SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
การทดสอบอุป กรณ์ร ีไ ซเคิล กากอะซีโ ตนที่ใ ช้พ ลัง งานความร้อ น
                ทิ้ง จากเครื่อ งปรับ อากาศ
 A testing apparatus of recycling waste acetone as used airconditioning waste heat recovery

  การประชุม วิช าการการถ่า ยเทพลัง งานความร้อ นและมวลในอุป กรณ์ด ้า นความร้อ นและ
วรวุฒ ิ กาญจนกิต ติช ย 1 วิโ รจน์ ฤทธิ์ท อง 2
                       ั           กระบวนการ ครัง ที่ 5
                                                 ้
สหรัต น์ วงษ์ศ รีษ ะ 3                        บทคัด ย่อ
สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1,2 คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1381        บทความนี้นำาเสนอผลการทดสอบอุปกรณ์ที่ใช้ใน
ถ.ประชาราษฎร์ 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ        การรีไซเคิลกากอะซิโตนที่ใช้พลังงานอย่างมี
กรุงเทพมหานคร โทรศัพ ท์ : 02-9132424 ต่อ 38   ประสิทธิภาพ เครื่องมือวิจัยใช้อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมา
สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ 3 คณะ                   เพื่อถ่ายเทพลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
                                              มาใช้เป็นพลังงาน และใช้เครื่องมือทางสถิติเพื่อ
มงคลพระนคร 1381 ถ.ประชาราษฎร์ 1 แขวง
บางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร โทรศัพ ท์ :  สรุปผลทดลอง ผลทีได้จากการศึกษาครั้งนี้คือความ
                                                                    ่
02-9132424 ต่อ 38                             สามารถของอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อถ่ายโอนความ
E-mail : warawutk62@gmail.com                 ร้อนสำาหรับการรีไซเคิลอะซิโตนจากเครื่องปรับ
E-mail : wrritthong@gmail.com                 อากาศได้ 396.72 วัตต์ ในส่วนของการรีไซเคิล
                                              กากโตนสามารถนำากลับมาได้ 99.0% มีคาเฉลี่ย่
                                              อัตราการรีไซเคิล 248 กรัมต่อชั่วโมง นวัตกรรม
                                              ที่สร้างขึ้นนี้ได้จากแนวคิดการจัดการอุตสาหกรรม
                                              เพื่อความยังยืนควบคู่ไปกับกลยุทธการจัดการสิ่ง
                                                           ่
                                              แวดล้อมเพื่อความยั่งยืน

                                                  Abstract

                                                  This paper presents the results of the test
  Graphcial Abstract                              equipment used in the recycling of waste acetone
                                                  using energy efficiently. The purpose of this study
                                                  is a device designed testing Research tool used to
                                                  build up the air conditioner to transfer the heat
                                                  energy to be used as energy. and used statistical
                                                  tools to summarize the results of experiments.The
                                                  results were obtained from devices designed for
                                                  transferring waste heat from the air conditioner
                                                  recirculating back into use 396.72 watt. Part way
                                                  of the waste recycling can be brought back to
                                                  reuse up to 99.0%. average recycling rate 248
                                                  grams per hour. This has created an innovative
                                                  concept of sustainability management industry,
                                                  along with strategies for sustainable
                                                  environmental management.

                                                  Keyword
                                                  Acetone Recycle ,Heat Transfer,Waste Heat
                                                  Recovery
al; ] กล่าวถึงเครื่องรีไซเคิลที่ประกอบด้วยระบบชุด
                                                  กลั่นอัตโนมัติ เป็นต้นแบบ นอกเหนือไปจากนี้ยังมี
                                                  งานวิจยที่แสดงกระบวนในการรีไซเคิลตัวทำาละลาย
                                                          ั
บทนำา(Introduction)                               [2-6] จากแนวโน้มการใช้ตัวทำาลายของภาค
                                                  อุตสาหกรรมและแนวทางของการรีไซเคิลตัวทำา
    อะซีโตนเป็นตัวทำาละลาย(Solvent)ที่มความ
                                          ี
                                                  ละลายที่ต้องการความบริสุทธิ์ของสารเพื่อการใช้
สำาคัญต่ออุตสาหกรรมประเภทต่างๆเป็นอย่างมาก
ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมการผลิตยา อุตสาหกรรม ซำ้าได้แล้วในปัจจุบันต้องคำานึงถึงด้านการใช้
อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรม        พลังงานที่ใช้ในกระบวน การรีไซเคิลเพิ่มขึ้นมาอีก
พลาสติก อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ ซึ่งใน            ด้วย
ปัจจุบันมีการใช้งานเป็นวงกว้าง
มาก[Grogan,2005] มีอัตราการใช้งานเพิ่มมาก            ความสำาคัญของงานวิจัยนี้เชื่อมโยงอยู่ที่การใช้
ขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำาให้ปริมาณการผลิตอะซีโตน       อะซีโตนในอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์ของ
ของอุตสาหกรรมปริโตเคมีในปี 2010 มากถึง 6.7 ประเทศไทย โดยมีข้อสรุปจากแนวโน้มการเติบโต
ล้านตัน[Raman,2010] ผลจากความต้องการใช้ ของอุตสาหกรรมยานยนต์เพิ่มขึ้นและเมื่อนำามา
อะซีโตนของภาคอุตสาหกรรมซึ่ง ยังมีแนวโน้ม
                                                  เปรียบเทียบกับปริมาณการใช้อะซีโตนพบว่ามีแนว
ความต้องการใช้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี
ผลกระทบจากการใช้อะซีโตนเป็นตัวทำาละลายของ โน้มในทิศทางเดียวกัน การใช้อะซีโตนในภาคการ
อุตสาหกรรมประเภทต่างๆ นั้นก่อให้เกิดกากของอะ ผลิตของประเทศไทยที่กำาลังจะก้าวเข้าสู่สังคม
ซีโตนซึ่งเป็นของเหลือทิ้งจำานวนมาก[ Pius K.W.     เศรษฐกิจอาเซี่ยนในปีพ.ศ.2558 จะต้องมีการผลิต
Lau,Albert Koeing : 2001] ,[ Hideki               รถยนต์เพิ่มขึ้นและมีแนวโน้มชัดเจนมาก
Tsukamoto : 2003] ระบบการจัดการกำาจัดของ
เสียที่ต้องการเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาช่วยในการ         ในกระบวนการหนึ่งของการผลิตรถยนต์ที่
รีไซเคิลเพื่อทำาให้อะซีโตนมีความบริสุทธิ์มากพอที่ ต้องการควบคุมเป็นอย่างดีคือการพ่นสีและเคลือบ
จะนำากลับมาใช้ซำ้าได้จึงยังมีอยู่เสมอ             เงาตัวถังรถยนต์ ผลผลิตทีดีมีคุณภาพเกิดได้จาก
                                                                              ่
    จากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ        การมีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ
รีไซเคิลสารอินทรีย์เหลวพบว่าการกลั่นเป็นวิธีสกัด วิธีการที่สำาคัญคือความสะอาดของเครื่องมือและ
สารปนเปื้อนได้ดีที่สด ที่ผานมามีงานวิจัยทีนำาเสนอ อุปกรณ์งานพ่นสีทั้งในระหว่างการทำางานและภาย
                     ุ    ่                 ่
การพัฒนากระบวนการกลั่นด้วยเครื่องมือและ           หลังเสร็จงาน จากเหตุผลนี้ทำาให้อุตสาหกรรมผลิต
อุปกรณ์รวมถึงวิธีการต่างๆ เพื่อทำาให้อะซีโตนมี    ยานยนต์เพิ่มจำานวนการใช้อะซีโตนซึงมีความ
                                                                                        ่
ความบริสุทธิกลับคืนมาใช้ซำ้าได้ เช่น [Peter W.    สัมพันธ์แบบแปรผันตรง
D. van der Heijden ;1994 ] กล่าวถึงนวัตกรรม
                                                    จากกิจกรรมเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับ
ของกลั่นสุญญกาศที่มีระบบระบายความร้อนแบบ        ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ด้วยการพ่นสีและเคลือบเงาตัว
หมุนวนนำ้าทำาความเย็นเพื่อทำาให้เกิดการควบแน่น  ถังรถยนต์นี้ เมื่อศึกษาวงจรชีวตของอะซีโตนเชิงลึก
                                                                              ิ
ของไอด้วยปั้มสุญญกาศ [Masaru Noro;2008]         พบว่าในปัจจุบันมีสถิตของการส่งออกกากอะซีโตน
                                                                       ิ
[Chungsing Wang; 2003 ]กล่างวถึงเครื่องกลั่น    ที่เหลือจากกิจกรรมการผลิตแล้วไปต่างประเทศเป็น
แบบบคอมแพ็คซึงเป็นต้นแบบที่ปลดเรื่องการทำา
                ่                               จำานวนมากในแต่ละปี ทำาให้เกิดข้อสงสัยที่นา  ่
สุญญากาศออกไป [Na Tanga and et al; 2005]        สนใจและนำาไปสู่การทำาวิจัยโดยตังคำาถามว่า “ การ
                                                                                  ้
การกลั่นแบบแว็ก คัม-เมมเบรน [Masaru             ศึกษานี้ต้องทดสอบการนำาความร้อนทิ้งของเครื่อง
Noro;2008 ]กล่าวถึงสร้างเครื่องกลั่นสุญญกาศ     ปรับอากาศมาใช้เป็นพลังงานในการกลั่นกากอะซี
เพื่อใช้แยกสารปนเปื้อนและทำาให้ตัวทำาละลายมี    โตนเพื่อกู้คืนอะซีโตนซึ่งประกอบด้วยการหาอัตรากู้
ความบริสุทธิ์ [William W. Berry ; 2011]กล่าวถึง คืนกากอะซีโตนที่มีสารปนเปื้อนต่างกัน 3
การกลั่นแบบแยกส่วนความดัน [Na Tanga and et
อัตราส่วนและทำาให้อะซีโตนมีความบริสุทธิมาก             ทดลองแบบ B รีไซเคิลอะซีโตนที่สัดส่วน
พอที่จะนำาไปใช้ซำ้าได้ ”                              ของสารปนเปื้อนของอะซีโตนและสีที่ 80:20
                                                      ควบคุมอุณหภมิไว้ที่ 60 0C
2.อุป กรณ์ร ีไ ซเคิล และวิธ ีก าร
รีไ ซเคิล (Apparatus and Methodology)                       ทดลองแบบ C รีไซเคิลอะซีโตนที่
                                                      สัดส่วนของสารปนเปื้อนของอะซีโตนและสีที่
  2.1 อุปกรณ์การทดลอง (Apparatus)                     70:30 ควบคุมอุณหภมิไว้ที่ 50 0C

