวยหลักการเดียวกันนี้, (อห เปน
มโนคณะ เมื่อสมาสเขาแลว ลบวิภัตติ เอาสระที่สุดของตนเปน โอ)๒
สหพฺเยติ (มงฺคล.๒/๒๖/๒๑)
สหพฺเยติ=ยอมเปนไป, [สห+พฺเย ปวตฺติยํ+เอ+ติ], เชนวา สหพฺเยติ
คจฺฉตีติ สหพฺโย ปรากฏในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๖ หนา ๒๑
สหพฺเยติ แปลวา ยอมเปนไป ประกอบดวย สห บทหนา พฺเย ธาตุใน
ความเปนไป (ปวตฺติยํ) หมวด ภู ธาตุ เอ ปจจัยในกัตตุวาจก ติ วัตตมานา-
วิภัตติ๓
อาณาเปสิ (เชน มงฺคล. ๒/๓๒/๒๘)
อาจารยในปจจุบันนิยมใหนักเรียนแปล อาณาเปสิ ที่เปนกัตตุวาจก
วา สั่งบังคับแลว เพราะถือตามเฉลยขอสอบ วิชา สัมพันธไทย พ.ศ. ๒๕๔๐
๑ โมคฺ. สูตร ๓.๔๕.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๓๗๕ หนา ๒๖๘.
๓ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๖๒, หนา ๒๘๐ ; และดูใน พระอัครวังสเถระ
รจนา พระธรรมโมลี ตรวจชำระ, สัททนีติธาตุมาลา, (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง-
กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖), หนา ๓๗๕.
มังคลัตถวิภาวินี
๑๐
ตรวจแกโดยกองบาลีสนามหลวง, แตถึงอยางไรก็ตาม มีอาจารยอธิบาย
อาณาเปสิ ที่เปนกัตตุวาจกไวอยางนอย ๒ นัย ไดแก
๑. อาณาเปสิ อาณ ธาตุ ในความใช-สั่งบังคับ (เปสเน)+ณาเป ปจจัย
ในกัตตุวาจก (นอกแบบ)+อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลง ส อาคม รัสสะ อี เปน อิ๑
๒. อาณาเปสิ อา บทหนา+ณาป ธาตุในความใช (เปสเน)+เณ ปจจัย
ในหมวด จุร ธาตุ+อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลง ส อาคม รัสสะ อี เปน อิ๒
ปิติปิตามหาทีหิ(มงฺคล.๒/๓๘/๓๕)
ปติปตามหาทีหิ [ปตุ+ปตามห+อาทิ+หิ ตติยาวิภัตติ] แปลวา (อัน
ญาติทั้งหลาย) มีบิดาและปูเปนตน, ปติ ในที่นี้ไมไดแปลวา ปติ แตแปลวา
บิดา ศัพทเดิมก็คือ ปตุ นั่นเอง แตเอาสระ อุ ที่ปตุ เปน อิ
วิ. ปตุ ปตา ปตามโห
บิดาของบิดา ชื่อวา ปตามหะ (ปู)
ลง อามห ปจจัยในตัทธิต๓
วิ. ปตา จ ปตามโห จ ปติปตามหา
บิดาดวย ปูดวย ชื่อวา ปติปตามหะ (เอา อุ ที่ ปตุ เปน อิ)
เปน อสมาหารทวันทวสมาส
วิ. »ÔµÔ»ÔµÒÁËÒ ÍÒ·â àÂÊí ൠ»ÔµÒÁËÒÍҷ⠐ҵ¡Ò
บิดาและปู เปนตน แหงญาติเหลาใด
ญาติเหลานั้นจึงชื่อวา มีบิดาและปูเปนตน
เปน ฉัฏฐีพหุพพิหิสมาส
๑ บุญสืบ อินสาร, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, ๒๕๕๕, หนา ๑๒๙.
๒ นิรุตติทีปนี, หนา ๕๔๘, อางถึงใน พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิชา
สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๕ ฉบับแกไข/ปรับปรุง, (กรุงเทพฯ: ประยูรสาสนไทย
การพิมพ, ๒๕๕๒), หนา ๗.
๓ โมคฺ. สูตร ๔.๓๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๑
จุดที่ควรทำความเขาใจเปนพิเศษ อยูที่ ปติ เพราะมีหลักการวา สระ
ที่สุดแหง มาตุ ศัพทเปนตน เปน อิ ได เมื่อ โต หรือ ภร ศัพท เปนตน
อยูหลัง๑ เชน มาติโต, ปติโต, ธีติโต, มาตาเปตฺติภโร, มาติปกฺโข เปนตน
คำวา ปติมตฺตํ, มาติมตฺตํ, ภาติมตฺตํ ในขอ ๖๑ หนา ๕๕ ก็พึงทราบ
วา แปลง อุ เปน อิ โดยนัยนี้เหมือนกัน
อภิญฺเยฺยา, ปริญฺเญยฺยา (มงฺคล.๒/๔๑/๓๖)
นักเรียนเห็น ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ, »ÃÔ­ÚàÂÚÂÒ ในขอวา ÍÔàÁ ¸ÁÚÁÒ
ÍÀԐÚàÂÚÂÒ ÍÔàÁ »ÃԐÚàÂÚÂÒ [ธรรมเหลานี้พึงรูยิ่ง ธรรมเหลานี้พึง
กำหนดรู] ก็เขาใจผิดคิดวา ลง อนีย ปจจัย เพราะทานใชเสมือนเปนกิริยา
คุมพากย
ความจริง สองศัพทนี้ ลง ณฺย ปจจัยในนามกิตก ใชเสมือนกิริยากิตก
เชน เต จ ภิกฺขู คารยฺหา๒
ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ [ÍÀÔ+Ò+³ÚÂ+âÂ] (¸ÁÚÁÒ) ธรรมอันบุคคลพึงรูยิ่ง,
วิเคราะหวา ÍÀԭڐҵ¾Ú¾ÒµÔ ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ (ธมฺมา) [ธรรมเหลาใด อัน
บุคคลพึงรูยิ่ง เหตุนั้นธรรมเหลานั้น จึงชื่อวา ธรรมอันบุคคลพึงรูยิ่ง] อภิ
บทหนา Ò ธาตุในความรู แปลง ณฺย กับ อา ที่สุดธาตุ เปน เอยฺย๓ ซอน
ฺ (ณฺย ปจจัยในนามกิตก เปนกัมมรูป กัมมสาธนะ)
»ÃÔ­ÚàÂÚÂÒ [»ÃÔ+Ò+³ÚÂ+âÂ] (ธมฺมา) ธรรมอันบุคคลพึงกำหนดรู,
วิเคราะหและทำตัวเหมือน ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ แปลกแต ปริ บทหนา
๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๒๗ หนา ๒๙๙.
๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค ภาคที่
๒ อาขยาตและกิตก, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒), หนา ๑๙๗.
๓ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๑๒๙ หนา ๑๐๓๙.
มังคลัตถวิภาวินี
๑๒
อานิสํโส มหา(มงฺคล.๒/๔๓/๓๘)
มหา ในที่นี้ใชเปนคุณนาม, มหา ศัพทเดิมเปน มหนฺต ตามมติที่ทาน
แสดงไวในคัมภีรสัททนีติปทมาลา ทานอาศัยตัวอยางจากพระบาลี จึงแจก
มหนฺต ศัพทไดรูปเปน มหา ครบทั้ง ๓ ลิงค๑, ดู อตีวมหา
เจตสา มนสา (มงฺคล.๒/๔๘/๔๒)
นาศึกษาวา เจตสา และ มนสา ใชตางกันอยางไร เพราะในที่บาง
แหงทานใชทั้ง เจตสา และ มนสา จึงสันนิษฐานวาใชตางกันแน เพราะถาทั้ง
๒ บทใชไดเหมือนกันทุกกรณี ทานก็คงไมจำเปนตองเรียงไวใกลกัน ๒ บท
เชน ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๔๘ หนา ๔๒ ซึ่งทานนำขอความมาจาก
ปญจกนิบาต อังคุตตรนิกาย๒ วา
ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขู ยถาสุตํ ยถาปริยตฺตํ ธมฺมํ น เจตสา
อนุวิตกฺเกนฺติ อนุวิจาเรนฺติ มนสา อนุเปกฺขนฺติ...๓
[ภิกษุทั้งหลาย ขออื่นยังมีอยูอีก ภิกษุทั้งหลาย ไมตรึกตรองไมพิจารณา
ธรรมตามที่ไดฟงไดเรียนมาดวยใจ ไมเพงดวยใจ...]
นาสังเกตวา ถา เจตสา และ มนสา ใชแทนกันไดในทุกกรณี ในที่นี้
พระองคคงจะไมตรัส มนสา ไวอีก เพราะพิจารณาในแงสัมพันธ เจตสา ก็
สามารถสัมพันธเขากับ อนุวิตกฺเกนฺติ อนุวิจาเรนฺติ อนุเปกฺขนฺติ ไดเลย
แตในที่นี้ เจตสา เปนกรณะใน อนุวิตกฺเกนฺติ และ อนุวิจาเรนฺติ สวน
มนสา เปนกรณะเปน อนุเปกฺขนฺติ
ถาพิจารณาในแงรากศัพท ทั้งสองตางกันแนนอน อยางที่เห็นปรากฏ
ชัดแลว แตทั้งสองศัพทเหมือนกันก็ตรงที่เปนมโนคณะ
๑ สัททนีติปทมาลา, หนา ๕๘๗-๕๘๘.
๒ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๕๕/๑๙๘.
๓ นี้พิมพตามที่ปรากฏในมังคลัตถทีปนี สวนในพระไตรปฎก ว่า มนสานุเปกฺขนฺติ
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๓
ในระหวางที่รอผูรูชี้แนะ ผูเขียนนี้ไดคนควาแลว พบวา ในกรณีที่ทาน
ใชศัพทในความหมายวา เพงพินิจ (คือที่ประกอบดวย อิกฺข ธาตุ) มักจะใชคู
กับ มนสา ไมใช เจตสา เชน มนสา อนุเปกฺขนฺติ หรือ มนสานุเปกฺขนฺติ๑,
มนสานุเปกฺขิตา๒ และ มนสา นั้นอรรถกถาก็แกเปน จิตฺเตน เชน
มนสานุเปกฺขิตาติ จิตฺเตน อนุเปกฺขิตา [บทวา มนสานุเปกฺขิตา
ความวา พิจารณาดวยจิต]๓ ไมพบวาทานใช เจตสา อนุเปกฺขติ
แตในที่ทั่วไป ที่ไมใช อิกฺข ธาตุ ทานใช มนสา และ เจตสา เปน
คำอธิบายของกันและกัน เชน
มนสา ทฬฺเหนาติ ทฬฺเหน มนสา ถิรสมาธิยุตฺเตน เจตสาติ อตฺโถ๔
มนสาติ อนุทฺธเตน เจตสา๕
จากขอมูลที่นำมาแสดงนี้ สรุปไดวา ทานนิยมใช มนสา แตไมนิยมใช
เจตสา ในที่ประกอบดวย อิกฺข ธาตุ แตในที่อื่นทั้ง เจตสา และ มนสา เปน
คำอธิบายของกันและกัน
ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว (มงฺคล. ๒/๕๒/๔๕)
ยตสฺสา [ยโต อสฺสา]; นักเรียนสงสัยวาทำไมทานแปล ยตสฺสา วา
เพราะ, จึงไดคนควาแลวบันทึกไวดังนี้
ในหนังสือหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๕๒ หนา ๔๕ ปรากฏ
ขอความวา
๑ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๕๕/๑๙๘.
๒ ม.มู. ๑๒/๓๗๐/๓๙๖; ม.อ. ๒/๔๑๙.
๓ ม.อ. ๒/๔๑๙.
๔ ขุทฺทก.อ. ๑/๒๔๕.
๕ องฺ.อ. ๒/๓๑๐.
มังคลัตถวิภาวินี
๑๔
อยฺหีติอาทิ ตสฺส เทสนาย ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฺปฏิ-
ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ
ขอความนี้ทานนำมาจากฎีกาวิมุตติสูตร จึงควรตามไปดูคัมภีรฎีกาที่
ทานอางวาตรงกันหรือแตกตางกันอยางไร
หลังจากไปคนดูฎีกาวิมุตติสูตร ฉบับที่ มจร. พิมพใชกันในปจจุบัน
พบวาขอความแตกตางกับที่ปรากฏในมังคลัตถทีปนี ขอความในฎีกาวา
อยํ หีติอาทิ ตสฺสํ เทสนายํ ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฏิ-
ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยํ ตถา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ๑