                                                      3.ผลการทดลอง (Result)
                                                      3.1ผลการทดลองอุปกรณ์ถ่ายเทพลังงาน
                                                      ความร้อนจากเครื่องปรับอากาศถ่ายเทให้กับ
                                                      นำ้าในอุปกรณ์รีไซเคิล




                         รูปที่ 1 แผนผังของ
เครื่องรีไซเคิลอะซีโตน

  2.2 วิธีการทดลอง (Experimental)                รูปที่ 2 พฤติกรรมการถ่ายเทความร้อนของอุปกรณ์
    2.2.1การรีไซเคิลแบบใช้พลังงานถ่ายเท                              รีไซเคิล
    ความร้อนจากเครื่องปรับอากาศให้กับ
    สาร(นำ้า) จำานวน 1 กิโลกรัมที่บรรจุใน        ผลทดลองในรูปที่ 1 เป็นผลของการทดลองการ
    อุปกรณ์กลั่น                                 ถ่ายเทพลังงานความร้อนของระบบเครื่องปรับ
    2.2.2 การทดลองรีไซเคิลอะซีโตนแบบใช้          อากาศผ่านอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนของเครื่องปรับ
    พลังงานถ่ายเทความร้อนจากเครื่องปรับอากา
                                                 อากาศ (Heat Exchanger Device) การทดลอง
    รีไซเคิลอะซีโตนที่มีสารปนเปื้อน จำานวน 1.0
    กิโลกรัม                                     นี้ใช้นำ้าสะอาดเป็นตัวแทนสารทีจะนำามารีไซเคิล
                                                                                    ่
    2.2.3 การทดลองรีไซเคิลอะซีโตนแบบใช้ฮีท       จำานวน 1.0 กิโลกรัม ใส่ไว้ในอุกรณ์รีไซเคิล
    เตอร์มาร่วมกับการถ่ายเทความร้อนจากเครื่อง    อุณหภูมิเริ่มต้นที่ 32.00 C เมื่อสิ้นสุดเวลาการ
    ปรับอากาศ (ฮีทเตอร์ 1550 Watt)มีอุปกรณ์      ทดลอง 1.0 ชัวโมง ผลทดลองพบว่ามีการถ่ายเท
                                                                  ่
    ควบคุมอุณหภูมิ(Temp.Controller)การ           พลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศมาสู่นำ้าและ
    ทดลองทำาเป็น 3 แบบ โดยเริ่มต้นให้ความ
                                                 ทำาให้นำ้ามีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นเป็น 74.10C (เส้นสี
    ร้อนช่วงแรกจากการใช้พลังงานร่วมกัน(Pre-
    Heating) บันทึกผลทดลองรีไซเคิลเริ่มที่       เขียวที่ดานบนสุด) เส้นกราฟสีนำ้าเงินที่อยู่ตำ่าลงมา
                                                            ้
    62.00C                                       จากเส้นที่ 1(เส้นสีนำ้าเงิน) แสดงพลังงานความร้อน
                                                 ที่อุปกรณ์รีไซเคิลที่ได้รับความร้อนจากการถ่ายเท
      ทดลองแบบ A รีไซเคิลอะซีโตนที่สัดส่วน       พลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศ เท่ากับ
     ของสารปนเปื้อนของอะซีโตนและสีที่ 90:10
                                                 291.05 กิโลจูล เส้นสีแดงแสดงพลังานความร้อน
     ควบคุมอุณหภมิไว้ที่ 75 0C
                                                 ที่นำ้าได้รับเท่ากับ 163.02 กิโลจูล
                                                 3.2 ผลการทดลองรีไซเคิลอะซีโตนโดยถ่ายเท
พลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศเพื่อรีไซ
เคิลอะซีโตน(Only Heat-ransfer)




  รูปที่ 3 ความสัมพันธ์ของเวลา-อุณหภูมิและการ                รูปที่ 4 สารปนเปื้อนและการรีไซเคิล
         รีไซเคิล
                                                          ผลทดลองแบบ A (เส้นกราฟสีแดง บนสุด) เมื่อ
    ผลการทดลองรีไซเคิลอะซีโตนโดยใช้วิธีถ่ายเท        เริ่มต้นทดลองด้วยการอุ่นอุปกรณ์รีไซเคิลโดยใช้
พลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศเพื่อรีไซ          พลังงานความร้อนร่วมกันแล้ว การรีไซเคิลเกิดขึ้น
เคิลอะซีโตนที่มีสารปนเปื้อน จำานวน 1 กิโลกรัมเมื่อ   อย่างต่อเนื่องและเท็มเปอร์เรเจอร์คัทอ๊อฟฮีตเตอร์ ที่
พิจารณาที่กราฟ ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิ-เวลา          75 0 C รวมเวลาที่ ฮีตเตอร์ทำางาน 14.5 นาที นำ้า
พบว่ามีการถ่ายพลังงานความร้อนในช่วงแรกจาก            หนักของอะซีโตนรีไซเคิลได้ 50% พลังงานที่ใช้
28.6 0C – 62.0 0C มีการเพิ่มอุณหภูมิขึ้นต่อเนื่อง    เพื่อรีไซเคิลอะซีโตนส่วนที่อยู่ เป็นพลังงานที่ถ่ายเท
ในอัตราเฉลี่ย 3.51 oC min-1 หลังจากนั้น              มาจากเครื่องปรับ อากาศไปจนสิ้นสุดการทดลอง
อุณหภูมิจะคงที่ไปตลอดการรีไซเคิล เมื่อพิจารณาที่     ผลทดลองแบบ B (สีเหลือง เส้นกลาง) เซ็ทอัพฮีตเต
เส้นกราฟความสัมพันธ์ของเวลา – อัตราการ               อร์คัทอ๊อฟไว้ที่ 60 0 Cรวมเวลาที่ที่ฮีตเตอร์ทำางาน
รีไซเคิล (Weigth of Recycled %) ซึ่งเป็นการเริ่ม     9.5 นาที การรีไซอะซีโตนได้ 22.0 % w/w อะ
ต้นแยกอะซีโตนออกจากสารปนเปื้อนที่อุณหภูมิ            ซีโตนซีโตนที่เหลืออยู่ใช้พลังงานถ่ายเทความร้อน
62.0 0C ใช้เวลาในรีไซเคิล 156 นาที มีอัตรา           จากเครื่องปรับอากาศไปจนสิ้นสุดการทดลอง
เฉลี่ย 0.003 kg min -1 นำ้าหนักรวมของอะซีโตน         ผลทดลองแบบ C (เส้นสีเหลือง เส้นล่างสุด) เซ็
รีไซเคิลกลับมาได้ 0.90% ของนำ้าหนักอะซีโตนที่มี      ทอัพอุณหภูมิหยุดการทำางานของฮีตเตอร์ไว้ที่ 50 0
สารปนเปื้อน( 90 : 10, w/w)                           C รวมเวลาที่ที่ฮีตเตอร์ทำางาน 9.5 นาที การรีไซ
3.3 ผลทดลองรีไซเคิลอะซีโตนแบบใช้พลังงาน              อะซีโตนได้ 22.0 % w/w อะซีโตนที่เหลืออยู่ใน
ร่วมกัน (Hybridge Energy) ระหว่างฮีทเตอร์            อุปกรณ์ รีไซเคิลจะใช้พลังงานถ่ายเทความร้อน
และการถ่ายเทพลังงานความร้อนจากเครื่องปรับ            จากเครื่องปรับอากาศไปจนสิ้นสุดการทดลอง นำ้า
อากาศใช้เท็มคอลโทรลเลอร์ควบคุมการทำางานข             หนักของอะซีโตนที่รีไซเคิลกลับมาได้ 0.970
องฮีตเตอร์(Heater-Cut off)                           กิโลกรัม
                                                     3.4 ผลทดสอบคุณสมบัติของอะโตนทางด้าน
                                                     กายภาพเบื้องต้น พบว่าอะซีโตนที่ผานการรีไซเคิล
                                                                                          ่
                                                     มีความใส(ไม่มีสารปนเปื้อน)มีกลิ่นเฉพาะเหมือน
                                                     หรือคล้ายกัน เมื่อทดสอบคุณสมบัติการทำาละลาย
                                                     พบว่าไม่มีความแตกต่าง
4.อภิปลายผล(Discussion)                               พลังงานความร้อนที่ใช้เพื่อการกลั่นในช่วงต่อจากนี้
                                                      เป็นการถ่ายเทพลังงานความร้อนจากเครื่องปรับ
 1) ผลการทดลองใช้อุปกรณ์ในการถ่ายเทพลังงาน
                                                      อากาศเท่านั้น เมื่อสิ้นสุดเวลาการทดลองอะซีโตน
ความร้อนทิ้งของเครื่องปรับอากาศทีแสดงในรูปที่ 2
                                   ่
                                                      ที่สามารถกู้คืนกลับมาได้ 0.90 กิโลกรัม(90 : 10
เส้นกราฟสีเขียวบนสุดแสดงการเปลี่ยนแปลงของ
                                                      % w/w) เมื่อพิจารณาที่เส้นกราฟถัดลงมา(สี
อุณหภูมิที่เพิ่มจากการถ่ายเทพลังงานความร้อนของ
                                                      เขียว)การทดลองเริ่มต้นให้ความร้อนกับภาชนะ
เครื่องปรับอากาศเข้าสู่ภาชนะกลั่น แต่เส้นกราฟไม่
                                                      กลั่นด้วยพลังงานความร้อนร่วม(Heater & Waste
เป็นแบบเชิงเส้นตรงเนื่องจากเครื่องปรับอากาศต้อง
                                                      heat ) ควบคุมการทำางานของฮีตเตอร์ที่อุณหภูมิ
ระบายความร้อนของระบบทิงออกบ้าง ส่วนเส้น
                            ้
                                                      650C การกลั่นเกิดขึ้นที่เวลา 1.50 นาที่ ฮีตเตอร์
กราฟที่ 2 สีเขียวตำ่าจากเส้นที่บนลงมา แสดง
                                                      หยุดการทำางานที่ 9.50 นาทีจากนั้นใช้พลังงาน
 2)รูปที่ 3 ผลการทดลองรีไซเคิลอะซีโตนจากการ           ความร้อนจากเครื่องปรับอากาศเท่านั้น เมื่อสิ้นสุด
ถ่ายเทพลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศมา            การทดลองอะซีโตนที่สามารถกู้คืนกลับมาได้ 0.79
ใช้เพื่อกลั่นอะซีโตน โดยแกนตั้งด้านซ้ายแสดงอุณ        กิโลกรัม(80 : 20 % w/w) เมื่อพิจารณาที่เส้น
ภูมิของอะซีโตนที่อยู่ภาชนะกลั่น (0C) แกนนอน           กราฟถัดลงมา(สีสีเหลือง)การทดลองเริ่มต้นให้
เป็นเวลามีหน่วยเป็นชั่วโมง (Hour) กราฟแท่ง            ความร้อนกับภาชนะกลั่นเช่นเดียวกันกับแบบก่อน
ที่1(สีแดง) เป็นอุณหภูมิเริ่มต้นในชั่วโมงที่1 การ     หน้า(Heater & Waste heat ) ควบคุมการทำางา
เปลี่ยนแปลงของเส้นกราฟมีความชันมากเนื่องจาก           นของฮีตเตอร์ที่อุณหภูมิ 500C การกลั่นเกิดขึ้นที่
เป็นช่วงที่มีการถ่ายเทพลังงานความร้อน เมื่อเวลา       เวลา 1.50 นาที่เช่นเดียวกัน ฮีตเตอร์หยุดการ
ผ่านไปถึง 1.50 ชั่วโมงอุณหภูมิของอะซีโตนที่อยู่       ทำางานไปก่อนเริ่มต้นการกลั่น เส้นกราฟนี้จึง
ในภาชนะกลั่นเพิ่มสูงขึ้นเป็น 62.0 0C (จุดเดือด)เริ่   เป็นการแสดงเฉพาะพลังงานความร้อนจากเครื่อง
มต้นการกลั่นที่จุดนี้ ต่อจากนั้นอุณหภูมิจะคงที่ไป     ปรับอากาศเท่านั้น เมื่อสิ้นสุดการทดลองอะซีโตนที่
จนสิ้นสุดการทดลอง พิจารณาที่กราฟแท่งสีเขียว           สามารถกู้คืนกลับมาได้ 0.70 กิโลกรัม(70 : 30 %
การกลั่นเกิดขึ้นต่อเนื่องแต่มีบางช่วงเวลาที่เการก     w/w)
ลั่นเกิดความล่าช้าอยู่บาง เมื่อวิเคราะห์ปัญหาพบว่า
                        ้
เกิดจากอุณหภูมิรอบนอกของภาชนะกลั่นบางขณะ
เกิดความเปลี่ยนแปลง ทำาให้การกลั่นตัวของอะซี
โตนขาดตอนเป็นบางช่วงเวลา เมื่อสิ้นสุดเวลาทด
ลองอะซีโตนที่รีไซเคิลกลับมาได้ล 0.94 กิโลกรัม
(ใช้เวลา 4.05 ชั่วโมง)