นาสังเกตวา ขอความในมังคลัตถทีปนีกับในฎีกาวิมุตติสูตรฉบับ มจร.
ที่ทานอางถึง ไมตรงกัน อยางนอย ๒ แหง คือ
๑. มังคลัตถทีปนีวา ตสฺส เทสนาย/ ฎีกาวา ตสฺสํ เทสนายํ
๒. มังคลัตถทีปนีวา ยตสฺสา/ ฎีกาวา ยํ ตถา
แตในหลักสูตรบาลีสนามหลวงทานมุงใหนักเรียนแปลเฉพาะใน
หนังสือเรียน จึงมุงไปที่ขอความในหนังสือเรียนนั้นเลย โดยไมตองกังวล
ขอความในฎีกา, ขอนำขอความในมังคลัตถทีปนีดังกลาว มาแสดงซ้ำอีก
และทานแปลวา
อยฺหีติอาทิ ตสฺส เทสนาย ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฺปฏิ-
ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ
[คำวา อยฺหิ ดังนี้เปนตน เปนเครื่องประกาศความที่เทศนาของภิกษุ
นั้นเปนเหตุใหบุคคลเชนนั้นไดสมาธิตามที่กลาวแลว เพราะเทศนานั้นเปน
เหตุแหงวิมุติ]
๑ องฺ.ฏี. ๓/๑๓ (สารตฺถมฺชุสา); พระสูตรนี้มาใน ปาฎิกวรรค ทีฆนิกาย อีกแหง;
ฎีกาทีฆนิกาย (ที.ฏี.๓/๓๑๖) นั้นวา อยฺหีติอาทิ ตสฺสา เทสนาย ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส
ยถาวุตฺตสมาธิ ปฏิลาภสฺส การณภาววิภาวนํ. ตสฺส วิมุตฺตายตนภาโว.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๕
ยตสฺสา ทานแปลวา เพราะ (เทศนานั้น), ผูเขียนนี้ ไดคนควาแลว
สันนิษฐานวา ยตสฺสา มีความหมายเทากับคำวา ยโต อสฺสา, ที่สันนิษฐาน
เชนนี้ เพราะขอความลักษณะเดียวกันทานแสดงไวในอรรถกถาวินัย คือ
คัมภีรสมันตปาสาทิกา ภาคที่ ๒ หนา ๒๐๕ วา
ยตสฺส จีวรเจตาปนํ อาภฏนฺติ ยโต ราชโต วา ราชโภคฺคโต วา
อสฺส ภิกฺขุโน จีวรเจตาปนํ อานีตํ ฯ
[ขอวา ยตสฺส จีวรเจตาปนํ อาภฏํ มีความวา ทรัพยสำหรับจายจีวร
ที่เขานำมาเพื่อภิกษุนั้น จากพระราชา หรือจากราชอำมาตยใด]
พึงสังเกตวา ทานอธิบาย ยตสฺส เปน ยโต อสฺส ฉะนั้น ในอรรถโยชนา
วินัย ภาคที่ ๑ หนา ๕๔๗ ทานจึงอธิบายไววา
ยตสฺสาติ ยโต อสฺส ฯ ปฺจมฺยตฺเถ โตปจฺจโยติ อาจริยา กเถนฺติ ฯ๑
[คำวา ยตสฺส ตัดบทเปน ยโต อสฺส ฯ อาจารยทั้งหลายบอกวา ลง โต ปจจัย
ในอรรถปญจมีวิภัตติ]
สอดคลองกับคัมภีรอภิธานวรรณนา คาถาที่ ๑๑๔๕ วา ยโต เปน
นิบาต ใชในอรรถการณะ๒
ขอสันนิษฐานที่วา ยตสฺสา ตัดบทเปน ยโต อสฺสา จึงไมผิดแน และ
ยโต ลงในอรรถปญจมีวิภัตติ คือลงในอรรถเหตุ หรือ การณะ เมื่อแปลลม
มาที่ประโยค ย จึงแปล ยโต วา เพราะ (ลม ย-ต จึงไมแปลวา ใด-นั้น)
ฉะนั้น จึงแนใจวา คำวา ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว มีรูปประโยคเปน
ยโต (คือ ยสฺมา) อสฺสา เทสนาย วิมุตฺตายตนภาโว แปลวา “เพราะเทศนา
นั้นเปนเหตุแหงวิมุติ” ผูศึกษาพึงพิจารณาดูเถิด
๑ วินย.อ. ๒/๒๐๕; วินย. โย. ๑/๕๔๗.
๒ พระมหาสมปอง มุทิโต, อภิธานวรรณนา, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: บริษัท
ประยูรวงศพริ้นทติ้ง, ๒๕๔๗), หนา ๑๐๗๐.
มังคลัตถวิภาวินี
๑๖
ธมฺมจริยากถา
-๐-
ติวิธํ : วิภัตติและวจนะวิปลาส (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๖)
ในขอความวา µÔÇÔ¸™ ⢠¤Ë»µâ ¡Ò๠¸ÁÚÁ¨ÃÔÂÊÁ¨ÃÔÂÒ â˵Ô
[ดูกอนพราหมณและคฤหบดีทั้งหลาย ธรรมจริยสมจริยาทางกายมี ๓ อยาง]
ทานอธิบายไวในขอ ๗๐ หนา ๖๑ วา ติวิธํ ศัพทนี้ มีวิภัตติและวจนะ
วิปลาส เปนปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ แตวาโดยความหมาย เปนตติยาวิภัตติ
พหุวจนะ และ วิธ ใชในอรรถวา สวน จึงแปลวา มี ๓ อยาง (๓ สวน)
วิธ ศัพท มีความหมาย ๓ อยาง ไดแก มานะ ความถือตัว ปการะ
ประการหรือรูปพรรณสัณฐาน และ โกฏฐาสะ สวน๑
เถยฺยสงฺขาตํ ใช้ในอรรถกรณะ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๗)
เถยฺยสงฺขาตํ เปนปฐมาวิภัตติ ใชในอรรถตติยาวิภัตติ แปลวา “ดวย
สวนจิตคิดขโมย” หรือ “ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย”
ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๕๕ หนา ๔๗ ทานนำขอความใน
สาเลยยกสูตรมาแสดงวา
Â¹Úµí »ÃÊÚÊ »ÃÇÔµÚµÙ»¡Ã³í ¤ÒÁ¤µí ÇÒ Ííڐ¤µí ÇÒ ¹ µí
Í·Ô¹Ú¹í à¶ÂÚÂʧڢҵí ÍÒ·ÒµÒ â˵Ô๒
[ทรัพยเปนอุปกรณเครื่องปลื้มใจของบุคคลอื่นนั้นใด ที่อยูในบานหรือ
ในปา ยอมเปนผูไมถือเอาทรัพยนั้นที่เขาไมใหแลว ดวยสวนจิตคิดขโมย
(หรือดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย)]
นักศึกษาพึงดูคำอธิบาย ที่พระอรรถกถาจารยอธิบายไว ในหนังสือ
มังคลัตถทีปนีนี้ ขอ ๕๘ หนา ๕๑ วา
๑ อภิธานวรรณนา, คาถา ๘๔๖ หนา ๙๙๓.
๒ ม.มู. ๑๒/๔๘๔/๕๑๙.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๗
กรณตฺเถ เจตํ ปจฺจตฺตวจนํ ตสฺมา เถยฺยสงฺขาเตนาติ อตฺถโต
·¯Ú€¾Ú¾í [คำวา เถยฺยสงฺขาตํ นั่น เปนปฐมาวิภัตติ ใชในอรรถกรณะ ฉะนั้น
โดยใจความ นักศึกษาพึงเห็นวา ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย]
สงฺขาต ศัพทในที่นี้ มีความหมายเทากับคำวา ⡯ڀÒÊ จึงแปลวา
“สวน” ไมควรแปลวา “กลาวคือ”
ฉะนั้น จึงตองแปล เถยฺยสงฺขาตํ วา ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย ไมควร
แปลวา กลาวคือความเปนขโมย
โปรี (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๘)
โปรี ทานวิเคราะหไวในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๑ หนา ๕๕ วา
¤Ø³»ÃԻسڳµÒ »Øàà ÀÇÒµÔ â»ÃÕ Ï »Øàà ʙDZڲ¹ÒÃÕ ÇÔ ÊØ¡ØÁÒÃÒµÔ»Ô
â»ÃÕ Ï »ØÃÊÚÊ àÍÊÒµÔ»Ô â»ÃÕ ฯ๑
โปรี ลง อี ปจจัย (ในตัทธิต) หลัง ปุร ศัพท แทนเนื้อความวา เปนอยู
มีอยูในที่นั้น เปนตน๒
ยิฏํ : ต ปัจจัยใช้เป็นนามนาม (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๘)
ÂÔ¯Ú€í [ยชฺ+ต+สิ] การบูชา, วัตถุอันเขาบูชาแลว (เอา ชฺ กับ ต เปน
, อ ที่ ย เปน อิ)๓ ต ปจจัยในที่นี้ใชเปนภาวสาธนะ เปนนามนาม
จึงแปลวา การบูชา เชน คมนํ คตํ การไป
แมคำวา หุตํ-การบวงสรวง (หุ ธาตุในการเซนไหว) ก็พึงทราบวา ลง
ต ปจจัยใชเปนภาวสาธนะ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๘)
๑ ที.อ. ๑/๑๑๘.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๗๘๔ หนา ๗๘๑.
๓ กจฺจายน. สูตร ๕๗๓, ๖๑๐, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๑๗๖, ๑๒๑๕.
มังคลัตถวิภาวินี
๑๘
อภิญฺา สจฺฉิกตฺวา: วัณณสนธิ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๘)
ÍÀÔ­ÚÒ ในขอวา ÊÂí ÍÀÔ­ÚÒ Ê¨Ú©Ô¡µÚÇÒ »àÇà·¹ÚµÔ เปน
ตติยาวิภัตติ แปลวา ดวยปญญาอันยิ่ง, ลบ ย ที่ ÍÀԭڐÒ ดังที่ทานแสดง
ไวในสัททนีติสุตตมาลา วา ในพระบาลีมีการลบอักษรและเปลี่ยนอักษรไป
จากเดิม เพื่อใหออกเสียงไดงาย๑
ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๕๕ หนา ๔๘ ทานนำขอความ
ในสาเลยยกสูตรมาแสดงวา
อตฺถิ โลเก สมณพฺราหฺมณา สมฺมคฺคตา สมฺมาปฏิปนฺนา เย
อิมฺจ โลกํ ปรฺจ โลกํ สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทนฺติ๒
[สมณพราหมณผูดำเนินไปดีแลว ผูปฏิบัติชอบ ผูประกาศ
ทำใหแจงซึ่งโลกนี้และโลกหนาดวยปญญาอันยิ่งเองมีอยูในโลก]
คำวา ÍÀÔ­ÚÒ ในที่นี้ใชในอรรถตติยาวิภัตติ นักศึกษาควรดูขอความ
ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๖ ในที่นั้น ทานแก ÍÀÔ­ÚÒ วา »­ÚÒÂ
ดังขอความวา
สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวาติ เย อิมฺจ โลกํ ปรฺจ โลกํ
อภิวิสิาย ปฺาย สพฺพํ ปจฺจกฺขํ กตฺวา ปเวเทนฺติ เต นตฺถิ
สวนในอรรถกถาวินัยทานอธิบายขอความนี้ไวชัดเจนทีเดียววา
สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทตีติ เอตฺถ ปน...อภิฺาติ
อภิฺาย อธิเกน าเณน ตฺวาติ อตฺโถ ฯ๓
[สวนในขอวา สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ นี้มีวินิจฉัยวา
...คำวาอภิฺา ความวา รูดวยปญญาอันยิ่ง คือ ดวยญาณอันยิ่ง]
๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๖๐ หนา ๑๓๕.
๒ ม.มู. ๑๒/๔๘๔/๕๒๐.
๓ วินย.อ. ๑/๑๓๔.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๙
ฉะนั้น อภิฺา ในที่นี้ นักเรียนควรแปลวา “ดวยปญญาอันยิ่ง”
เพราะ อภิฺา ใชในอรรถแหงตติยาวิภัตติ โดยมีความหมายเทากับคำวา
อภิฺาย ปฺาย และ าเณน
นักเรียนพึงทราบวา การลบหรือเปลี่ยนอักษรในบทหนาโดยไมเชื่อม
บทหนาใหเปนบทเดียวกับบทหลัง เรียกวา วัณณสนธิ เชน
สาธุ ทสฺสนํ - สาหุ ทสฺสนํ
โส สีลวา - ส สีลวา
ปฏิสงฺขาย โยนิโส - ปฏิสงฺขา โยนิโส
อสฺสวนตาย ธมฺมสฺส - อสฺสวนตา ธมฺมสฺส๑
ปจฺจตฺตวจนํ : ชื่อพิเศษของวิภัตติทั้ง ๗ (มงฺคล.๒/๕๘/๕๑)
ปจฺจตฺตวจนํ เปนศัพทเรียก ปฐมาวิภัตติ, ในคัมภีรทั้งหลายทานมี
ศัพทเรียกวิภัตติ ครบทั้ง ๗ (รวมอาลปนะดวยเปน ๘) ดังนี้
๑. ปจฺจตฺตวจนํ = ปฐมาวิภัตติ
๒. อุปโยควจนํ = ทุติยาวิภัตติ
๓. กรณวจนํ = ตติยาวิภัตติ
๔. สมฺปทานวจนํ = จตุตถีวิภัตติ
๕. นิสฺสกฺกวจนํ = ปญจมีวิภัตติ
๖. สามิวจนํ = ฉัฏฐีวิภัตติ
๗. ภุมฺมวจนํ = สัตตมีวิภัตติ๒
ชื่อวิภัตติชุด ปฐมาวิภัตติ เปนตนนี้ นิยมใชในไวยากรณสันสกฤต แต
ในคัมภีรฝายพุทธศาสนา เชน อรรถกถา นิยมใชชุด ปจฺจตฺตวจนํ เปนตน๓
๑ พระคันธสาราภิวงศ เรียบเรียง, พระธรรมโมลี และเวทย บรรณกรกุล ชำระ,
สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช-
วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕, หนา ๗.
๒ สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, หนา ๓๗.
๓ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๑๑๔๑.
มังคลัตถวิภาวินี
๒๐
ในการกกัณฑ แหง ปทรูปสิทฺธิ สูตรที่ ๓๒๙ ทานวา
ปจฺจตฺตมุปโยคฺจ กรณํ สมฺปทานิยํ
นิสฺสกฺกํ สามิวจนํ ภุมฺมาลปนมมนฺติ ฯ๑
ศัพทเหลานี้ ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ก็มีใช เชน (ขอ/หนา)
ปจฺจตฺตวจนํ (๕๘/๕๑; ๓๖๕/๒๗๘)
อุปโยควจนํ (๓๖๕/๒๗๘; ๖๑๙/๔๗๔; ๖๒๐/๔๗๔)
กรณวจนํ (๗๐/๖๒; ๓๖๕/๒๗๘; ๖๑๙/๔๗๔ ฯลฯ)
สามิวจนํ (๗๒/๖๕)
ภุมฺมวจนํ (๕๘๙/๔๕๔)
อิตฺถนฺนามํ (มงฺคล. ๒/๕๘/๕๒)
อิตฺถนฺนามํ [อิทํ+นาม+อํ ทุติยาวิภัตติ], นาม ศัพทอยูทาย แปลง อิทํ
ในสมาส เปน อิตฺถํ๒
สุกุมารา แปลวา อ่อนโยน(มงฺคล. ๒/๖๑/๕๕)
สุกุมารา ในขอวา ปุเร สํวฑฺฒนารี วิย สุกุมาราติปิ โปรี แหงหนังสือ
มังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๑ หนา ๕๕ เปนคุณนาม ไมใชนามนาม จึง
ควรแปล สุกุมารา วา ออนโยน, สละสลวย ไมควรแปลวา กุมารผูดี
ที่แนะใหแปลอยางนี้ เพราะในฎีกาจูฬหัตถิปโทปมสูตร เปนตน ทาน
อธิบายวา สุกุมาราติ อผรุสตาย มุทุกา ฯ [บทวา สุกุมารา อธิบายวา ชื่อวา
เปนวาจาออนโยน เพราะเปนวาจาไมหยาบ](ดู มงฺคล. ๒/๗๗/๖๗)
๑ พระพุทธัปปยเถระ แหงชมพูทวีปตอนใต รจนา, ปทรูปสิทฺธิ, (กรุงเทพฯ: ชมรม
นิรุตติศึกษา, ๒๕๔๓), สูตร ๓๒๙ หนา ๒๑๔.
๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๕๒๑ หนา ๓๖๘.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๑
ปุถุวจน= พหุวจนะ(มงฺคล. ๒/๗๐/๖๑, ๖๔)
ปุถุวจนํ ใหแปลวา พหุวจนะ เชน ในหนังสือเรียน ขอ ๗๐ หนา ๖๑
ในคำวา ͵Úⶠ»¹ ¡Ã³»Ø¶ØǨ¹Çàʹ ·¯Ú€¾Úâ¾...ฯ [สวนเนื้อความบัณฑิต
พึงเห็นวาเปนตติยาวิภัตติ พหุวจนะ]
ภาวนปุสกนิทฺเทโส= กิริยาวิเสสนะ (มงฺคล. ๒/๗๐/๖๒)
ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๗๐ หนา ๖๒ ทานวา
สมนฺติ ภาวนปุสกนิทฺเทโส
[ศัพทวา สมํ เปนศัพทแสดงภาวนปุงสกลิงค]
นักเรียนสงสัยวา ภาวนปุงสกลิงค หมายถึงอะไร, ผูเขียนนี้จึงได
คนควาและบันทึกไวดังนี้
คำวา ภาวนปุสก ใชในความหมายวา กิริยาวิเสสนะ ฉะนั้น วาโดย
ความหมายทางออมนักเรียนจะแปล ภาวนปุสก วา กิริยาวิเสสนะ ก็ได
ในคัมภีรฝายศาสนานิยมใชคำวา ภาวนปุสก สวนในคัมภีรไวยากรณ
สันสกฤต นิยมใชคำวา กิริยาวิเสสนะ๑ หรือ ธาตุวิเสสนะ๒
เมื่อจะประกอบนามศัพทใหเปนกิริยาวิเสสนะนั้น ตองลงทุติยาวิภัตติ
เอกวจนะ นปุงสกลิงค เชน ใน หนังสือเรียน ขอ ๕๖ และ ขอ ๗๐ วา
สมํ จริยา สมสฺส วา กมฺมสฺส จริยาติ สมจริยา
[ความประพฤติสม่ำเสมอ หรือความประพฤติกรรมอันชอบ เพราะ
เหตุนั้น จึงชื่อวา สมจริยา]
สมนฺติ ภาวนปุสกนิทฺเทโส
[ศัพทวา สมํ เปนศัพทแสดงภาวนปุงสกลิงค (คือ กิริยาวิเสสนะ)]
๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๕๙๐ หนา ๔๘๕.
๒ สทฺทสารตฺถชาลินี, คาถา ๗๑. พิมพรวมใน เอกตฺตึส จูฬสทฺทปฺปกรณานิ,
(กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอไอ เซ็นเตอร จำกัด, ๒๕๕๑), หนา ๗๔.
มังคลัตถวิภาวินี
๒๒
ชาต ศัพท์ เป็นต้น ใช้เป็น วจนสิลิฏก, สกตฺถ (มงฺคล. ๒/๗๔/๖๖)
ชาต ศัพท เปน วจนสิลิฏฐกะ คือลงไปเพื่อทำถอยคำใหไพเราะ จึงไม
จำเปนตองแปลออกศัพท เชน ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ หนา ๖๖ วา
อามิสชาตํ ก็คงมีความหมายเทากับ คำวา อามิส เพราะศัพทนี้ลงทายศัพท
ใด ก็ไมทำความหมายของศัพทนั้นตางไป คือมีความหมายเทาเดิมนั่นเอง
(ลงในอรรถสกัตถะ)
ในคัมภีรนิรุตติทีปนี ทานเรียกวา อาคม๑ คือลงอักษรไปทายบท เพื่อ
ความสละสลวยของคำ (วจนสิลิก) ศัพท อักษร หรือปจจัยที่ทำหนาที่
ลักษณะนี้ เชน คต, ชาต, อนฺต, ก และ ตา๒ ปจจัย สวน ภูต นิยมลงทาย
บทเพื่อใหนามนามกลายเปนคุณนาม ทั้งหมดนี้เมื่อลงไปแลวทำใหลิงคของ
ศัพทนั้นเปลี่ยนไปบางก็มี เชน
คต ทิฏคตํ มีความหมายเทากับ ทิ
ชาต ธมฺมชาตํ ” ธมฺโม
อนฺต สุตฺตนฺโต ” สุตฺตํ
ก หีนโก ” หีโน
ตา เทวตา ” เทโว
ภูต เหตุภูตํ ” เหตุ
ตอไปนี้จะนำตัวอยางปจจัยที่ลงในอรรถสกัตถะ มาแสดงไวเปน
ความรูประกอบ
ตฺต เอกตฺตํ มีความหมายเทากับ เอโก๓
๑ พระญาณธชเถระ รจนา, สมควร ถวนนอก ปริวรรต, นิรุตติทีปนี คัมภีรวาดวย
หลักไวยากรณสายโมคคัลลานะ, (กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๘), หนา ๔๔-๔๕,
และขอ ๑๘๔, ๘๓๕.
๒ เชน ปาตพฺยํ เอว ปาตพฺยตา สกตฺเถ ตาปจฺจโยฯ (วินย.โย. ๒/๒๐)
๓ ปฏิสํ.อ. ๑/๔๔๑.
พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๓
ณิก ติลสงฺกุลิกา มีความหมายเทากับ ติลสงฺกุลา๑
อิก อนนฺตรายิโก ” อนนฺตราโย๒
ณฺย กิจฺจยํ ” กิจฺจํ๓
ย ปาจิตฺติยํ ” ปาจิตฺติ๔
มย วจีมโย ” วจี๕
วิภาเวนฺติยา (มงฺคล. ๒/๗๙/๖๙)
คำวา วิภาเวนฺติยา ในที่นี้ ทานแปลวา (ดวยถอยคำ) อันจะยังผูฟงให
แจมแจง ประกอบดวย วิ บทหนา ภู ธาตุ เณ ปจจัย และ อนฺต ปจจัย
ภู ธาตุในที่นี้ ไมใช ภู ธาตุในหมวด ภู ธาตุที่แปลวา มี วาเปน แตเปน
ภู ธาตุในหมวด จุร ธาตุ แปลวา ประกาศ, ทำใหแจมแจง มีหลักทั่วไปวา ภู
ธาตุที่มี วิ เปนบทหนา ใชในอรรถวา ทำใหแจมแจง๖
เกวล ศัพท์ (มงฺคล. ๒/๘๑/๗๑)
นักเรียนคอนขางคุนเคยกับ เกวล ศัพท ที่ทานประกอบดวยทุติยา-
วิภัตติเปน เกวลํ ใชเปนกิริยาวิเสสนะ พอมาพบ เกวโล ในมังคลัตถทีปนี
ภาคที่ ๒ ขอ ๘๒ หนา ๗๑ ก็รูสึกแปลกตา, ที่จริง เกวล ศัพท เปนไดทั้ง
คุณนามและนามนาม แตในที่นี้ทานใชเปนคุณนาม
๑ วินย.โย. ๒/๓๗๕.
๒ วินย.โย. ๒/๓๙๓.
๓ วินย.โย. ๒/๔๑๗.
๔ วินย.โย. ๒/๕๘๗.
๕ ปฺจิกา.โย. ๓/๔๔๓.
๖ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๗๓ หนา ๒๙๕.
มังคลัตถวิภาวินี
๒๔
ในคัมภีรอภิธานวรรณนา คาถาที่ ๗๘๖ ทานวา เกวล ศัพทใชใน
อรรถ ๖ อยาง คือ (๑) เยภุยฺยตา มาก (๒) อัพยามิสสะ ไมปนกัน (๓) วิสัง-
โยคะ แยกกัน (๔) ทัฬหะ มั่นคง (๕) อนติเรกะ ไมเกินประมาณ (๖) อนวเสสะ
ทั้งหมด
เกวล ศัพท ที่เปนคุณนาม แจกดวยวิภัตตินามได จึงเห็น เกวล ศัพท
ในรูปตางๆ เชน เกวโล, เกวลํ, เกวเลน, เกวลสฺส, เกวลานํ
ตัวอยาง เกวล ศัพท ที่เปนคุณนาม เชน เกวโล อพฺยามิสฺโส สกโล
ปริปุณฺโณ ภิกฺขุธมฺโม กถิโต๑
ในตัวอยางดังกลาวนี้ เกวล ศัพทแปลวา ไมปนกัน, ทั้งหมด, บริบูรณ
สวนในคัมภีรอรรถโยชนา ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินีปญจิกา ที่นักเรียนมัก
เรียกวา โยชนาอภิธรรม ภาคที่ ๑ วา เกวล ประกอบดวย เกว ธาตุ (ชนเน)
และ อล ปจจัย๒
ขอนำขอความในโยชนาอภิธรรมดังกลาวนั้นมาเสนอตอผูรูใหรวมกัน
พิจารณาวา เกว ชนเน วชาทีหิ ปพฺพชาทโย๓ นิปจฺจนฺเตติ อโล แปลเทาที่
เห็นศัพทวา เกว ธาตุ ในความเกิด อล ปจจัย (โดยทำตามวิธีแหงกัจจายน-
สูตรที่ ๖๓๘ และปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๖๖๐ วา) ศัพทวา ปพฺพชา เปนตน
ทานใหสำเร็จดวย วช ธาตุ เปนตน
สวน เกวล ศัพท ที่เปนนามนาม เปนชื่อหนึ่งของพระนิพพาน เปน
นปุงสกลิงค (ดู อภิธานวรรณนา คาถาที่ ๘) บางอาจารยอธิบายวา สํสาเรหิ
๑ สุตฺต.อ. ๒/๒๖๔.
๒ พระญาณกิตติเถระ แหงเชียงใหม, อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปฺจิกา นาม อตฺถ-
โยชนา, (พิมพครั้งที่ ๗, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑), หนา ๒๖๗.
๓ ในกัจจายนสูตรและปทรูปสิทธิ ที่อางถึง เปน ปพฺพชฺชาทโย (ซอน ชฺ)
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf
มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf

More Related Content

Similar to มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf

4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
Tongsamut vorasan
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
Rose Banioki
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
Wataustin Austin
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
Tongsamut vorasan
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
Poramate Minsiri
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
Tongsamut vorasan
 

Similar to มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf (20)

ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
บาลี 13 80
บาลี 13 80บาลี 13 80
บาลี 13 80
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+21 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
1 13+อธิบายวากยสัมพันธ์+เล่ม+2
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
 
แต่งไทย ป.ธ. 9.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9.pdfแต่งไทย ป.ธ. 9.pdf
แต่งไทย ป.ธ. 9.pdf
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณแต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
 

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral) (20)

พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
พจนานุกรมบาลี - ไทย  อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdfพจนานุกรมบาลี - ไทย  อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๕ - ๘.pdf
 
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯพจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
พจนานุกรมบาลี - ไทย อรรถกถาธรรมบท ภาค ๑ - ๔ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก กรุงเทพฯ
 
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Buildingทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
 
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลีการใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
 
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลีการสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
 
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdfประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
 
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Wordsการแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
 
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdfคําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
 
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocabประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
 
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translationการแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการหลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
 
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลีธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
 
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
 
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdfสำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
 
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลีจูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
 

มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยให้นักเรียน ป.ธ.๕.pdf

  • 1.
  • 2. มังคลัตถวิภาวินี ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๕ ๏ พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) อธิบายศัพทและสำนวน มังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ประโยค ป.ธ.๕
  • 3. มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ. ๕ © พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ISBN 978-616-382-960-3 พิมพครั้งที่ ๑ - มิถุนายน ๒๕๕๘ ๔๐๐ เลม เผยแพรออนไลน ทาง facebook, สิงหาคม ๒๕๖๕ - ตนฉบับ พิมพครั้งที่ ๑ สูญหาย คงเหลือแตสวนเนื้อหา ไดพิมพทดแทนสวนที่สูญหายไปในคราวเผยแพรออนไลน ผูออกแบบปก : Phu-Best-Design.com พิสูจนอักษร : พระมหาสงวน สุทฺธิาโณ จัดทำโดย : พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) โรงพิมพ์ : บริษัท พิมพสวย จำกัด ๕/๕ ถ. เทศบาลรังสฤษฎเหนือ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กทม. ๑๐๙๐๐ โทร. ๐ ๒๙๕๓ ๙๖๐๐ ทีติดต่อ : คณะ ๗ วัดอรุณราชวราราม แขวงวัดอรุณ เขตบางกอกใหญ กทม. ๑๐๖๐๐ โทร. ๐ ๙๕๑๓๙ ๙๓๓๒
  • 4. อนุโมทนา พลเรือเอกชัยณรงค เจริญรักษ และคุณฐิติมา วิทยานนทเอกทวี โดยการดำริและประสานงานของคุณภาณุวัฒณ มีสัตย ไดแจงความ ประสงคขอเปนเจาภาพพิมพหนังสือ มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัยใหนักเรียน ป.ธ.๕ เพื่อถวายแดนักเรียน กับทั้งเพื่อเปนการบำเพ็ญธรรมวิทยาทาน ใหกวางขวางยิ่งขึ้นไป การพิมพหนังสือเลมนี้ สืบเนื่องกับหนังสือเลมกอน คือในคราวพิมพ มงคลวิเสสกถาปกาสินี (พิมพครั้งที่ ๓) ผูเขียนนี้กำชับวา ใหพิมพจำนวน จำกัดแค ๓๐๐ เลมก็พอ เพราะตองการแกไข/เพิ่มเติมอีก ในคราวนั้น ทราบวา มีโยมจำนวนหนึ่งพลาดโอกาสเปนเจาภาพ เพราะไดจำนวนเลมหนังสือเต็มอัตราที่กำหนดแลว และโยมดังกลาวนั้น ก็ถามถึงหนังสือที่กำลังรอพิมพ พรอมแจงความประสงคเปนเจาภาพไว ประจวบกับเวลานั้นหนังสือ มังคลัตถวิภาวินี กำลังเริ่มตนขึ้น จึงแจงไปยังคุณภาณุวัฒน ขอใหโยมรอพิมพหนังสือเลมนี้เปนลำดับตอไป และทางฝายอาตมภาพเองก็ขอเวลาจัดทำตนฉบับใหสำเร็จ เวลาลวงเลยมาจนกระทั่งบัดนี้ เปดภาคการศึกษาใหมแลว ตนฉบับ หนังสือจึงสำเร็จ พรอมจะเขาโรงพิมพใหเสร็จออกมาดวยทุนพิมพหนังสือ ที่คุณภาณุวัฒน รวบรวมมาไวพรอมแลว (๒๒,๐๐๐ บาท) ขออนุโมทนาคณะผูศรัทธาในธรรมทุกทาน ที่สนับสนุนการศึกษา พระปริยัติธรรมแผนกบาลีในครั้งนี้ ดวยอำนาจบุญจริยาที่รวมกันบำเพ็ญ แลว จงเปนปจจัยเพื่อความเจริญในกุศลธรรม และเพื่อความตั้งมั่นแหง พระสัทธรรมตลอดกาลนาน พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๕ มิ.ย. ๒๕๕๘
  • 5. คำนำ ในตอนตนหนังสือ มังคลัตถทีปนี ทานวา พระสูตรทั้งหลายเกิดขึ้น เพราะเหตุ ๔ ประการ ไดแก (๑) เกิดเพราะความประสงคจะทรงแสดง ธรรมตามอัธยาศัยของพระพุทธเจาเอง (๒) เกิดเพราะอัธยาศัยของผูอื่น (๓) เกิดเพราะคำถา และ (๔) เกิดเพราะมีเหตุการณปรากฏขึ้น บรรดาเหตุ ๔ ประการนี้ มงคลสูตร ซึ่งเปนที่มาของหนังสือ มังคลัตถทีปนี นั้น เกิดเพราะคำถาม แมหนังสือ มังคลัตถวิภาวินี : ไขสงสัย ใหนักเรียน ป.ธ.๕ นี้ก็เกิดขึ้นเพราะคำถามเชนกัน ดังจะเลาตอไป ในระหวางการเรียนการสอน วิชา แปลมคธเปนไทย ชั้นประโยค ป.ธ.๕ ป พ.ศ. ๒๕๕๗-๒๕๕๘ ที่สำนักเรียนวัดอรุณราชวราราม นักเรียน มีขอสงสัยตรงไหน ก็นำขอสงสัยนั้นมาถามอาจารย ฝายอาจารยเมื่อไดรับคำถามแลว ก็ตอบไปตามกำลัง หรือขอโอกาส เก็บไวตอบในภายหลัง และหลังจากตอบคำถามนั้นแลว ก็มักจะนำมาจด บันทึกไว พรอมคนควาหาคำตอบเพิ่มเติมจากคัมภีรตางๆ จนถึงสิ้นป การศึกษา คำถามและคำตอบ ก็มีจำนวนมากพอสำหรับพิมพเปนเลม หนังสือ ดังที่ปรากฏนี้เอง เนื้อหาในหนังสือเลมนี้ นอกจากจะมุงตอบคำถามใหนักเรียน มีความรูเพียงพอสำหรับสอบบาลีสนามหลวง คือมุงอธิบายหลักบาลี ไวยากรณ เปนตนแลว ยังมุงใหนักเรียนมีความรูทั่วถึง สมภูมิชั้น ป.ธ.๕ ฉะนั้น เนื้อหาบางตอนจึงเปนความรูใหมสำหรับนักเรียน เชน สังขยา ๕ ประเภท ชื่อชนบทนิยมเปนพหุวจนะ บทวา มหา เปน ๓ ลิงค เปนตน และขอใหนักเรียนศึกษาไวเปนความรูพิเศษ ซึ่งจะชวยเสริมให เขาใจบทเรียนมากขึ้น พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย) ๕ มิ.ย. ๒๕๕๘
  • 6. สารบัญ เรื่อง หนา อนุโมทนา ก คำนำ ข สารบัญ ค อักษรยอชื่อคัมภีร ฏ ปฺจมคาถายตฺถวณฺณนา ๑ ทานกถา ๑ ทปฺปนฺติ ๑ วิกฺขาเลตฺวา ๑ กปฺเปตา ๒ ปฏิ ๒ สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาป ๓ สนฺโต ๔ ยทิ ศัพทใชเปน วิกปฺปตฺถ ๖ ยสสฺส [ยโส-อสฺส] ๗ วิคาหติ ๗ วิเนยฺย ๙ ทีฆรตฺตํ ๙ สหพฺเยติ ๙ อาณาเปสิ ๙ ปติปตามหาทีหิ ๑๐ อภิฺเยฺยา, ปริฺเญยฺยา ๑๑ อานิสํโส มหา ๑๒
  • 7. เจตสา มนสา ๑๒ ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว ๑๓ ธมฺมจริยากถา ๑๖ ติวิธํ : วิภัตติและวจนะวิปลาส ๑๖ เถยฺยสงฺขาตํ ใชในอรรถกรณะ ๑๖ โปรี ๑๗ ยิฏํ : ต ปจจัยใชเปนนามนาม ๑๗ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา : วัณณสนธิ ๑๘ ปจฺจตฺตวจนํ : ชื่อพิเศษของวิภัตติทั้ง ๗ ๑๙ อิตฺถนฺนามํ ๒๐ สุกุมารา แปลวา ออนโยน ๒๐ ปุถุวจน = พหุวจนะ ๒๑ ภาวนปุสกนิทฺเทโส = กิริยาวิเสสนะ ๒๑ ชาต ศัพท เปนตน ใชเปน วจนสิลิฏก, สกตฺถ ๒๒ วิภาเวนฺติยา ๒๓ เกวล ศัพท ๒๓ อโหปุริสิกา ๒๕ วาทสฺส ตัดบทเปน วาโท+อสฺส, ภวสาโร ๒๕ โคพลิพัททนัย ๒๖ าตกสงฺคหกถา ๒๗ ปตามโห ลง อามห ปจจัย ๒๗ ปตา จ...เตสํ ยุโค ปตามหยุโค ๒๗ ปุริสคฺคหณฺเจตฺถ...สมตฺถิตํ โหติ ๒๗ ปตา จ...ปตามหทฺวนฺทาติ ๒๘ โกเลยฺยกา ๒๘
  • 8. ทฺวิชสงฺฆา, ทิโช ๒๘ อนวชฺชกมฺมกถา ๒๙ อนสนสงฺขาโต อุปวาโส ๒๙ ปสนฺนมานโส ๒๙ มหาชนปทานํ : ชื่อแควน นิยมเปนพหุวจนะ ๓๐ เสยฺยถีทํ ๓๒ กุ ในคำวา กุราชภาเวน ๓๒ ปฺจงฺคิกํ ตุริยํ = ดนตรีมีองค ๕ ๓๔ มรุกนฺตาร = ทะเลทราย ๓๔ กามทุโห ๓๕ อจฺฉสิ ๓๕ วิมลาทีสุ ๓๕ ฉคาถายตฺถวณฺณนา ๓๖ ปาปวิรติมชฺชปานสํยมกถา ๓๖ อวฺหย=ชื่อ ๓๖ ยโต : โต ปจจัยเปนเครื่องหมาย ๕ วิภัตติ ๓๖ วชฺช=คำพูด ๓๗ อโวจ ๓๗ ตชฺชํ ๓๗ อนุวิธิยนาสุ ๓๘ วิลียติ ๓๙ สปตฺตา ๓๙ เผณุทฺเทหกํ ๔๐ เยสํ โน = เย มยํ ๔๐ มาริส ๔๑