 3)ผลการทดลองรีไซเคิลอะซีโตนที่สัดส่วนของสาร
ปนเปื้อนต่างกัน ;   จากรูปที่ 4 แกนนอนคือเวลา
การทำารีไซเคิล แกนตังคือนำ้าหนักของอะซีโตนที่นำา
                     ้
กลับมาได้(%weigth) การทดลองเริ่มต้นให้ความ                           (a)                     (b)
ร้อนกับภาชนะกลั่นด้วยพลังงานความร้อน
                                                                  รูปที่ 7 (a) กากอะซีโตน (b) อะซีโตน
ร่วม(Heater & Waste heat ) ควบคุมการทำางา
                                                      ผ่านการรีไซเคิล
นของฮีตเตอร์ที่อุณหภูมิ 750C ที่เส้นกราฟบนสุด(สี
บานเย็น) การกลั่นเกิดขึ้นที่เวลา 1.50 นาที่ ฮีต       ผลทดลองรีไซเคิลกากอะซีโตนที่เกิดขึ้นจาก
เตอร์หยุดการทำางานที่ 14.7 นาที เมื่อพิจารณาที่       อุตสาหกรรมรูป (a)ที่มสีและ เรซิ่นเป็นสารปนเปื้อน
                                                                             ี
เส้นกราฟ นำ้าหนักของอะซีโตนที่รีไซเคิลลดลงเล็ก        รูป (b) เป็นอะซีโตนที่ได้จากการรีไซเคิลเมื่อทด
น้อยเนื่อง จากความร้อนที่ได้จากฮีตเตอร์หยุดลง
สอบการทำาละลายเบื้องต้นด้วยการล้างภาชนะที่มีสี        2)เมื่อพิจารณาด้านประโยชน์ทางอ้อมที่เกี่ยวข้อง
แห้งแล้วติดอยู่สามารถ ทำาความสะอาดได้รวดเร็ว          กับสิ่งแวดล้อมจากการ         รีไซเคิลอะซีโตนให้
                                                      หมุนเวียนมาใช้ซำ้าได้เป็นการช่วยลดปัญหา
4)ผลการทดลองกับผลงานวิจันอื่นที่เกี่ยวข้อง
                                                      มลภาวะทางอากาศ,นำ้าและดินและลดการการใช้
จากการทดสอบอุปกรณ์รีไซเคิลอะซีโตนที่ใช้               ทรัพยากรของโลกได้                     3)ประโยชน์
อุปกรณ์ถ่ายเทพลังงานความร้อนของเครื่องปรับ            ทางอ้อมของงานวิจัยนี้ด้านสิงแวดล้อมที่ถ่ายเท
                                                                                 ่
อากาศทีนำามาใช้ในการทดลองของงานวิจัยนี้มีข้อ
          ่                                           พลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศจากส่วนที่
สรุปดังนี้                                            ระบายความร้อนของสารทำาความเย็นมาใช้
1. ข้อดี ของงานวิจัยนี้ดานการใช้อุปกรณ์ถ่ายเท
                           ้                          ประโยชน์นี้ทำาให้ลดอุณหภูมิของอากาศแวดล้อม
พลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศมาใช้กับ
                                                      ห้องปรับอากาศได้ซงไม่มีในรายงานวิจัยที่
                                                                         ึ่
การรีไซเคิล เมื่อพิจารณาด้านการใช้พลังงานมี
ความแตกต่างไปจากเดิมมากเมื่อเปรียบเทียบกับ            เกี่ยวข้อง
การสกัดสารด้วยวิธีกลั่นแบบใช้พลังงานอย่างอื่น
                                                      6.กิตติกรรมประกาศ(Acknowledgment)
(vacuum membrain distillation,partial
distillation ect.)                                        งานวิจยนี้สำาเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ด้วยดีจาก
                                                                     ั
2. ข้อดีดานชิ้นส่วนของอุปกรณ์รีไซเคิลมีขนาดเล็ก
             ้
                                                      ความช่วยเหลือจากผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณาให้คำา
และลดองค์ประกอบลงของอุปกรณ์รีไซเคิลเมื่อ
เปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่น                            ปรึกษาแนะนำาด้านต่างๆ ทังแนวคิดและหลักการ
                                                                                  ้
3.ข้อดีในความชัดเจนของการทำารีไซเคิลที่ทำาการ         เหตุผลซึ่งปรากฏนามไว้เป็นเกียรติดังนี้ ผศ.สห
ทดลองจริง เมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นที่ทำาเป็น   รัตน์ วงษ์ศรีษะ          ผศ.ดร.วิโรจน์ ฤทธิ์ทอง ใน
แบบจำาลองด้วยโปรแกรม                                  ส่วนของผูมีอุปการคุณที่ไม่ได้ปรากฏนามไว้เป็น
                                                                   ้
4. ข้อดีดานจำานวนและคุณสมบัติของสารที่รีไซเคิล
               ้                                      คณาจารย์ของสาขาวิศวกรรมเครื่องกลและเพื่อน
กลับมาได้ถือว่ามีความแตกต่างกันเนื่องจากงาน           ร่วมงานใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
วิจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกล่าวถึงไม่มีรายงานผลของสาร
                                                      พระนครทุกท่าน อนึ่งหากผลงานวิจัยนี้สามารถนำา
ที่นำามารีไวเคิลอย่างชัดเจนเมื่อนำามาเปรียบเทียบ
กัน                                                   ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนได้อยู่บ้าง
5.ข้อดีด้านประโยชน์ของการรีไซเคิล งานวิจัยนี้ได้      คุณความดีส่วนที่ได้รับมานี้ ขออุทิศความดีส่วนนี้
ประโยชน์ 2 ประการคือ ด้านการอนุรักษ์และ               ให้กับผู้ที่มีอุปการคุณทุกท่านตลอดไป
ประหยัดพลังงานมีความคล้ายคลึงกับงานที่วิจัยที่
เกี่ยว ข้องแต่มีความแตกต่างกันที่งานวิจัยนี้ช่วยลด    7.เอกสารอ้างอิง(References)
ปัญหาการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่
                                                      [11]Chungsing Wang : Compact Vacuum Distillation
ระบายออกมาสู่ภายนอกห้องเย็นซึงสาเหตุส่วนหนึ่ง
                                      ่
                                                      Device 2000 United State Patent Application Publication
ของสภาวะโลกร้อน                                       South Dakota Extension Service
2. ข้อจำากัด การรีไซเคิลของงานวิจัยนีต้องใช้เวลา
                                         ้
มากกว่าการใช้แหล่งพลังงานความร้อนแบบอื่น แต่          [12]Masaru Noro : Vacuum Distillation Method and Vacuum
สามารถที่จะพัฒนาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นได้อี         Distillation Apparatus 2008 United State Patent Application
มาก                                                   Publication US 2008/0230370 Al

5.สรุปผล(Conclusion)                                  [13]William W. Berry : Partial Pressure Distillation
                                                      Process 2011 United State Patent Application Publication
   สรุปผลโดยรวมของอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อการ         US 2011/0162951 A1
ถ่ายเทพลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศมา
ใช้เพื่อการรีไซเคิล                                   [14] Jie Zhou,HaifengZhang,YanpingZhang,YinLin,
1)อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อการถ่ายเทพลังงานความ        YanheMa : Designing and creating a modularized synthetic
ร้อนจากเครื่องปรับ อากาศมาใช้กับการรีไซเคิลอะ         pathway incyanobacterium Synechocystis enables
                                                      production of acetone from carbondioxide
ซีโตนทำาให้เป็นการใช้พลังงานที่สมเหตุผล
[15]J. Markos*, M. S, L'. Jelemensky: Design and
simulation of a reactor for the chlorination
of acetone in gaseous phase

[16] Laura C. Draucker, Jason P. Hallett, David Bush, Charles A.
Eckert : Vapor–liquid–liquid equilibria of perfluorohexane
+CO2 + methanol,+toluene, and +acetone at 313K ,2001
[13] Mohammad Khodadadi-Moghaddama, Aziz Habibi-Yangjehb,
Mohamad Reza Gholamia,: Solvent effects on the reaction rate
and selectivity of synchronous heterogeneous hydrogenation
of cyclohexene and acetone in ionic iquid/alcohols mixtures
[17] P. Zhua,, Y. Chena, L.Y. Wanga, G.Y. Qiana, M. Zhoub,
J. Zhouc : A new technology for separation and
recovery of materials from waste printed
circuit boards by dissolving bromine epoxy resins
using ionic liquid
[18] Alexander S. Rattner a, Ananda Krishna
Nagavarapu a, Srinivas Garimella a, Thomas F. Fuller b
: Modeling of a flat plate membrane-distillation system
for liquid desiccant regeneration in air-conditioning
applications
สอบการทำาละลายเบื้องต้นด้วยการล้างภาชนะที่มีสี        2)เมื่อพิจารณาด้านประโยชน์ทางอ้อมที่เกี่ยวข้อง
แห้งแล้วติดอยู่สามารถ ทำาความสะอาดได้รวดเร็ว          กับสิ่งแวดล้อมจากการ         รีไซเคิลอะซีโตนให้
                                                      หมุนเวียนมาใช้ซำ้าได้เป็นการช่วยลดปัญหา
4)ผลการทดลองกับผลงานวิจันอื่นที่เกี่ยวข้อง
                                                      มลภาวะทางอากาศ,นำ้าและดินและลดการการใช้
จากการทดสอบอุปกรณ์รีไซเคิลอะซีโตนที่ใช้               ทรัพยากรของโลกได้                     3)ประโยชน์
อุปกรณ์ถ่ายเทพลังงานความร้อนของเครื่องปรับ            ทางอ้อมของงานวิจัยนี้ด้านสิงแวดล้อมที่ถ่ายเท
                                                                                 ่
อากาศทีนำามาใช้ในการทดลองของงานวิจัยนี้มีข้อ
          ่                                           พลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศจากส่วนที่
สรุปดังนี้                                            ระบายความร้อนของสารทำาความเย็นมาใช้
1. ข้อดี ของงานวิจัยนี้ดานการใช้อุปกรณ์ถ่ายเท
                           ้                          ประโยชน์นี้ทำาให้ลดอุณหภูมิของอากาศแวดล้อม
พลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศมาใช้กับ
                                                      ห้องปรับอากาศได้ซงไม่มีในรายงานวิจัยที่
                                                                         ึ่
การรีไซเคิล เมื่อพิจารณาด้านการใช้พลังงานมี
ความแตกต่างไปจากเดิมมากเมื่อเปรียบเทียบกับ            เกี่ยวข้อง
การสกัดสารด้วยวิธีกลั่นแบบใช้พลังงานอย่างอื่น
                                                      6.กิตติกรรมประกาศ(Acknowledgment)
(vacuum membrain distillation,partial
distillation ect.)                                        งานวิจยนี้สำาเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ด้วยดีจาก
                                                                     ั
2. ข้อดีดานชิ้นส่วนของอุปกรณ์รีไซเคิลมีขนาดเล็ก
             ้
                                                      ความช่วยเหลือจากผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณาให้คำา
และลดองค์ประกอบลงของอุปกรณ์รีไซเคิลเมื่อ
เปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่น                            ปรึกษาแนะนำาด้านต่างๆ ทังแนวคิดและหลักการ
                                                                                  ้
3.ข้อดีในความชัดเจนของการทำารีไซเคิลที่ทำาการ         เหตุผลซึ่งปรากฏนามไว้เป็นเกียรติดังนี้ ผศ.สห
ทดลองจริง เมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นที่ทำาเป็น   รัตน์ วงษ์ศรีษะ          ผศ.ดร.วิโรจน์ ฤทธิ์ทอง ใน
แบบจำาลองด้วยโปรแกรม                                  ส่วนของผูมีอุปการคุณที่ไม่ได้ปรากฏนามไว้เป็น
                                                                   ้
4. ข้อดีดานจำานวนและคุณสมบัติของสารที่รีไซเคิล
               ้                                      คณาจารย์ของสาขาวิศวกรรมเครื่องกลและเพื่อน
กลับมาได้ถือว่ามีความแตกต่างกันเนื่องจากงาน           ร่วมงานใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
วิจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกล่าวถึงไม่มีรายงานผลของสาร
                                                      พระนครทุกท่าน อนึ่งหากผลงานวิจัยนี้สามารถนำา
ที่นำามารีไวเคิลอย่างชัดเจนเมื่อนำามาเปรียบเทียบ
กัน                                                   ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนได้อยู่บ้าง
5.ข้อดีด้านประโยชน์ของการรีไซเคิล งานวิจัยนี้ได้      คุณความดีส่วนที่ได้รับมานี้ ขออุทิศความดีส่วนนี้
ประโยชน์ 2 ประการคือ ด้านการอนุรักษ์และ               ให้กับผู้ที่มีอุปการคุณทุกท่านตลอดไป
ประหยัดพลังงานมีความคล้ายคลึงกับงานที่วิจัยที่
เกี่ยว ข้องแต่มีความแตกต่างกันที่งานวิจัยนี้ช่วยลด    7.เอกสารอ้างอิง(References)
ปัญหาการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่
                                                      [11]Chungsing Wang : Compact Vacuum Distillation
ระบายออกมาสู่ภายนอกห้องเย็นซึงสาเหตุส่วนหนึ่ง
                                      ่
                                                      Device 2000 United State Patent Application Publication
ของสภาวะโลกร้อน                                       South Dakota Extension Service
2. ข้อจำากัด การรีไซเคิลของงานวิจัยนีต้องใช้เวลา
                                         ้
มากกว่าการใช้แหล่งพลังงานความร้อนแบบอื่น แต่          [12]Masaru Noro : Vacuum Distillation Method and Vacuum
สามารถที่จะพัฒนาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นได้อี         Distillation Apparatus 2008 United State Patent Application
มาก                                                   Publication US 2008/0230370 Al

5.สรุปผล(Conclusion)                                  [13]William W. Berry : Partial Pressure Distillation
                                                      Process 2011 United State Patent Application Publication
   สรุปผลโดยรวมของอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อการ         US 2011/0162951 A1
ถ่ายเทพลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศมา
ใช้เพื่อการรีไซเคิล                                   [14] Jie Zhou,HaifengZhang,YanpingZhang,YinLin,
1)อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อการถ่ายเทพลังงานความ        YanheMa : Designing and creating a modularized synthetic
ร้อนจากเครื่องปรับ อากาศมาใช้กับการรีไซเคิลอะ         pathway incyanobacterium Synechocystis enables
                                                      production of acetone from carbondioxide
ซีโตนทำาให้เป็นการใช้พลังงานที่สมเหตุผล

More Related Content

Featured

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

3การพัฒนาอุปกรณ์เพื่อการรีไซเคิล(full paper)