  • 9. นาวหเร, ภเณ=น อวหรติ, ภรติ ๔๒ อุปนาเมสิ ๔๒ ลทฺธาน ๔๓ เสหิ ๔๓ วารุณี : ษีเมาน้ำดอง ๔๓ อปฺปมาทกถา ๔๔ โยณฺณวา : สังเกตสังขยา ๔๕ สังขยา ๕, ๖ และ ๗ ประเภท ๔๗ สตฺตมคาถายตฺถวณฺณนา ๕๒ คารวกถา ๕๒ ปณฺฑุปลาส ๕๒ วตฺตํ/วฏฏํ แปลวา คาใชสอย ๕๒ ธมฺมสฺส โกวิทา : หักฉัฏฐีเปนสัตตมี ๕๔ นิวาตกถา ๕๕ เกสรสีหา : ในราชสีห ๔ ประเภท ๕๕ สนฺตุิกถา ๕๖ อิติ มาสฑฺฒ...วิตกฺกสนฺโตโส นาม ๕๖ หายติ ๕๖ ปฺาเปสิ : เปนทั้ง กัตตุ. และ เหตุ.กัต.? ๕๘ ปริสฺสยานํ สหิตา ๕๙ กปฺป ศัพท : ใชในอรรถเปรียบเทียบ ๕๙ นิทฺธเม=นิทฺธเมยฺย ๕๙ กตฺุตากถา ๖๐ ทเท=ททามิ, มุฺเจ=มุฺจามิ ๖๑
  • 10. คตโยพฺพนา ๖๑ อนฺธการํ วิย ๖๑ อนฺธการาวตฺถํ ๖๑ ตโตเยว ใชในอรรถเหตุ ๖๒ อมฺพณก=เรือโกลน ๖๒ สหตฺถา : ศัพทที่แปลงเปน ส ๖๓ อภิราธเย ๖๔ ทชฺชา ๖๔ ธมฺมสฺสวนกถา ๖๕ อหนิ=ในวัน ๖๕ อุปฺปชฺชนฺตาป...วุจฺจนฺติ ๖๕ กุสโล เภริสทฺทสฺส, กุสโล สงฺขสทฺทสฺส ๖๖ ปุตฺตกํ : ก ปจจัยแปลไดหลายอยาง ๖๖ มา กโรสิ : วิธีการใช มา ปฏิเสธ ๖๖ มํ น ปฏิภาติ : หักทุติยาเปนจตุตถีและฉัฏฐีวิภัตติ ๖๘ กานนํ = ดง ปา หมูไม ๗๐ ปาทป=ตนไม ๗๐ ปริปูเรนฺติ ๗๐ ทริโต ๗๑ อมคาถายตฺถวณฺณนา ๗๒ ขนฺติกถา ๗๒ ทสหิ อกฺโกสวตฺถูหิ : อักโกสวัตถุ ๑๐ ๗๒ พหุ อตีตมทฺธาเน : พหุ ควรเปน อหุ ๗๓ ยสฺสทานิ=ยสฺส อิทานิ ๗๓ ทุรุตฺตํ=คำพูดชั่ว ๗๓
  • 11. อวีจิมหานิรยํ ปจฺจเวกฺขิตฺวา: อักษรหาย ความหมายเปลี่ยน ๗๔ วโจ : แปลง อํ ทุติยาวิภัตติ เปน โอ ๗๘ ตสฺสา อตฺถิตายาติ ๗๘ ขตฺติยวคฺคฏีกา ๗๙ จกฺกาทิติกํ ๘๐ ตสฺเสว เตน ปาปโย ๘๐ ปาปกตรสฺส ๘๑ ตตฺถิโตเยว ๘๓ เวเทหิกา ๘๓ คหปตานี ๘๓ อผาสุ, อผาสุกํ ๘๔ อยฺเย ในคำวา ปสฺสถยฺเย ๘๔ ยโต=ยทา ๘๕ โสรโต ๘๕ กุรุรา/กุรูรา ๘๕ โสวจสฺสตากถา ๘๖ สุวโจ ๘๖ โสวจสฺสํ ๘๖ โสวจสฺสตา ๘๖ ปุรกฺขิตฺวา ๘๖ วิปฺปจฺจนีกสาเต : ทันตเฉทนนัย/ทันตโสธนนัย ๘๖ อนุโลมสาเต ๘๗ ขโม ๘๘ ขนฺตา ๘๘ ปฏานิภาเวน ๘๘
  • 12. วิเสสาธิคมสฺส ทูเร/อทูเร ๘๘ กตฺวา เปนกิริยาปธานนัย ๙๐ อกโรนฺตา จตสฺโส ปริสา: อกโรนฺตา/อกโรนฺตี ? ๙๐ จตูสุ อปาเยสุ [อบาย ๔] ๙๑ ปฺจวิธพนฺธนกมฺมกรณานาทีสุ ๙๒ กาหนฺติ ๙๒ สมณทสฺสนกถา ๙๓ ตถาสมาหิตํ ๙๓ อชฺฌุเปกฺขิตา ๙๓ นิสินฺนสฺส ๙๓ ตตฺถาป ตโต ๙๓ สตสหสฺสมตฺตา ๙๓ มหินฺท...ปพฺพชนฺติ นาม ๙๔ ปาตุกมฺมาย ๙๔ อตีวมหา : บทวา มหา เปนได ๓ ลิงค ๙๕ อฑฺฒรตนํ ๙๖ นาค ศัพทเดียว แปลไดหลายอยาง ๙๖ วิธีแปล ขมนียํ/ยาปนียํ ๙๗ นิทฺทํ อุปคตสฺส ๙๗ ฑยฺหามิ ๙๘ ธมฺมสากจฺฉากถา ๙๘ นวมคาถายตฺถวณฺณนา ๙๙ ตปกถา ๙๙ ขนฺตี ปรมํ ตโป ตีติกฺขา : วิเสสลาภี ๙๙ ตีติกฺขา ๙๙
  • 13. มหาหํสชาตก ๙๙ ยตฺวาธิกรณเมนํ ๑๐๐ หตฺถปาทสิตหสิตกถิตวิโลกิตาทิเภทํ: ต ปจจัย ๔ สาธนะ ๑๐๑ หิ ศัพท ๑๐๒ ยถา=ยสฺมา ๑๐๓ อกมฺมฺโ ๑๐๔ มฺเ=วิย ๑๐๔ พฺรหฺมจริยกถา ๑๐๕ อหฺจ ภริยา จ : ปโรปุริส ๑๐๕ อริยสจฺจทสฺสนกถา ๑๐๖ ทุกฺขํ อริยสจฺจํ : วิเสสลาภี ๑๐๖ ภวา ๑๐๖ นิพฺพานสจฺฉิกิริยากถา ๑๐๗ กฺจิ ธมฺมํ อุปาทิยติ : แปลแลวยกขึ้นตั้งอรรถ ๑๐๗ อาลมฺเพติ ๑๐๘ อาโท ลง สฺมึ สัตตมีวิภัตติ ๑๐๘ ทสมคาถายตฺถวณฺณนา ๑๐๙ อกมฺปตจิตฺตกถา ๑๐๙ อุปายาเสหิ : อุปายาส คืออะไร ๑๐๙ อโสกจิตฺตกถา ๑๑๑ อนฺโต ลงแลวลบวิภัตติ ๑๑๑ ฌาเปสิ ๑๑๒ อาคา ๑๑๓ กาลกเต ๑๑๓
  • 14. ตสฺส [ตํ อสฺส] ๑๑๓ ปริณเต ๑๑๔ วิรชจิตฺตกถา ๑๑๕ ภยมนฺตรโต ๑๑๕ เขมจิตฺตกถา ๑๑๖ ราชฺโ ๑๑๖ อิยตมกิเอสานมนฺตสฺสโร ๑๑๖ เอกาทสมคาถายตฺถวณฺณนา ๑๒๑ คจฺเฉ ๑๒๑ อุรุ ศัพท ในคำวา สิรฺยาทิมงฺคลภิธานยุโตรุเถโร ๑๒๑ บันทึกทายเลม ๑๒๒ บรรณานุกรม ๑๒๓ หนังสือที่พิมพเปนทาน ๑๒๗ รายนามผูรวมพิมพหนังสือ ๑๒๘
  • 15. ปญฺจมคาถายตฺถวณฺณนา ทานกถา -๐- ทปฺปนฺติ (มงฺคล. ๒/๔/๓)๑ ทปฺปนฺติ ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๔ หนา ๓ แปลวา งมงาย ใชในอรรถเดียวกันกับ มุยฺหนฺติ (ลุมหลง) ทปฺปนฺติ [ทปู+ย+อนฺติ] ยอมงมงาย ประกอบดวย ทปู ธาตุในความ หัวเราะ, กระดาง, โออวด (หาสคพฺพเน)๒ ย ปจจัยในกัตตุวาจก หมวด ทิว ธาตุ อนฺติ วัตตมานาวิภัตติ, บางอาจารยวา ทปฺ ธาตุ แปลง ปฺย เปน ปฺป๓ วิกฺขาเลตฺวา (มงฺคล. ๒/๑๕/๙) นักเรียนสงสัยวา วิกฺขาเลตฺวา ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ขอ ๑๕ หนา ๙ เปนวาจกอะไร วิกฺขาเลตฺวา ในที่ดังกลาว เปน เหตุกัตตุวาจก, ความจริง มีผูอธิบาย วิกฺขาเลตฺวา วาเปนไดทั้ง กัตตุวาจก และเหตุกัตตุวาจก วิกฺขาเลตฺวา [วิ+ขลฺ+เณ+ตฺวา] ที่เปนเหตุกัตตุวาจก แปลวา ยัง...ใหบวนแลว ประกอบดวย วิ บทหนา ขล ธาตุในความชำระ๔ ดวย อำนาจ วิ อุปสัคอยูหนา แปลวา บวน เณ ปจจัยในเหตุกัตตุวาจก ตฺวา ๑ ในวงเล็บ=(หนังสือมังคลัตถทีปนี พิมพครั้งที่ ๑๕ พ.ศ. ๒๕๔๙, ภาคที่ ๒/ขอ/หนา) ๒ พระวิสุทธาจารมหาเถระ รจนาที่พมา, พระราชปริยัติโมลี (อุปสโม) และคณะ ปริวรรต, ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, (กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๕), คาถา ๑๘๐ หนา ๑๘๔. ๓ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรมกิริยาอาขยาต ฉบับธรรมเจดีย, (กรุงเทพฯ: เรืองปญญา, ๒๕๔๕), หนา ๑๓๐. ๔ ขล โสธนมฺหิ, ดู ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๗๙ หนา ๗๗.
  • 16. มังคลัตถวิภาวินี ๒ ปจจัย ดวยอำนาจ เณ ปจจัย ทีฆะ อ ตนธาตุเปน อา ลบ ณ เหลือไวแต เอ สำเร็จรูปเปน วิกฺขาเลตฺวา สวนที่เปน กัตตุวาจก นั้นมีองคประกอบเหมือน เหตุกัตตุวาจก แปลก แต ลง เณ ปจจัยในกัตตุวาจก เทานั้น๑ กปฺเปตา (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓) กปฺเปตา ศัพทเดิมเปน กปฺเปตุ (ผูสำเร็จ) แจกแบบ สตฺถุ เอา อุ การันต กับ สิ เปน อา๒ เพราะอำนาจ สิ วิภัตติ จึงแปลงสระทายเปน อา และลบ สิ วิภัตติ ดวยสูตรวา สตฺถุปตาทีนมา สิสฺมึ สิโลโป จ๓, ศัพทวา อาทาตา, สนฺธาตา, อนุปฺปทาตา เปนตน (มงฺคล.๒/๕๕/๔๗-๔๘) ก็พึงทราบโดยนัยนี้ ปฏิ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๕) ปฏิ ในขอวา ปฏิ ปจฺเจโก ปุคฺคโล ปฏิปุคฺคโล เปนอัพยยศัพท จึงไม เปลี่ยนรูปไปตามวิภัตติ ในที่นี้ตองการใช ปฏิ ศัพท ขยาย ปุคฺคโล (พึงสังเกตทานไขความวา ปจฺเจโก) จึงลง สิ ปฐมาวิภัตติแลวลบเสีย ทั้งนี้มีหลักการทั่วไปวา ใหลบ วิภัตติหลังอุปสัคและนิบาต๔ ๑ บุญสืบ อินสาร, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, (กรุงเทพฯ: มูลนิธิ สงเสริมสามเณร ในพระสังฆราชูปถัมภ วัดพระราม ๙ กาญจนาภิเษก, ๒๕๕๕), หนา ๖๙๗. ๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ นามและอัพยยศัพท, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๓๑), หนา ๖๑. ๓ พระคันธสาราภิวงศ แปลและอธิบาย, ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑ , (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๗), หนา ๕๑๕. ๔ กจฺจายน. สูตร ๒๒๑, รูปสิทฺธิ. สูตร ๒๘๒, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๔๘.
  • 17. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๓ สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาปิ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖) สัตตมีวิภัตติที่สัมพันธเขากับ ทา ธาตุ ใหใชในอรรถสัมปทาน คือหัก สัตตมีวิภัตติเปนจตุตถีวิภัตติ แปลวา แก๑ หลักการลงสัตตมีวิภัตติในอรรถสัมปทานนี้ ปรากฏใชในที่ ประกอบดวย ทา ธาตุเทานั้น เพราะ ทา ธาตุ เปนธาตุที่มองหาสัมปทาน๒ ฉะนั้น สัตตมีวิภัตติดังจะแสดงตอไปนี้จึงลงในอรรถจตุตถีวิภัตติ แปลวา แก ปฏิปนฺเน ทินฺนทานสฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓) ทานที่ทายกให แกบุคคลผูปฏิบัติ โสตาปนฺนาทีสุ ทินฺนทานสฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๓) ทานที่ทายกถวาย แกพระโสดาบัน เปนตน ตตฺถ ทินฺนํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๔,๑๕) ทานที่ทายกถวาย แกปฏิคาหกนั้น ตตฺถ ตตฺถ ทินฺนสฺส (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๕) ทานที่ทายกถวายแกปฏิคาหกนั้นๆ สงฺเฆ ทินฺนทกฺขิณาป (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖) แมทักษิณาที่ทายกถวาย แกสงฆ ปุถุชฺชนสมเณ ทินฺนํ มหปฺผลตรํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗) ทานที่ทายกถวาย แกสมณะผูเปนปุถุชน มีผลมากกวา ขีณาสเว ทินฺนทานโต (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗) กวาทานที่ทายกถวาย แกพระขีณาสพ ทุสฺสีเลป ทินฺนํ มหปฺผลตรํ (มงฺคล. ๒/๒๑/๑๖, ๑๗) ทานที่ทายกถวาย แมแกสมณะผูทุศีล ๑ กจฺจายน.สูตร ๓๑๑, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๖๔๒, รูปสิทฺธิ. สูตร ๓๒๕. ๒ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๑๑๓๐.
  • 18. มังคลัตถวิภาวินี ๔ สนฺโต (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๘) สนฺโต ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘ เปนพหุวจนะ ถา นักเรียนไมศึกษาใหทั่วตลอดหรือผูสอนไมแนะนำ อาจจะเขาใจผิดคิดวาเปน เอกวจนะ เพราะเทียบกับแบบแจก อ การันตในปุงลิงค ที่จริง สนฺโต ในที่นี้เปน พหุวจนะ ใชเปน วิเสสนะ ของ สปฺปุริสา มี แบบแจกเฉพาะที่นักเรียนไมคุนเคย จึงนำมาแสดงไว ดังนี้ สนฺต ศัพท แจกอยางนี้ สนฺตสทฺทปทมาลา๑ วิภัตติ เอกวจนะ พหุวจนะ ป. สํ (สนฺโต)๒ สนฺโต สนฺตา ทุ. สํ สนฺตํ สนฺเต ต. สตา สนฺเตน สนฺเตหิ สนฺเตภิ สพฺภิ จ. สโต สนฺตสฺส สนฺตานํ สตํ สตานํ ปฺ สตา สนฺตา สนฺตสฺมา สนฺตมฺหา สนฺเตหิ สนฺเตภิ สพฺภิ ฉ. สโต สนฺตสฺส สนฺตานํ สตํ สตานํ ส. สติ สนฺเต สนฺตสฺมึ สนฺตมฺหิ สนฺเตสุ อา. โภ สนฺต ภวนฺโต สนฺโต ๑ พระอัครวังสเถระ รจนา, พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และจำรูญ ธรรมดา แปล, สัททนีติปทมาลา, (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาี- ศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖), หนา ๕๖๘. ๒ อาจารยบางทานกลาววา สนฺโต ไมควรเปนเอกวจนะ เพราะทานอธิบายไวใน คัมภีรสัททนีติปทมาลา (ฉบับแปล หนา ๕๗๐) วา บทวา สนฺโต อสนฺโต ใชเปนพหุพจน เทานั้น ไมมีใชเปนเอกพจนแมสักแหง
  • 19. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๕ ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ที่อางถึงนี้ ปรากฏ สนฺต ศัพทในขอความวา ปุน จปรํ สีห ทายกํ ทานปตึ สนฺโต สปฺปุริสา ภชนฺติ ยมฺป สีห ทายกํ.... ภชนฺติ อิทมฺป สีห สนฺทิ€ิกํ ทานผลํ ฯ [สีหะ ขออื่นยังมีอีก สัตบุรุษทั้งหลายผูสงบระงับ ยอมคบทายก ทานบดี, สีหะ ขอที่สัตบุรุษทั้งหลายผูสงบระงับคบทายกทานบดี แมนี้ เปน ผลแหงทานที่เห็นไดเอง] สนฺต ศัพท ในที่นี้แปลวา ผูสงบระงับ ซึ่งเปนเพียงความหมายหนึ่งใน หลายความหมาย ที่จริง สนฺต ศัพท มีความหมายมากถึง ๗ อยาง ไดแก อจฺจิเต วิชฺชมาเน จ ปสตฺเถ สจฺจสาธุสุ ขินฺเน จ สมิเต เจว สนฺโตภิเธยฺยลิงฺคิโก ฯ๑ สนฺต ศัพท ที่เปนอภิเธยยลิงคคือเปนไดทั้ง ๓ ลิงค มีอรรถ ๗ อยาง คือ ๑) อจฺจิต การบูชา ๒) วิชฺชมาน ความมีอยู ๓) ปสตฺถ การสรรเสริญ ๔) สจฺจ ความจริง ๕) สาธุ คนดี ๖) ขินฺน ความลำบากหรือความเหน็ดเหนื่อย ๗) สมิต ความสงบจากกิเลส สนฺต ศัพท ที่แปลวา ผูสงบ นี้วิเคราะหวา กิเลเส สเมตีติ สนฺโต (สมุ อุปสเม+ต) ผูระงับกิเลส ชื่อวา สันตะ (อาเทศ มฺ เปน นฺ) ๑ พระมหาสมปอง มุทิโต, อภิธานวรรณนา, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: บริษัท ประยูรวงศพริ้นทติ้ง, ๒๕๔๗), คาถา ๘๔๑, ๒๒๘ หนา ๙๘๙, ๓๑๐.
  • 20. มังคลัตถวิภาวินี ๖ ยทิ ศัพทใชเปน วิกปฺปตฺถ (มงฺคล.๒/๒๓/๑๘) นักเรียนคอนขางคุนเคย ยทิ ศัพท ที่เปนนิบาตบอกปริกัป (คาดคะเน) ลงในอรรถ ปริกปฺปตฺถ ที่แปลวา ผิวา, ถาวา, หากวา ที่จริง ยทิ ศัพทลงในอรรถอื่นก็ได ในที่บางแหง ยทิ ศัพทลงในอรรถแหง วา ศัพท คือลงในอรรถที่เปน วิกปฺปน (วิกปฺปตฺถ)๑ แปลวา ก็ดี, ก็ตาม, หรือ เชน ยทิ ศัพท ในมังคลัตถ- ทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘ ไมไดลงในอรรถ ปริกปฺปตฺถ ไมควรแปลวา ผิวา แตลงในอรรถแหง วา ศัพท ตองแปลวา ก็ดี, ก็ตาม, หรือ; ขอความ ดังกลาวเปนพุทธพจนมาในสีหสูตรนำมาแสดงไวดังนี้วา »Ø¹ ¨»Ã™ ÊÕË ทายโก ทานปติ ڐà·Ç »ÃÔÊ™ ÍػʧڡÁµÔ Â·Ô ¢µÚµÔ»ÃÔÊ™ Â·Ô ¾ÚÃÒËÚÁ³»ÃÔÊ™ Â·Ô ¤Ë»µÔ»ÃÔÊ™ Â·Ô ÊÁ³»ÃÔÊ™ ÇÔÊÒÃâ· ÍػʧڡÁµÔ ÍÁ§Ú¡ØÀÙâµ...Ï [สีหะ ขออื่นยังมีอีก ทายกทานบดีจะเขาไปยังบริษัทใดๆ จะเปน กษัตริยก็ตาม พราหมณก็ตาม คฤหบดีก็ตาม สมณะก็ตาม เปนผูแกลวกลา ไมเกอเขิน เขาไปยังบริษัทนั้น] สวนคำวา ­ڐà·Ç นั้น ตัดบทเปน ยํ-ยํ-เอว แปลงนิคหิต (ตัวหนา) กับ ย (ตัวหลัง) เปน ฺ แลวซอน ò เปน ­ڐí-àÍÇ, แลวแปลง นิคหิต เปน ท เปน ­ڐà·Ç ๑ ดูใน จตุปทวิภาค สทฺทนีติ สุตฺตมาลา ทานวา ยทิอิติ กตฺถจิ วาสทฺทตฺเถ, (พระอัคควังสมหาเถระ รจนา, พระมหาประนอม ธมฺมาลงฺกาโร ปริวรรต, สทฺทนีติ สุตฺต- มาลา, กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๙, หนา ๓๘๙) ฉบับแปลดูที่ พระธรรมโมลี (สมศักดิ์ อุปสโม) ตรวจชำระ, สัททนีติสุตตมาลา, นครปฐม: มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕, หนา ๑๒๗๙), ใน เชิงอรรถฉบับแปลที่อางทานวา ยทิ ที่ลงในอรรถ วา ศัพท คือลงในอรรถ วิกปฺปน ๒ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๒๖๗.
  • 21. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๗ ยสสฺส [ยโส-อสฺส] (มงฺคล.๒/๒๓/๑๘) ในคาถา ขอ ๒๓ วา ยสสฺส วฑฺฒติ [ยศของทายกนั้นยอมเจริญ] ยสสฺส ตัดบทเปน ยโส อสฺส จัดเปนโลปสระสนธิ สระอยูหลัง ลบ สระหนา ตอบทเปน ยสสฺส เชน กุโต+เอตฺถ=กุเตตฺถ๑ สอดคลองกับที่ทานอธิบายไวในอรรถกถาเถรคาถาวา ยสสฺส วฑฺฒตีติ สมฺมุเข คุณาภิตฺถวสงฺขาโต ปริวารสมฺปทาสงฺขาโต จ ยโส อสฺส ปริพฺรูหติ ฯ๒ [บทวา ยสสฺส วฑฺฒติ ความวา ยศกลาวคือความยกยองสรรเสริญคุณ ในที่ตอหนา และยศกลาวคือความถึงพรอมดวยบริวารยอมเพิ่มพูนแกผูนั้น] การตัดและตอบทดวยวิธีนี้ มีปรากฏในขอตอๆ ไป เชน ยตสฺสา [ยโต อสฺสา] (มงฺคล.๒/๕๒/๔๕) วาทสฺส [วาโท อสฺส] (มงฺคล.๒/๘๑/๗๑) ปาปกตรสฺส [ปาปกตโร อสฺส] (มงฺคล.๒/๔๓๑/๓๓๗) วิคาหติ (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙) ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๘-๑๙ วา อมงฺกุภูโต ปริสํ วิคาหติ (ในคาถา) ในหนังสือเรียนบางเลมทานแปล วิคาหติ วา ไมเบียดเบียน สวนอีก เลม ทานแปล วิคาหติ วา เขาไป, นักเรียนสงสัยวา ควรแปลอยางไรดี ในคำแปลทั้งสองนั้น คำแปลวา เขาไป มีผูคนควาแลวพบขอมูล สนับสนุน สวนคำแปลวา ไมเบียดเบียน นั้น ยังหาขอมูลสนับสนุนไมพบ จึง ฝากใหนักศึกษาคนควากันตอไป; ขอมูลที่พบนั้น มีดังนี้ ๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๓๐ หนา ๔๑. ๒ เถร.อ. ๒๑๒.
  • 22. มังคลัตถวิภาวินี ๘ ๑. ในพจนานุกรมบาลี-อังกฤษ ฉบับสมาคมบาลีปกรณ (Pali Text Society) วา วิคาหติ แปลวา หยั่งลง, เขาไป (to plunge into, to enter)๑ และ พจนานุกรมบาลี-ไทยก็วา วิคาหติ ก. หยั่งลง๒ ๒. ในอรรถกถา ทานอธิบายศัพทใกลเคียงกับ วิคาหติ ไว เทาที่พบ ๒ แหง คือ ๒.๑) วิคาหิยาติ อนุปวิสิตฺวา ฯ๓ วิคาหิย แปลวา เขาไป ฯ ๒.๒) วิคาหิสุนฺติ...ปกฺขนฺทึสุ ฯ๔ ÇÔ¤ÒËÔÊØ™ แปลวา แลนไป ฯ ในขั้นนี้จึงยุติไดวา ขอใหนักเรียนแปล วิคาหติ วา เขาไป และขอ ระงับคำแปลวา ไมเบียดเบียน นั้นไวกอนจนกวาจะพบขอมูลอางอิง วิเนยฺย (มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙) วิเนยฺย [วิ+นี+ตูนาทิ] ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๓ หนา ๑๙ เปนกิริยากิตก แปลวา นำออกแลว วิเนยฺย ประกอบดวย วิ บทหนา นี ธาตุในความนำไป (นี นย- ปาปุเณ)๕ แปลง อี เปน เอ แปลง ตูนาทิ ปจจัย เปน ย ซอน ย๖ ๑ T. W. Rhys Davids and William Stede, The Pali text Society Pali- English Dictionary, (London: The Pali Text Society, 2004) p. 615. ๒ พระอุดรคณาธิการ (ชวินทร สระคำ), ศ.พิเศษ ดร.จำลอง สารพัดนึก, พจนานุกรม บาลี-ไทย สำหรับนักศึกษา ฉบับปรับปรุงใหม, พิมพครั้งที่ ๖, (กรุงเทพฯ: บริษัท ธรรมสาร จำกัด, ๒๕๕๒), หนา ๔๑๘. ๓ สํ.อ. ๑/๓๖๑. ๔ ชา.อ. ๘/๒๘๖. ๕ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๑๕ หนา ๒๒๕. ๖ พันตรี ป. หลงสมบุญ, พจนานุกรมกิริยากิตตฉบับธรรมเจดีย, (กรุงเทพฯ: เรือง- ปญญา, ม.ป.ป.), หนา ๓๑๑.
  • 23. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๙ ทีฆรตฺตํ (เชน มงฺคล. ๒/๒๓/๑๙) นักเรียนสงสัยวา ทำไมทานใชศัพทวา ทีฆรตฺตํ ไมใช ทีฆรตฺตึ, ผูเขียนนี้ จึงตอบวา ที่ทานใชศัพทวา ทีฆรตฺตํ เพราะมีหลักการดังตอไปนี้ รตฺติ ศัพท เมื่อนำไปสมาสกับศัพทอื่นที่บอกจำนวนหรือบอก ระยะเวลา เชน ทีฆ, อโห, วสฺส ใหลง อ ปจจัยที่สุดสมาสนั้น๑ รตฺติ จึง กลายเปน รตฺต เชน ทีฆรตฺต ในที่นี้ประกอบ อํ ทุติยาวิภัตติ จึงไดรูปเปน ทีฆรตฺตํ (ตลอดคืน ยาวนาน), คำวา อโหรตฺตํ ก็พึงทราบดวยหลักการเดียวกันนี้, (อห เปน มโนคณะ เมื่อสมาสเขาแลว ลบวิภัตติ เอาสระที่สุดของตนเปน โอ)๒ สหพฺเยติ (มงฺคล.๒/๒๖/๒๑) สหพฺเยติ=ยอมเปนไป, [สห+พฺเย ปวตฺติยํ+เอ+ติ], เชนวา สหพฺเยติ คจฺฉตีติ สหพฺโย ปรากฏในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๒๖ หนา ๒๑ สหพฺเยติ แปลวา ยอมเปนไป ประกอบดวย สห บทหนา พฺเย ธาตุใน ความเปนไป (ปวตฺติยํ) หมวด ภู ธาตุ เอ ปจจัยในกัตตุวาจก ติ วัตตมานา- วิภัตติ๓ อาณาเปสิ (เชน มงฺคล. ๒/๓๒/๒๘) อาจารยในปจจุบันนิยมใหนักเรียนแปล อาณาเปสิ ที่เปนกัตตุวาจก วา สั่งบังคับแลว เพราะถือตามเฉลยขอสอบ วิชา สัมพันธไทย พ.ศ. ๒๕๔๐ ๑ โมคฺ. สูตร ๓.๔๕. ๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๓๗๕ หนา ๒๖๘. ๓ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๖๒, หนา ๒๘๐ ; และดูใน พระอัครวังสเถระ รจนา พระธรรมโมลี ตรวจชำระ, สัททนีติธาตุมาลา, (นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง- กรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๖), หนา ๓๗๕.
  • 24. มังคลัตถวิภาวินี ๑๐ ตรวจแกโดยกองบาลีสนามหลวง, แตถึงอยางไรก็ตาม มีอาจารยอธิบาย อาณาเปสิ ที่เปนกัตตุวาจกไวอยางนอย ๒ นัย ไดแก ๑. อาณาเปสิ อาณ ธาตุ ในความใช-สั่งบังคับ (เปสเน)+ณาเป ปจจัย ในกัตตุวาจก (นอกแบบ)+อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลง ส อาคม รัสสะ อี เปน อิ๑ ๒. อาณาเปสิ อา บทหนา+ณาป ธาตุในความใช (เปสเน)+เณ ปจจัย ในหมวด จุร ธาตุ+อี อัชชัตตนีวิภัตติ ลง ส อาคม รัสสะ อี เปน อิ๒ ปิติปิตามหาทีหิ(มงฺคล.๒/๓๘/๓๕) ปติปตามหาทีหิ [ปตุ+ปตามห+อาทิ+หิ ตติยาวิภัตติ] แปลวา (อัน ญาติทั้งหลาย) มีบิดาและปูเปนตน, ปติ ในที่นี้ไมไดแปลวา ปติ แตแปลวา บิดา ศัพทเดิมก็คือ ปตุ นั่นเอง แตเอาสระ อุ ที่ปตุ เปน อิ วิ. ปตุ ปตา ปตามโห บิดาของบิดา ชื่อวา ปตามหะ (ปู) ลง อามห ปจจัยในตัทธิต๓ วิ. ปตา จ ปตามโห จ ปติปตามหา บิดาดวย ปูดวย ชื่อวา ปติปตามหะ (เอา อุ ที่ ปตุ เปน อิ) เปน อสมาหารทวันทวสมาส วิ. »ÔµÔ»ÔµÒÁËÒ ÍÒ·â àÂÊí ൠ»ÔµÒÁËÒÍҷ⠐ҵ¡Ò บิดาและปู เปนตน แหงญาติเหลาใด ญาติเหลานั้นจึงชื่อวา มีบิดาและปูเปนตน เปน ฉัฏฐีพหุพพิหิสมาส ๑ บุญสืบ อินสาร, พจนานุกรมบาลี-ไทย ธรรมบทภาค ๑-๔, ๒๕๕๕, หนา ๑๒๙. ๒ นิรุตติทีปนี, หนา ๕๔๘, อางถึงใน พระมหานิมิตร ธมฺมสาโร และคณะ, วิชา สัมพันธไทย ธรรมบทภาคที่ ๕ ฉบับแกไข/ปรับปรุง, (กรุงเทพฯ: ประยูรสาสนไทย การพิมพ, ๒๕๕๒), หนา ๗. ๓ โมคฺ. สูตร ๔.๓๘.
  • 25. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๑ จุดที่ควรทำความเขาใจเปนพิเศษ อยูที่ ปติ เพราะมีหลักการวา สระ ที่สุดแหง มาตุ ศัพทเปนตน เปน อิ ได เมื่อ โต หรือ ภร ศัพท เปนตน อยูหลัง๑ เชน มาติโต, ปติโต, ธีติโต, มาตาเปตฺติภโร, มาติปกฺโข เปนตน คำวา ปติมตฺตํ, มาติมตฺตํ, ภาติมตฺตํ ในขอ ๖๑ หนา ๕๕ ก็พึงทราบ วา แปลง อุ เปน อิ โดยนัยนี้เหมือนกัน อภิญฺเยฺยา, ปริญฺเญยฺยา (มงฺคล.๒/๔๑/๓๖) นักเรียนเห็น ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ, »ÃÔ­ÚàÂÚÂÒ ในขอวา ÍÔàÁ ¸ÁÚÁÒ ÍÀԐÚàÂÚÂÒ ÍÔàÁ »ÃԐÚàÂÚÂÒ [ธรรมเหลานี้พึงรูยิ่ง ธรรมเหลานี้พึง กำหนดรู] ก็เขาใจผิดคิดวา ลง อนีย ปจจัย เพราะทานใชเสมือนเปนกิริยา คุมพากย ความจริง สองศัพทนี้ ลง ณฺย ปจจัยในนามกิตก ใชเสมือนกิริยากิตก เชน เต จ ภิกฺขู คารยฺหา๒ ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ [ÍÀÔ+Ò+³ÚÂ+âÂ] (¸ÁÚÁÒ) ธรรมอันบุคคลพึงรูยิ่ง, วิเคราะหวา ÍÀԭڐҵ¾Ú¾ÒµÔ ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ (ธมฺมา) [ธรรมเหลาใด อัน บุคคลพึงรูยิ่ง เหตุนั้นธรรมเหลานั้น จึงชื่อวา ธรรมอันบุคคลพึงรูยิ่ง] อภิ บทหนา Ò ธาตุในความรู แปลง ณฺย กับ อา ที่สุดธาตุ เปน เอยฺย๓ ซอน ฺ (ณฺย ปจจัยในนามกิตก เปนกัมมรูป กัมมสาธนะ) »ÃÔ­ÚàÂÚÂÒ [»ÃÔ+Ò+³ÚÂ+âÂ] (ธมฺมา) ธรรมอันบุคคลพึงกำหนดรู, วิเคราะหและทำตัวเหมือน ÍÀÔ­ÚàÂÚÂÒ แปลกแต ปริ บทหนา ๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๔๒๗ หนา ๒๙๙. ๒ สมเด็จพระมหาสมณเจา กรมพระยาวชิรญาณวโรรส, บาลีไวยากรณ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ อาขยาตและกิตก, (กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๒), หนา ๑๙๗. ๓ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๑๒๙ หนา ๑๐๓๙.
  • 26. มังคลัตถวิภาวินี ๑๒ อานิสํโส มหา(มงฺคล.๒/๔๓/๓๘) มหา ในที่นี้ใชเปนคุณนาม, มหา ศัพทเดิมเปน มหนฺต ตามมติที่ทาน แสดงไวในคัมภีรสัททนีติปทมาลา ทานอาศัยตัวอยางจากพระบาลี จึงแจก มหนฺต ศัพทไดรูปเปน มหา ครบทั้ง ๓ ลิงค๑, ดู อตีวมหา เจตสา มนสา (มงฺคล.๒/๔๘/๔๒) นาศึกษาวา เจตสา และ มนสา ใชตางกันอยางไร เพราะในที่บาง แหงทานใชทั้ง เจตสา และ มนสา จึงสันนิษฐานวาใชตางกันแน เพราะถาทั้ง ๒ บทใชไดเหมือนกันทุกกรณี ทานก็คงไมจำเปนตองเรียงไวใกลกัน ๒ บท เชน ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๔๘ หนา ๔๒ ซึ่งทานนำขอความมาจาก ปญจกนิบาต อังคุตตรนิกาย๒ วา ปุน จปรํ ภิกฺขเว ภิกฺขู ยถาสุตํ ยถาปริยตฺตํ ธมฺมํ น เจตสา อนุวิตกฺเกนฺติ อนุวิจาเรนฺติ มนสา อนุเปกฺขนฺติ...๓ [ภิกษุทั้งหลาย ขออื่นยังมีอยูอีก ภิกษุทั้งหลาย ไมตรึกตรองไมพิจารณา ธรรมตามที่ไดฟงไดเรียนมาดวยใจ ไมเพงดวยใจ...] นาสังเกตวา ถา เจตสา และ มนสา ใชแทนกันไดในทุกกรณี ในที่นี้ พระองคคงจะไมตรัส มนสา ไวอีก เพราะพิจารณาในแงสัมพันธ เจตสา ก็ สามารถสัมพันธเขากับ อนุวิตกฺเกนฺติ อนุวิจาเรนฺติ อนุเปกฺขนฺติ ไดเลย แตในที่นี้ เจตสา เปนกรณะใน อนุวิตกฺเกนฺติ และ อนุวิจาเรนฺติ สวน มนสา เปนกรณะเปน อนุเปกฺขนฺติ ถาพิจารณาในแงรากศัพท ทั้งสองตางกันแนนอน อยางที่เห็นปรากฏ ชัดแลว แตทั้งสองศัพทเหมือนกันก็ตรงที่เปนมโนคณะ ๑ สัททนีติปทมาลา, หนา ๕๘๗-๕๘๘. ๒ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๕๕/๑๙๘. ๓ นี้พิมพตามที่ปรากฏในมังคลัตถทีปนี สวนในพระไตรปฎก ว่า มนสานุเปกฺขนฺติ
  • 27. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๓ ในระหวางที่รอผูรูชี้แนะ ผูเขียนนี้ไดคนควาแลว พบวา ในกรณีที่ทาน ใชศัพทในความหมายวา เพงพินิจ (คือที่ประกอบดวย อิกฺข ธาตุ) มักจะใชคู กับ มนสา ไมใช เจตสา เชน มนสา อนุเปกฺขนฺติ หรือ มนสานุเปกฺขนฺติ๑, มนสานุเปกฺขิตา๒ และ มนสา นั้นอรรถกถาก็แกเปน จิตฺเตน เชน มนสานุเปกฺขิตาติ จิตฺเตน อนุเปกฺขิตา [บทวา มนสานุเปกฺขิตา ความวา พิจารณาดวยจิต]๓ ไมพบวาทานใช เจตสา อนุเปกฺขติ แตในที่ทั่วไป ที่ไมใช อิกฺข ธาตุ ทานใช มนสา และ เจตสา เปน คำอธิบายของกันและกัน เชน มนสา ทฬฺเหนาติ ทฬฺเหน มนสา ถิรสมาธิยุตฺเตน เจตสาติ อตฺโถ๔ มนสาติ อนุทฺธเตน เจตสา๕ จากขอมูลที่นำมาแสดงนี้ สรุปไดวา ทานนิยมใช มนสา แตไมนิยมใช เจตสา ในที่ประกอบดวย อิกฺข ธาตุ แตในที่อื่นทั้ง เจตสา และ มนสา เปน คำอธิบายของกันและกัน ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว (มงฺคล. ๒/๕๒/๔๕) ยตสฺสา [ยโต อสฺสา]; นักเรียนสงสัยวาทำไมทานแปล ยตสฺสา วา เพราะ, จึงไดคนควาแลวบันทึกไวดังนี้ ในหนังสือหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๕๒ หนา ๔๕ ปรากฏ ขอความวา ๑ องฺ.ปฺจก. ๒๒/๑๕๕/๑๙๘. ๒ ม.มู. ๑๒/๓๗๐/๓๙๖; ม.อ. ๒/๔๑๙. ๓ ม.อ. ๒/๔๑๙. ๔ ขุทฺทก.อ. ๑/๒๔๕. ๕ องฺ.อ. ๒/๓๑๐.
  • 28. มังคลัตถวิภาวินี ๑๔ อยฺหีติอาทิ ตสฺส เทสนาย ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฺปฏิ- ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ ขอความนี้ทานนำมาจากฎีกาวิมุตติสูตร จึงควรตามไปดูคัมภีรฎีกาที่ ทานอางวาตรงกันหรือแตกตางกันอยางไร หลังจากไปคนดูฎีกาวิมุตติสูตร ฉบับที่ มจร. พิมพใชกันในปจจุบัน พบวาขอความแตกตางกับที่ปรากฏในมังคลัตถทีปนี ขอความในฎีกาวา อยํ หีติอาทิ ตสฺสํ เทสนายํ ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฏิ- ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยํ ตถา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ๑ นาสังเกตวา ขอความในมังคลัตถทีปนีกับในฎีกาวิมุตติสูตรฉบับ มจร. ที่ทานอางถึง ไมตรงกัน อยางนอย ๒ แหง คือ ๑. มังคลัตถทีปนีวา ตสฺส เทสนาย/ ฎีกาวา ตสฺสํ เทสนายํ ๒. มังคลัตถทีปนีวา ยตสฺสา/ ฎีกาวา ยํ ตถา แตในหลักสูตรบาลีสนามหลวงทานมุงใหนักเรียนแปลเฉพาะใน หนังสือเรียน จึงมุงไปที่ขอความในหนังสือเรียนนั้นเลย โดยไมตองกังวล ขอความในฎีกา, ขอนำขอความในมังคลัตถทีปนีดังกลาว มาแสดงซ้ำอีก และทานแปลวา อยฺหีติอาทิ ตสฺส เทสนาย ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิปฺปฏิ- ลาภสฺส การณภาววิภาวนํ ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว ฯ [คำวา อยฺหิ ดังนี้เปนตน เปนเครื่องประกาศความที่เทศนาของภิกษุ นั้นเปนเหตุใหบุคคลเชนนั้นไดสมาธิตามที่กลาวแลว เพราะเทศนานั้นเปน เหตุแหงวิมุติ] ๑ องฺ.ฏี. ๓/๑๓ (สารตฺถมฺชุสา); พระสูตรนี้มาใน ปาฎิกวรรค ทีฆนิกาย อีกแหง; ฎีกาทีฆนิกาย (ที.ฏี.๓/๓๑๖) นั้นวา อยฺหีติอาทิ ตสฺสา เทสนาย ตาทิสสฺส ปุคฺคลสฺส ยถาวุตฺตสมาธิ ปฏิลาภสฺส การณภาววิภาวนํ. ตสฺส วิมุตฺตายตนภาโว.
  • 29. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๕ ยตสฺสา ทานแปลวา เพราะ (เทศนานั้น), ผูเขียนนี้ ไดคนควาแลว สันนิษฐานวา ยตสฺสา มีความหมายเทากับคำวา ยโต อสฺสา, ที่สันนิษฐาน เชนนี้ เพราะขอความลักษณะเดียวกันทานแสดงไวในอรรถกถาวินัย คือ คัมภีรสมันตปาสาทิกา ภาคที่ ๒ หนา ๒๐๕ วา ยตสฺส จีวรเจตาปนํ อาภฏนฺติ ยโต ราชโต วา ราชโภคฺคโต วา อสฺส ภิกฺขุโน จีวรเจตาปนํ อานีตํ ฯ [ขอวา ยตสฺส จีวรเจตาปนํ อาภฏํ มีความวา ทรัพยสำหรับจายจีวร ที่เขานำมาเพื่อภิกษุนั้น จากพระราชา หรือจากราชอำมาตยใด] พึงสังเกตวา ทานอธิบาย ยตสฺส เปน ยโต อสฺส ฉะนั้น ในอรรถโยชนา วินัย ภาคที่ ๑ หนา ๕๔๗ ทานจึงอธิบายไววา ยตสฺสาติ ยโต อสฺส ฯ ปฺจมฺยตฺเถ โตปจฺจโยติ อาจริยา กเถนฺติ ฯ๑ [คำวา ยตสฺส ตัดบทเปน ยโต อสฺส ฯ อาจารยทั้งหลายบอกวา ลง โต ปจจัย ในอรรถปญจมีวิภัตติ] สอดคลองกับคัมภีรอภิธานวรรณนา คาถาที่ ๑๑๔๕ วา ยโต เปน นิบาต ใชในอรรถการณะ๒ ขอสันนิษฐานที่วา ยตสฺสา ตัดบทเปน ยโต อสฺสา จึงไมผิดแน และ ยโต ลงในอรรถปญจมีวิภัตติ คือลงในอรรถเหตุ หรือ การณะ เมื่อแปลลม มาที่ประโยค ย จึงแปล ยโต วา เพราะ (ลม ย-ต จึงไมแปลวา ใด-นั้น) ฉะนั้น จึงแนใจวา คำวา ยตสฺสา วิมุตฺตายตนภาโว มีรูปประโยคเปน ยโต (คือ ยสฺมา) อสฺสา เทสนาย วิมุตฺตายตนภาโว แปลวา “เพราะเทศนา นั้นเปนเหตุแหงวิมุติ” ผูศึกษาพึงพิจารณาดูเถิด ๑ วินย.อ. ๒/๒๐๕; วินย. โย. ๑/๕๔๗. ๒ พระมหาสมปอง มุทิโต, อภิธานวรรณนา, พิมพครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: บริษัท ประยูรวงศพริ้นทติ้ง, ๒๕๔๗), หนา ๑๐๗๐.
  • 30. มังคลัตถวิภาวินี ๑๖ ธมฺมจริยากถา -๐- ติวิธํ : วิภัตติและวจนะวิปลาส (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๖) ในขอความวา µÔÇÔ¸™ ⢠¤Ë»µâ ¡Ò๠¸ÁÚÁ¨ÃÔÂÊÁ¨ÃÔÂÒ âËµÔ [ดูกอนพราหมณและคฤหบดีทั้งหลาย ธรรมจริยสมจริยาทางกายมี ๓ อยาง] ทานอธิบายไวในขอ ๗๐ หนา ๖๑ วา ติวิธํ ศัพทนี้ มีวิภัตติและวจนะ วิปลาส เปนปฐมาวิภัตติ เอกวจนะ แตวาโดยความหมาย เปนตติยาวิภัตติ พหุวจนะ และ วิธ ใชในอรรถวา สวน จึงแปลวา มี ๓ อยาง (๓ สวน) วิธ ศัพท มีความหมาย ๓ อยาง ไดแก มานะ ความถือตัว ปการะ ประการหรือรูปพรรณสัณฐาน และ โกฏฐาสะ สวน๑ เถยฺยสงฺขาตํ ใช้ในอรรถกรณะ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๗) เถยฺยสงฺขาตํ เปนปฐมาวิภัตติ ใชในอรรถตติยาวิภัตติ แปลวา “ดวย สวนจิตคิดขโมย” หรือ “ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย” ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๕๕ หนา ๔๗ ทานนำขอความใน สาเลยยกสูตรมาแสดงวา Â¹Úµí »ÃÊÚÊ »ÃÇÔµÚµÙ»¡Ã³í ¤ÒÁ¤µí ÇÒ Ííڐ¤µí ÇÒ ¹ µí Í·Ô¹Ú¹í à¶ÂÚÂʧڢҵí ÍÒ·ÒµÒ â˵Ô๒ [ทรัพยเปนอุปกรณเครื่องปลื้มใจของบุคคลอื่นนั้นใด ที่อยูในบานหรือ ในปา ยอมเปนผูไมถือเอาทรัพยนั้นที่เขาไมใหแลว ดวยสวนจิตคิดขโมย (หรือดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย)] นักศึกษาพึงดูคำอธิบาย ที่พระอรรถกถาจารยอธิบายไว ในหนังสือ มังคลัตถทีปนีนี้ ขอ ๕๘ หนา ๕๑ วา ๑ อภิธานวรรณนา, คาถา ๘๔๖ หนา ๙๙๓. ๒ ม.มู. ๑๒/๔๘๔/๕๑๙.
  • 31. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๗ กรณตฺเถ เจตํ ปจฺจตฺตวจนํ ตสฺมา เถยฺยสงฺขาเตนาติ อตฺถโต ·¯Ú€¾Ú¾í [คำวา เถยฺยสงฺขาตํ นั่น เปนปฐมาวิภัตติ ใชในอรรถกรณะ ฉะนั้น โดยใจความ นักศึกษาพึงเห็นวา ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย] สงฺขาต ศัพทในที่นี้ มีความหมายเทากับคำวา ⡯ڀÒÊ จึงแปลวา “สวน” ไมควรแปลวา “กลาวคือ” ฉะนั้น จึงตองแปล เถยฺยสงฺขาตํ วา ดวยสวนจิตเปนเหตุขโมย ไมควร แปลวา กลาวคือความเปนขโมย โปรี (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๘) โปรี ทานวิเคราะหไวในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๑ หนา ๕๕ วา ¤Ø³»ÃԻسڳµÒ »Øàà ÀÇÒµÔ â»ÃÕ Ï »Øàà ʙDZڲ¹ÒÃÕ ÇÔ ÊØ¡ØÁÒÃÒµÔ»Ô â»ÃÕ Ï »ØÃÊÚÊ àÍÊÒµÔ»Ô â»ÃÕ ฯ๑ โปรี ลง อี ปจจัย (ในตัทธิต) หลัง ปุร ศัพท แทนเนื้อความวา เปนอยู มีอยูในที่นั้น เปนตน๒ ยิฏํ : ต ปัจจัยใช้เป็นนามนาม (มงฺคล. ๒/๕๕/๔๘) ÂÔ¯Ú€í [ยชฺ+ต+สิ] การบูชา, วัตถุอันเขาบูชาแลว (เอา ชฺ กับ ต เปน , อ ที่ ย เปน อิ)๓ ต ปจจัยในที่นี้ใชเปนภาวสาธนะ เปนนามนาม จึงแปลวา การบูชา เชน คมนํ คตํ การไป แมคำวา หุตํ-การบวงสรวง (หุ ธาตุในการเซนไหว) ก็พึงทราบวา ลง ต ปจจัยใชเปนภาวสาธนะ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๘) ๑ ที.อ. ๑/๑๑๘. ๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๗๘๔ หนา ๗๘๑. ๓ กจฺจายน. สูตร ๕๗๓, ๖๑๐, สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๑๗๖, ๑๒๑๕.