  • 1. การทดสอบอุป กรณ์ร ีไ ซเคิล กากอะซีโ ตนที่ใ ช้พ ลัง งานความร้อ น ทิ้ง จากเครื่อ งปรับ อากาศ A testing apparatus of recycling waste acetone as used airconditioning waste heat recovery การประชุม วิช าการการถ่า ยเทพลัง งานความร้อ นและมวลในอุป กรณ์ด ้า นความร้อ นและ วรวุฒ ิ กาญจนกิต ติช ย 1 วิโ รจน์ ฤทธิ์ท อง 2 ั กระบวนการ ครัง ที่ 5 ้ สหรัต น์ วงษ์ศ รีษ ะ 3 บทคัด ย่อ สาขาวิศวกรรมเครื่องกล 1,2 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 1381 บทความนี้นำาเสนอผลการทดสอบอุปกรณ์ที่ใช้ใน ถ.ประชาราษฎร์ 1 แขวงบางซื่อ เขตบางซื่อ การรีไซเคิลกากอะซิโตนที่ใช้พลังงานอย่างมี กรุงเทพมหานคร โทรศัพ ท์ : 02-9132424 ต่อ 38 ประสิทธิภาพ เครื่องมือวิจัยใช้อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมา สาขาวิศวกรรมอุตสาหการ 3 คณะ เพื่อถ่ายเทพลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มาใช้เป็นพลังงาน และใช้เครื่องมือทางสถิติเพื่อ มงคลพระนคร 1381 ถ.ประชาราษฎร์ 1 แขวง บางซื่อ เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร โทรศัพ ท์ : สรุปผลทดลอง ผลทีได้จากการศึกษาครั้งนี้คือความ ่ 02-9132424 ต่อ 38 สามารถของอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อถ่ายโอนความ E-mail : warawutk62@gmail.com ร้อนสำาหรับการรีไซเคิลอะซิโตนจากเครื่องปรับ E-mail : wrritthong@gmail.com อากาศได้ 396.72 วัตต์ ในส่วนของการรีไซเคิล กากโตนสามารถนำากลับมาได้ 99.0% มีคาเฉลี่ย่ อัตราการรีไซเคิล 248 กรัมต่อชั่วโมง นวัตกรรม ที่สร้างขึ้นนี้ได้จากแนวคิดการจัดการอุตสาหกรรม เพื่อความยังยืนควบคู่ไปกับกลยุทธการจัดการสิ่ง ่ แวดล้อมเพื่อความยั่งยืน Abstract This paper presents the results of the test Graphcial Abstract equipment used in the recycling of waste acetone using energy efficiently. The purpose of this study is a device designed testing Research tool used to build up the air conditioner to transfer the heat energy to be used as energy. and used statistical tools to summarize the results of experiments.The results were obtained from devices designed for transferring waste heat from the air conditioner recirculating back into use 396.72 watt. Part way of the waste recycling can be brought back to reuse up to 99.0%. average recycling rate 248 grams per hour. This has created an innovative concept of sustainability management industry, along with strategies for sustainable environmental management. Keyword Acetone Recycle ,Heat Transfer,Waste Heat Recovery
  • 2. al; ] กล่าวถึงเครื่องรีไซเคิลที่ประกอบด้วยระบบชุด กลั่นอัตโนมัติ เป็นต้นแบบ นอกเหนือไปจากนี้ยังมี งานวิจยที่แสดงกระบวนในการรีไซเคิลตัวทำาละลาย ั บทนำา(Introduction) [2-6] จากแนวโน้มการใช้ตัวทำาลายของภาค อุตสาหกรรมและแนวทางของการรีไซเคิลตัวทำา อะซีโตนเป็นตัวทำาละลาย(Solvent)ที่มความ ี ละลายที่ต้องการความบริสุทธิ์ของสารเพื่อการใช้ สำาคัญต่ออุตสาหกรรมประเภทต่างๆเป็นอย่างมาก ตัวอย่างเช่น อุตสาหกรรมการผลิตยา อุตสาหกรรม ซำ้าได้แล้วในปัจจุบันต้องคำานึงถึงด้านการใช้ อิเล็กทรอนิกส์ อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรม พลังงานที่ใช้ในกระบวน การรีไซเคิลเพิ่มขึ้นมาอีก พลาสติก อุตสาหกรรมการผลิตรถยนต์ ซึ่งใน ด้วย ปัจจุบันมีการใช้งานเป็นวงกว้าง มาก[Grogan,2005] มีอัตราการใช้งานเพิ่มมาก ความสำาคัญของงานวิจัยนี้เชื่อมโยงอยู่ที่การใช้ ขึ้นอย่างรวดเร็ว ทำาให้ปริมาณการผลิตอะซีโตน อะซีโตนในอุตสาหกรรมผลิตยานยนต์ของ ของอุตสาหกรรมปริโตเคมีในปี 2010 มากถึง 6.7 ประเทศไทย โดยมีข้อสรุปจากแนวโน้มการเติบโต ล้านตัน[Raman,2010] ผลจากความต้องการใช้ ของอุตสาหกรรมยานยนต์เพิ่มขึ้นและเมื่อนำามา อะซีโตนของภาคอุตสาหกรรมซึ่ง ยังมีแนวโน้ม เปรียบเทียบกับปริมาณการใช้อะซีโตนพบว่ามีแนว ความต้องการใช้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ดี ผลกระทบจากการใช้อะซีโตนเป็นตัวทำาละลายของ โน้มในทิศทางเดียวกัน การใช้อะซีโตนในภาคการ อุตสาหกรรมประเภทต่างๆ นั้นก่อให้เกิดกากของอะ ผลิตของประเทศไทยที่กำาลังจะก้าวเข้าสู่สังคม ซีโตนซึ่งเป็นของเหลือทิ้งจำานวนมาก[ Pius K.W. เศรษฐกิจอาเซี่ยนในปีพ.ศ.2558 จะต้องมีการผลิต Lau,Albert Koeing : 2001] ,[ Hideki รถยนต์เพิ่มขึ้นและมีแนวโน้มชัดเจนมาก Tsukamoto : 2003] ระบบการจัดการกำาจัดของ เสียที่ต้องการเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาช่วยในการ ในกระบวนการหนึ่งของการผลิตรถยนต์ที่ รีไซเคิลเพื่อทำาให้อะซีโตนมีความบริสุทธิ์มากพอที่ ต้องการควบคุมเป็นอย่างดีคือการพ่นสีและเคลือบ จะนำากลับมาใช้ซำ้าได้จึงยังมีอยู่เสมอ เงาตัวถังรถยนต์ ผลผลิตทีดีมีคุณภาพเกิดได้จาก ่ จากการศึกษาวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับการ การมีเครื่องมือและอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพอยู่เสมอ รีไซเคิลสารอินทรีย์เหลวพบว่าการกลั่นเป็นวิธีสกัด วิธีการที่สำาคัญคือความสะอาดของเครื่องมือและ สารปนเปื้อนได้ดีที่สด ที่ผานมามีงานวิจัยทีนำาเสนอ อุปกรณ์งานพ่นสีทั้งในระหว่างการทำางานและภาย ุ ่ ่ การพัฒนากระบวนการกลั่นด้วยเครื่องมือและ หลังเสร็จงาน จากเหตุผลนี้ทำาให้อุตสาหกรรมผลิต อุปกรณ์รวมถึงวิธีการต่างๆ เพื่อทำาให้อะซีโตนมี ยานยนต์เพิ่มจำานวนการใช้อะซีโตนซึงมีความ ่ ความบริสุทธิกลับคืนมาใช้ซำ้าได้ เช่น [Peter W. สัมพันธ์แบบแปรผันตรง D. van der Heijden ;1994 ] กล่าวถึงนวัตกรรม จากกิจกรรมเพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับ ของกลั่นสุญญกาศที่มีระบบระบายความร้อนแบบ ผลิตภัณฑ์ยานยนต์ด้วยการพ่นสีและเคลือบเงาตัว หมุนวนนำ้าทำาความเย็นเพื่อทำาให้เกิดการควบแน่น ถังรถยนต์นี้ เมื่อศึกษาวงจรชีวตของอะซีโตนเชิงลึก ิ ของไอด้วยปั้มสุญญกาศ [Masaru Noro;2008] พบว่าในปัจจุบันมีสถิตของการส่งออกกากอะซีโตน ิ [Chungsing Wang; 2003 ]กล่างวถึงเครื่องกลั่น ที่เหลือจากกิจกรรมการผลิตแล้วไปต่างประเทศเป็น แบบบคอมแพ็คซึงเป็นต้นแบบที่ปลดเรื่องการทำา ่ จำานวนมากในแต่ละปี ทำาให้เกิดข้อสงสัยที่นา ่ สุญญากาศออกไป [Na Tanga and et al; 2005] สนใจและนำาไปสู่การทำาวิจัยโดยตังคำาถามว่า “ การ ้ การกลั่นแบบแว็ก คัม-เมมเบรน [Masaru ศึกษานี้ต้องทดสอบการนำาความร้อนทิ้งของเครื่อง Noro;2008 ]กล่าวถึงสร้างเครื่องกลั่นสุญญกาศ ปรับอากาศมาใช้เป็นพลังงานในการกลั่นกากอะซี เพื่อใช้แยกสารปนเปื้อนและทำาให้ตัวทำาละลายมี โตนเพื่อกู้คืนอะซีโตนซึ่งประกอบด้วยการหาอัตรากู้ ความบริสุทธิ์ [William W. Berry ; 2011]กล่าวถึง คืนกากอะซีโตนที่มีสารปนเปื้อนต่างกัน 3 การกลั่นแบบแยกส่วนความดัน [Na Tanga and et
  • 3. อัตราส่วนและทำาให้อะซีโตนมีความบริสุทธิมาก ทดลองแบบ B รีไซเคิลอะซีโตนที่สัดส่วน พอที่จะนำาไปใช้ซำ้าได้ ” ของสารปนเปื้อนของอะซีโตนและสีที่ 80:20 ควบคุมอุณหภมิไว้ที่ 60 0C 2.อุป กรณ์ร ีไ ซเคิล และวิธ ีก าร รีไ ซเคิล (Apparatus and Methodology) ทดลองแบบ C รีไซเคิลอะซีโตนที่ สัดส่วนของสารปนเปื้อนของอะซีโตนและสีที่ 2.1 อุปกรณ์การทดลอง (Apparatus) 70:30 ควบคุมอุณหภมิไว้ที่ 50 0C 3.ผลการทดลอง (Result) 3.1ผลการทดลองอุปกรณ์ถ่ายเทพลังงาน ความร้อนจากเครื่องปรับอากาศถ่ายเทให้กับ นำ้าในอุปกรณ์รีไซเคิล รูปที่ 1 แผนผังของ เครื่องรีไซเคิลอะซีโตน 2.2 วิธีการทดลอง (Experimental) รูปที่ 2 พฤติกรรมการถ่ายเทความร้อนของอุปกรณ์ 2.2.1การรีไซเคิลแบบใช้พลังงานถ่ายเท รีไซเคิล ความร้อนจากเครื่องปรับอากาศให้กับ สาร(นำ้า) จำานวน 1 กิโลกรัมที่บรรจุใน ผลทดลองในรูปที่ 1 เป็นผลของการทดลองการ อุปกรณ์กลั่น ถ่ายเทพลังงานความร้อนของระบบเครื่องปรับ 2.2.2 การทดลองรีไซเคิลอะซีโตนแบบใช้ อากาศผ่านอุปกรณ์ถ่ายเทความร้อนของเครื่องปรับ พลังงานถ่ายเทความร้อนจากเครื่องปรับอากา อากาศ (Heat Exchanger Device) การทดลอง รีไซเคิลอะซีโตนที่มีสารปนเปื้อน จำานวน 1.0 กิโลกรัม นี้ใช้นำ้าสะอาดเป็นตัวแทนสารทีจะนำามารีไซเคิล ่ 2.2.3 การทดลองรีไซเคิลอะซีโตนแบบใช้ฮีท จำานวน 1.0 กิโลกรัม ใส่ไว้ในอุกรณ์รีไซเคิล เตอร์มาร่วมกับการถ่ายเทความร้อนจากเครื่อง อุณหภูมิเริ่มต้นที่ 32.00 C เมื่อสิ้นสุดเวลาการ ปรับอากาศ (ฮีทเตอร์ 1550 Watt)มีอุปกรณ์ ทดลอง 1.0 ชัวโมง ผลทดลองพบว่ามีการถ่ายเท ่ ควบคุมอุณหภูมิ(Temp.Controller)การ พลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศมาสู่นำ้าและ ทดลองทำาเป็น 3 แบบ โดยเริ่มต้นให้ความ ทำาให้นำ้ามีอุณหภูมิเพิ่มสูงขึ้นเป็น 74.10C (เส้นสี ร้อนช่วงแรกจากการใช้พลังงานร่วมกัน(Pre- Heating) บันทึกผลทดลองรีไซเคิลเริ่มที่ เขียวที่ดานบนสุด) เส้นกราฟสีนำ้าเงินที่อยู่ตำ่าลงมา ้ 62.00C จากเส้นที่ 1(เส้นสีนำ้าเงิน) แสดงพลังงานความร้อน ที่อุปกรณ์รีไซเคิลที่ได้รับความร้อนจากการถ่ายเท ทดลองแบบ A รีไซเคิลอะซีโตนที่สัดส่วน พลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศ เท่ากับ ของสารปนเปื้อนของอะซีโตนและสีที่ 90:10 291.05 กิโลจูล เส้นสีแดงแสดงพลังานความร้อน ควบคุมอุณหภมิไว้ที่ 75 0C ที่นำ้าได้รับเท่ากับ 163.02 กิโลจูล 3.2 ผลการทดลองรีไซเคิลอะซีโตนโดยถ่ายเท
  • 4. พลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศเพื่อรีไซ เคิลอะซีโตน(Only Heat-ransfer) รูปที่ 3 ความสัมพันธ์ของเวลา-อุณหภูมิและการ รูปที่ 4 สารปนเปื้อนและการรีไซเคิล รีไซเคิล ผลทดลองแบบ A (เส้นกราฟสีแดง บนสุด) เมื่อ ผลการทดลองรีไซเคิลอะซีโตนโดยใช้วิธีถ่ายเท เริ่มต้นทดลองด้วยการอุ่นอุปกรณ์รีไซเคิลโดยใช้ พลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศเพื่อรีไซ พลังงานความร้อนร่วมกันแล้ว การรีไซเคิลเกิดขึ้น เคิลอะซีโตนที่มีสารปนเปื้อน จำานวน 1 กิโลกรัมเมื่อ อย่างต่อเนื่องและเท็มเปอร์เรเจอร์คัทอ๊อฟฮีตเตอร์ ที่ พิจารณาที่กราฟ ความสัมพันธ์ของอุณหภูมิ-เวลา 75 0 C รวมเวลาที่ ฮีตเตอร์ทำางาน 14.5 นาที นำ้า พบว่ามีการถ่ายพลังงานความร้อนในช่วงแรกจาก หนักของอะซีโตนรีไซเคิลได้ 50% พลังงานที่ใช้ 28.6 0C – 62.0 0C มีการเพิ่มอุณหภูมิขึ้นต่อเนื่อง เพื่อรีไซเคิลอะซีโตนส่วนที่อยู่ เป็นพลังงานที่ถ่ายเท ในอัตราเฉลี่ย 3.51 oC min-1 หลังจากนั้น มาจากเครื่องปรับ อากาศไปจนสิ้นสุดการทดลอง อุณหภูมิจะคงที่ไปตลอดการรีไซเคิล เมื่อพิจารณาที่ ผลทดลองแบบ B (สีเหลือง เส้นกลาง) เซ็ทอัพฮีตเต เส้นกราฟความสัมพันธ์ของเวลา – อัตราการ อร์คัทอ๊อฟไว้ที่ 60 0 Cรวมเวลาที่ที่ฮีตเตอร์ทำางาน รีไซเคิล (Weigth of Recycled %) ซึ่งเป็นการเริ่ม 9.5 นาที การรีไซอะซีโตนได้ 22.0 % w/w อะ ต้นแยกอะซีโตนออกจากสารปนเปื้อนที่อุณหภูมิ ซีโตนซีโตนที่เหลืออยู่ใช้พลังงานถ่ายเทความร้อน 62.0 0C ใช้เวลาในรีไซเคิล 156 นาที มีอัตรา จากเครื่องปรับอากาศไปจนสิ้นสุดการทดลอง เฉลี่ย 0.003 kg min -1 นำ้าหนักรวมของอะซีโตน ผลทดลองแบบ C (เส้นสีเหลือง เส้นล่างสุด) เซ็ รีไซเคิลกลับมาได้ 0.90% ของนำ้าหนักอะซีโตนที่มี ทอัพอุณหภูมิหยุดการทำางานของฮีตเตอร์ไว้ที่ 50 0 สารปนเปื้อน( 90 : 10, w/w) C รวมเวลาที่ที่ฮีตเตอร์ทำางาน 9.5 นาที การรีไซ 3.3 ผลทดลองรีไซเคิลอะซีโตนแบบใช้พลังงาน อะซีโตนได้ 22.0 % w/w อะซีโตนที่เหลืออยู่ใน ร่วมกัน (Hybridge Energy) ระหว่างฮีทเตอร์ อุปกรณ์ รีไซเคิลจะใช้พลังงานถ่ายเทความร้อน และการถ่ายเทพลังงานความร้อนจากเครื่องปรับ จากเครื่องปรับอากาศไปจนสิ้นสุดการทดลอง นำ้า อากาศใช้เท็มคอลโทรลเลอร์ควบคุมการทำางานข หนักของอะซีโตนที่รีไซเคิลกลับมาได้ 0.970 องฮีตเตอร์(Heater-Cut off) กิโลกรัม 3.4 ผลทดสอบคุณสมบัติของอะโตนทางด้าน กายภาพเบื้องต้น พบว่าอะซีโตนที่ผานการรีไซเคิล ่ มีความใส(ไม่มีสารปนเปื้อน)มีกลิ่นเฉพาะเหมือน หรือคล้ายกัน เมื่อทดสอบคุณสมบัติการทำาละลาย พบว่าไม่มีความแตกต่าง