  • 32. มังคลัตถวิภาวินี ๑๘ อภิญฺา สจฺฉิกตฺวา: วัณณสนธิ (มงฺคล.๒/๕๕/๔๘) ÍÀÔ­ÚÒ ในขอวา ÊÂí ÍÀÔ­ÚÒ Ê¨Ú©Ô¡µÚÇÒ »àÇà·¹ÚµÔ เปน ตติยาวิภัตติ แปลวา ดวยปญญาอันยิ่ง, ลบ ย ที่ ÍÀԭڐÒ ดังที่ทานแสดง ไวในสัททนีติสุตตมาลา วา ในพระบาลีมีการลบอักษรและเปลี่ยนอักษรไป จากเดิม เพื่อใหออกเสียงไดงาย๑ ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๕๕ หนา ๔๘ ทานนำขอความ ในสาเลยยกสูตรมาแสดงวา อตฺถิ โลเก สมณพฺราหฺมณา สมฺมคฺคตา สมฺมาปฏิปนฺนา เย อิมฺจ โลกํ ปรฺจ โลกํ สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทนฺติ๒ [สมณพราหมณผูดำเนินไปดีแลว ผูปฏิบัติชอบ ผูประกาศ ทำใหแจงซึ่งโลกนี้และโลกหนาดวยปญญาอันยิ่งเองมีอยูในโลก] คำวา ÍÀÔ­ÚÒ ในที่นี้ใชในอรรถตติยาวิภัตติ นักศึกษาควรดูขอความ ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๖ ในที่นั้น ทานแก ÍÀÔ­ÚÒ วา »­ÚÒ ดังขอความวา สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวาติ เย อิมฺจ โลกํ ปรฺจ โลกํ อภิวิสิาย ปฺาย สพฺพํ ปจฺจกฺขํ กตฺวา ปเวเทนฺติ เต นตฺถิ สวนในอรรถกถาวินัยทานอธิบายขอความนี้ไวชัดเจนทีเดียววา สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทตีติ เอตฺถ ปน...อภิฺาติ อภิฺาย อธิเกน าเณน ตฺวาติ อตฺโถ ฯ๓ [สวนในขอวา สยํ อภิฺา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ นี้มีวินิจฉัยวา ...คำวาอภิฺา ความวา รูดวยปญญาอันยิ่ง คือ ดวยญาณอันยิ่ง] ๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๑๖๐ หนา ๑๓๕. ๒ ม.มู. ๑๒/๔๘๔/๕๒๐. ๓ วินย.อ. ๑/๑๓๔.
  • 33. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๑๙ ฉะนั้น อภิฺา ในที่นี้ นักเรียนควรแปลวา “ดวยปญญาอันยิ่ง” เพราะ อภิฺา ใชในอรรถแหงตติยาวิภัตติ โดยมีความหมายเทากับคำวา อภิฺาย ปฺาย และ าเณน นักเรียนพึงทราบวา การลบหรือเปลี่ยนอักษรในบทหนาโดยไมเชื่อม บทหนาใหเปนบทเดียวกับบทหลัง เรียกวา วัณณสนธิ เชน สาธุ ทสฺสนํ - สาหุ ทสฺสนํ โส สีลวา - ส สีลวา ปฏิสงฺขาย โยนิโส - ปฏิสงฺขา โยนิโส อสฺสวนตาย ธมฺมสฺส - อสฺสวนตา ธมฺมสฺส๑ ปจฺจตฺตวจนํ : ชื่อพิเศษของวิภัตติทั้ง ๗ (มงฺคล.๒/๕๘/๕๑) ปจฺจตฺตวจนํ เปนศัพทเรียก ปฐมาวิภัตติ, ในคัมภีรทั้งหลายทานมี ศัพทเรียกวิภัตติ ครบทั้ง ๗ (รวมอาลปนะดวยเปน ๘) ดังนี้ ๑. ปจฺจตฺตวจนํ = ปฐมาวิภัตติ ๒. อุปโยควจนํ = ทุติยาวิภัตติ ๓. กรณวจนํ = ตติยาวิภัตติ ๔. สมฺปทานวจนํ = จตุตถีวิภัตติ ๕. นิสฺสกฺกวจนํ = ปญจมีวิภัตติ ๖. สามิวจนํ = ฉัฏฐีวิภัตติ ๗. ภุมฺมวจนํ = สัตตมีวิภัตติ๒ ชื่อวิภัตติชุด ปฐมาวิภัตติ เปนตนนี้ นิยมใชในไวยากรณสันสกฤต แต ในคัมภีรฝายพุทธศาสนา เชน อรรถกถา นิยมใชชุด ปจฺจตฺตวจนํ เปนตน๓ ๑ พระคันธสาราภิวงศ เรียบเรียง, พระธรรมโมลี และเวทย บรรณกรกุล ชำระ, สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช- วิทยาลัย วิทยาเขตบาีศึกษาพุทธโฆส, ๒๕๔๕, หนา ๗. ๒ สังวรรณนามัญชรี และ สังวรรณนานิยาม, หนา ๓๗. ๓ ปทรูปสิทธิมัญชรี เลม ๑, หนา ๑๑๔๑.
  • 34. มังคลัตถวิภาวินี ๒๐ ในการกกัณฑ แหง ปทรูปสิทฺธิ สูตรที่ ๓๒๙ ทานวา ปจฺจตฺตมุปโยคฺจ กรณํ สมฺปทานิยํ นิสฺสกฺกํ สามิวจนํ ภุมฺมาลปนมมนฺติ ฯ๑ ศัพทเหลานี้ ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ก็มีใช เชน (ขอ/หนา) ปจฺจตฺตวจนํ (๕๘/๕๑; ๓๖๕/๒๗๘) อุปโยควจนํ (๓๖๕/๒๗๘; ๖๑๙/๔๗๔; ๖๒๐/๔๗๔) กรณวจนํ (๗๐/๖๒; ๓๖๕/๒๗๘; ๖๑๙/๔๗๔ ฯลฯ) สามิวจนํ (๗๒/๖๕) ภุมฺมวจนํ (๕๘๙/๔๕๔) อิตฺถนฺนามํ (มงฺคล. ๒/๕๘/๕๒) อิตฺถนฺนามํ [อิทํ+นาม+อํ ทุติยาวิภัตติ], นาม ศัพทอยูทาย แปลง อิทํ ในสมาส เปน อิตฺถํ๒ สุกุมารา แปลวา อ่อนโยน(มงฺคล. ๒/๖๑/๕๕) สุกุมารา ในขอวา ปุเร สํวฑฺฒนารี วิย สุกุมาราติปิ โปรี แหงหนังสือ มังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๖๑ หนา ๕๕ เปนคุณนาม ไมใชนามนาม จึง ควรแปล สุกุมารา วา ออนโยน, สละสลวย ไมควรแปลวา กุมารผูดี ที่แนะใหแปลอยางนี้ เพราะในฎีกาจูฬหัตถิปโทปมสูตร เปนตน ทาน อธิบายวา สุกุมาราติ อผรุสตาย มุทุกา ฯ [บทวา สุกุมารา อธิบายวา ชื่อวา เปนวาจาออนโยน เพราะเปนวาจาไมหยาบ](ดู มงฺคล. ๒/๗๗/๖๗) ๑ พระพุทธัปปยเถระ แหงชมพูทวีปตอนใต รจนา, ปทรูปสิทฺธิ, (กรุงเทพฯ: ชมรม นิรุตติศึกษา, ๒๕๔๓), สูตร ๓๒๙ หนา ๒๑๔. ๒ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๕๒๑ หนา ๓๖๘.
  • 35. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๑ ปุถุวจน= พหุวจนะ(มงฺคล. ๒/๗๐/๖๑, ๖๔) ปุถุวจนํ ใหแปลวา พหุวจนะ เชน ในหนังสือเรียน ขอ ๗๐ หนา ๖๑ ในคำวา ͵Úⶠ»¹ ¡Ã³»Ø¶ØǨ¹Çàʹ ·¯Ú€¾Úâ¾...ฯ [สวนเนื้อความบัณฑิต พึงเห็นวาเปนตติยาวิภัตติ พหุวจนะ] ภาวนปุสกนิทฺเทโส= กิริยาวิเสสนะ (มงฺคล. ๒/๗๐/๖๒) ในหนังสือมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๗๐ หนา ๖๒ ทานวา สมนฺติ ภาวนปุสกนิทฺเทโส [ศัพทวา สมํ เปนศัพทแสดงภาวนปุงสกลิงค] นักเรียนสงสัยวา ภาวนปุงสกลิงค หมายถึงอะไร, ผูเขียนนี้จึงได คนควาและบันทึกไวดังนี้ คำวา ภาวนปุสก ใชในความหมายวา กิริยาวิเสสนะ ฉะนั้น วาโดย ความหมายทางออมนักเรียนจะแปล ภาวนปุสก วา กิริยาวิเสสนะ ก็ได ในคัมภีรฝายศาสนานิยมใชคำวา ภาวนปุสก สวนในคัมภีรไวยากรณ สันสกฤต นิยมใชคำวา กิริยาวิเสสนะ๑ หรือ ธาตุวิเสสนะ๒ เมื่อจะประกอบนามศัพทใหเปนกิริยาวิเสสนะนั้น ตองลงทุติยาวิภัตติ เอกวจนะ นปุงสกลิงค เชน ใน หนังสือเรียน ขอ ๕๖ และ ขอ ๗๐ วา สมํ จริยา สมสฺส วา กมฺมสฺส จริยาติ สมจริยา [ความประพฤติสม่ำเสมอ หรือความประพฤติกรรมอันชอบ เพราะ เหตุนั้น จึงชื่อวา สมจริยา] สมนฺติ ภาวนปุสกนิทฺเทโส [ศัพทวา สมํ เปนศัพทแสดงภาวนปุงสกลิงค (คือ กิริยาวิเสสนะ)] ๑ สัททนีติสุตตมาลา, สูตร ๕๙๐ หนา ๔๘๕. ๒ สทฺทสารตฺถชาลินี, คาถา ๗๑. พิมพรวมใน เอกตฺตึส จูฬสทฺทปฺปกรณานิ, (กรุงเทพฯ: บริษัท ซีเอไอ เซ็นเตอร จำกัด, ๒๕๕๑), หนา ๗๔.
  • 36. มังคลัตถวิภาวินี ๒๒ ชาต ศัพท์ เป็นต้น ใช้เป็น วจนสิลิฏก, สกตฺถ (มงฺคล. ๒/๗๔/๖๖) ชาต ศัพท เปน วจนสิลิฏฐกะ คือลงไปเพื่อทำถอยคำใหไพเราะ จึงไม จำเปนตองแปลออกศัพท เชน ในมังคลัตถทีปนี ภาค ๒ หนา ๖๖ วา อามิสชาตํ ก็คงมีความหมายเทากับ คำวา อามิส เพราะศัพทนี้ลงทายศัพท ใด ก็ไมทำความหมายของศัพทนั้นตางไป คือมีความหมายเทาเดิมนั่นเอง (ลงในอรรถสกัตถะ) ในคัมภีรนิรุตติทีปนี ทานเรียกวา อาคม๑ คือลงอักษรไปทายบท เพื่อ ความสละสลวยของคำ (วจนสิลิก) ศัพท อักษร หรือปจจัยที่ทำหนาที่ ลักษณะนี้ เชน คต, ชาต, อนฺต, ก และ ตา๒ ปจจัย สวน ภูต นิยมลงทาย บทเพื่อใหนามนามกลายเปนคุณนาม ทั้งหมดนี้เมื่อลงไปแลวทำใหลิงคของ ศัพทนั้นเปลี่ยนไปบางก็มี เชน คต ทิฏคตํ มีความหมายเทากับ ทิ ชาต ธมฺมชาตํ ” ธมฺโม อนฺต สุตฺตนฺโต ” สุตฺตํ ก หีนโก ” หีโน ตา เทวตา ” เทโว ภูต เหตุภูตํ ” เหตุ ตอไปนี้จะนำตัวอยางปจจัยที่ลงในอรรถสกัตถะ มาแสดงไวเปน ความรูประกอบ ตฺต เอกตฺตํ มีความหมายเทากับ เอโก๓ ๑ พระญาณธชเถระ รจนา, สมควร ถวนนอก ปริวรรต, นิรุตติทีปนี คัมภีรวาดวย หลักไวยากรณสายโมคคัลลานะ, (กรุงเทพฯ: ไทยรายวันการพิมพ, ๒๕๔๘), หนา ๔๔-๔๕, และขอ ๑๘๔, ๘๓๕. ๒ เชน ปาตพฺยํ เอว ปาตพฺยตา สกตฺเถ ตาปจฺจโยฯ (วินย.โย. ๒/๒๐) ๓ ปฏิสํ.อ. ๑/๔๔๑.
  • 37. พระมหานพพร อริยาโณ (สีเนย์) ๒๓ ณิก ติลสงฺกุลิกา มีความหมายเทากับ ติลสงฺกุลา๑ อิก อนนฺตรายิโก ” อนนฺตราโย๒ ณฺย กิจฺจยํ ” กิจฺจํ๓ ย ปาจิตฺติยํ ” ปาจิตฺติ๔ มย วจีมโย ” วจี๕ วิภาเวนฺติยา (มงฺคล. ๒/๗๙/๖๙) คำวา วิภาเวนฺติยา ในที่นี้ ทานแปลวา (ดวยถอยคำ) อันจะยังผูฟงให แจมแจง ประกอบดวย วิ บทหนา ภู ธาตุ เณ ปจจัย และ อนฺต ปจจัย ภู ธาตุในที่นี้ ไมใช ภู ธาตุในหมวด ภู ธาตุที่แปลวา มี วาเปน แตเปน ภู ธาตุในหมวด จุร ธาตุ แปลวา ประกาศ, ทำใหแจมแจง มีหลักทั่วไปวา ภู ธาตุที่มี วิ เปนบทหนา ใชในอรรถวา ทำใหแจมแจง๖ เกวล ศัพท์ (มงฺคล. ๒/๘๑/๗๑) นักเรียนคอนขางคุนเคยกับ เกวล ศัพท ที่ทานประกอบดวยทุติยา- วิภัตติเปน เกวลํ ใชเปนกิริยาวิเสสนะ พอมาพบ เกวโล ในมังคลัตถทีปนี ภาคที่ ๒ ขอ ๘๒ หนา ๗๑ ก็รูสึกแปลกตา, ที่จริง เกวล ศัพท เปนไดทั้ง คุณนามและนามนาม แตในที่นี้ทานใชเปนคุณนาม ๑ วินย.โย. ๒/๓๗๕. ๒ วินย.โย. ๒/๓๙๓. ๓ วินย.โย. ๒/๔๑๗. ๔ วินย.โย. ๒/๕๘๗. ๕ ปฺจิกา.โย. ๓/๔๔๓. ๖ ธาตวัตถสังคหปาฐนิสสยะ, คาถา ๒๗๓ หนา ๒๙๕.
  • 38. มังคลัตถวิภาวินี ๒๔ ในคัมภีรอภิธานวรรณนา คาถาที่ ๗๘๖ ทานวา เกวล ศัพทใชใน อรรถ ๖ อยาง คือ (๑) เยภุยฺยตา มาก (๒) อัพยามิสสะ ไมปนกัน (๓) วิสัง- โยคะ แยกกัน (๔) ทัฬหะ มั่นคง (๕) อนติเรกะ ไมเกินประมาณ (๖) อนวเสสะ ทั้งหมด เกวล ศัพท ที่เปนคุณนาม แจกดวยวิภัตตินามได จึงเห็น เกวล ศัพท ในรูปตางๆ เชน เกวโล, เกวลํ, เกวเลน, เกวลสฺส, เกวลานํ ตัวอยาง เกวล ศัพท ที่เปนคุณนาม เชน เกวโล อพฺยามิสฺโส สกโล ปริปุณฺโณ ภิกฺขุธมฺโม กถิโต๑ ในตัวอยางดังกลาวนี้ เกวล ศัพทแปลวา ไมปนกัน, ทั้งหมด, บริบูรณ สวนในคัมภีรอรรถโยชนา ชื่ออภิธัมมัตถวิภาวินีปญจิกา ที่นักเรียนมัก เรียกวา โยชนาอภิธรรม ภาคที่ ๑ วา เกวล ประกอบดวย เกว ธาตุ (ชนเน) และ อล ปจจัย๒ ขอนำขอความในโยชนาอภิธรรมดังกลาวนั้นมาเสนอตอผูรูใหรวมกัน พิจารณาวา เกว ชนเน วชาทีหิ ปพฺพชาทโย๓ นิปจฺจนฺเตติ อโล แปลเทาที่ เห็นศัพทวา เกว ธาตุ ในความเกิด อล ปจจัย (โดยทำตามวิธีแหงกัจจายน- สูตรที่ ๖๓๘ และปทรูปสิทธิ สูตรที่ ๖๖๐ วา) ศัพทวา ปพฺพชา เปนตน ทานใหสำเร็จดวย วช ธาตุ เปนตน สวน เกวล ศัพท ที่เปนนามนาม เปนชื่อหนึ่งของพระนิพพาน เปน นปุงสกลิงค (ดู อภิธานวรรณนา คาถาที่ ๘) บางอาจารยอธิบายวา สํสาเรหิ ๑ สุตฺต.อ. ๒/๒๖๔. ๒ พระญาณกิตติเถระ แหงเชียงใหม, อภิธมฺมตฺถวิภาวินิยา ปฺจิกา นาม อตฺถ- โยชนา, (พิมพครั้งที่ ๗, กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑), หนา ๒๖๗. ๓ ในกัจจายนสูตรและปทรูปสิทธิ ที่อางถึง เปน ปพฺพชฺชาทโย (ซอน ชฺ)