  • 5. 4.อภิปลายผล(Discussion) พลังงานความร้อนที่ใช้เพื่อการกลั่นในช่วงต่อจากนี้ เป็นการถ่ายเทพลังงานความร้อนจากเครื่องปรับ 1) ผลการทดลองใช้อุปกรณ์ในการถ่ายเทพลังงาน อากาศเท่านั้น เมื่อสิ้นสุดเวลาการทดลองอะซีโตน ความร้อนทิ้งของเครื่องปรับอากาศทีแสดงในรูปที่ 2 ่ ที่สามารถกู้คืนกลับมาได้ 0.90 กิโลกรัม(90 : 10 เส้นกราฟสีเขียวบนสุดแสดงการเปลี่ยนแปลงของ % w/w) เมื่อพิจารณาที่เส้นกราฟถัดลงมา(สี อุณหภูมิที่เพิ่มจากการถ่ายเทพลังงานความร้อนของ เขียว)การทดลองเริ่มต้นให้ความร้อนกับภาชนะ เครื่องปรับอากาศเข้าสู่ภาชนะกลั่น แต่เส้นกราฟไม่ กลั่นด้วยพลังงานความร้อนร่วม(Heater & Waste เป็นแบบเชิงเส้นตรงเนื่องจากเครื่องปรับอากาศต้อง heat ) ควบคุมการทำางานของฮีตเตอร์ที่อุณหภูมิ ระบายความร้อนของระบบทิงออกบ้าง ส่วนเส้น ้ 650C การกลั่นเกิดขึ้นที่เวลา 1.50 นาที่ ฮีตเตอร์ กราฟที่ 2 สีเขียวตำ่าจากเส้นที่บนลงมา แสดง หยุดการทำางานที่ 9.50 นาทีจากนั้นใช้พลังงาน 2)รูปที่ 3 ผลการทดลองรีไซเคิลอะซีโตนจากการ ความร้อนจากเครื่องปรับอากาศเท่านั้น เมื่อสิ้นสุด ถ่ายเทพลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศมา การทดลองอะซีโตนที่สามารถกู้คืนกลับมาได้ 0.79 ใช้เพื่อกลั่นอะซีโตน โดยแกนตั้งด้านซ้ายแสดงอุณ กิโลกรัม(80 : 20 % w/w) เมื่อพิจารณาที่เส้น ภูมิของอะซีโตนที่อยู่ภาชนะกลั่น (0C) แกนนอน กราฟถัดลงมา(สีสีเหลือง)การทดลองเริ่มต้นให้ เป็นเวลามีหน่วยเป็นชั่วโมง (Hour) กราฟแท่ง ความร้อนกับภาชนะกลั่นเช่นเดียวกันกับแบบก่อน ที่1(สีแดง) เป็นอุณหภูมิเริ่มต้นในชั่วโมงที่1 การ หน้า(Heater & Waste heat ) ควบคุมการทำางา เปลี่ยนแปลงของเส้นกราฟมีความชันมากเนื่องจาก นของฮีตเตอร์ที่อุณหภูมิ 500C การกลั่นเกิดขึ้นที่ เป็นช่วงที่มีการถ่ายเทพลังงานความร้อน เมื่อเวลา เวลา 1.50 นาที่เช่นเดียวกัน ฮีตเตอร์หยุดการ ผ่านไปถึง 1.50 ชั่วโมงอุณหภูมิของอะซีโตนที่อยู่ ทำางานไปก่อนเริ่มต้นการกลั่น เส้นกราฟนี้จึง ในภาชนะกลั่นเพิ่มสูงขึ้นเป็น 62.0 0C (จุดเดือด)เริ่ เป็นการแสดงเฉพาะพลังงานความร้อนจากเครื่อง มต้นการกลั่นที่จุดนี้ ต่อจากนั้นอุณหภูมิจะคงที่ไป ปรับอากาศเท่านั้น เมื่อสิ้นสุดการทดลองอะซีโตนที่ จนสิ้นสุดการทดลอง พิจารณาที่กราฟแท่งสีเขียว สามารถกู้คืนกลับมาได้ 0.70 กิโลกรัม(70 : 30 % การกลั่นเกิดขึ้นต่อเนื่องแต่มีบางช่วงเวลาที่เการก w/w) ลั่นเกิดความล่าช้าอยู่บาง เมื่อวิเคราะห์ปัญหาพบว่า ้ เกิดจากอุณหภูมิรอบนอกของภาชนะกลั่นบางขณะ เกิดความเปลี่ยนแปลง ทำาให้การกลั่นตัวของอะซี โตนขาดตอนเป็นบางช่วงเวลา เมื่อสิ้นสุดเวลาทด ลองอะซีโตนที่รีไซเคิลกลับมาได้ล 0.94 กิโลกรัม (ใช้เวลา 4.05 ชั่วโมง) 3)ผลการทดลองรีไซเคิลอะซีโตนที่สัดส่วนของสาร ปนเปื้อนต่างกัน ; จากรูปที่ 4 แกนนอนคือเวลา การทำารีไซเคิล แกนตังคือนำ้าหนักของอะซีโตนที่นำา ้ กลับมาได้(%weigth) การทดลองเริ่มต้นให้ความ (a) (b) ร้อนกับภาชนะกลั่นด้วยพลังงานความร้อน รูปที่ 7 (a) กากอะซีโตน (b) อะซีโตน ร่วม(Heater & Waste heat ) ควบคุมการทำางา ผ่านการรีไซเคิล นของฮีตเตอร์ที่อุณหภูมิ 750C ที่เส้นกราฟบนสุด(สี บานเย็น) การกลั่นเกิดขึ้นที่เวลา 1.50 นาที่ ฮีต ผลทดลองรีไซเคิลกากอะซีโตนที่เกิดขึ้นจาก เตอร์หยุดการทำางานที่ 14.7 นาที เมื่อพิจารณาที่ อุตสาหกรรมรูป (a)ที่มสีและ เรซิ่นเป็นสารปนเปื้อน ี เส้นกราฟ นำ้าหนักของอะซีโตนที่รีไซเคิลลดลงเล็ก รูป (b) เป็นอะซีโตนที่ได้จากการรีไซเคิลเมื่อทด น้อยเนื่อง จากความร้อนที่ได้จากฮีตเตอร์หยุดลง
  • 6. สอบการทำาละลายเบื้องต้นด้วยการล้างภาชนะที่มีสี 2)เมื่อพิจารณาด้านประโยชน์ทางอ้อมที่เกี่ยวข้อง แห้งแล้วติดอยู่สามารถ ทำาความสะอาดได้รวดเร็ว กับสิ่งแวดล้อมจากการ รีไซเคิลอะซีโตนให้ หมุนเวียนมาใช้ซำ้าได้เป็นการช่วยลดปัญหา 4)ผลการทดลองกับผลงานวิจันอื่นที่เกี่ยวข้อง มลภาวะทางอากาศ,นำ้าและดินและลดการการใช้ จากการทดสอบอุปกรณ์รีไซเคิลอะซีโตนที่ใช้ ทรัพยากรของโลกได้ 3)ประโยชน์ อุปกรณ์ถ่ายเทพลังงานความร้อนของเครื่องปรับ ทางอ้อมของงานวิจัยนี้ด้านสิงแวดล้อมที่ถ่ายเท ่ อากาศทีนำามาใช้ในการทดลองของงานวิจัยนี้มีข้อ ่ พลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศจากส่วนที่ สรุปดังนี้ ระบายความร้อนของสารทำาความเย็นมาใช้ 1. ข้อดี ของงานวิจัยนี้ดานการใช้อุปกรณ์ถ่ายเท ้ ประโยชน์นี้ทำาให้ลดอุณหภูมิของอากาศแวดล้อม พลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศมาใช้กับ ห้องปรับอากาศได้ซงไม่มีในรายงานวิจัยที่ ึ่ การรีไซเคิล เมื่อพิจารณาด้านการใช้พลังงานมี ความแตกต่างไปจากเดิมมากเมื่อเปรียบเทียบกับ เกี่ยวข้อง การสกัดสารด้วยวิธีกลั่นแบบใช้พลังงานอย่างอื่น 6.กิตติกรรมประกาศ(Acknowledgment) (vacuum membrain distillation,partial distillation ect.) งานวิจยนี้สำาเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ด้วยดีจาก ั 2. ข้อดีดานชิ้นส่วนของอุปกรณ์รีไซเคิลมีขนาดเล็ก ้ ความช่วยเหลือจากผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณาให้คำา และลดองค์ประกอบลงของอุปกรณ์รีไซเคิลเมื่อ เปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่น ปรึกษาแนะนำาด้านต่างๆ ทังแนวคิดและหลักการ ้ 3.ข้อดีในความชัดเจนของการทำารีไซเคิลที่ทำาการ เหตุผลซึ่งปรากฏนามไว้เป็นเกียรติดังนี้ ผศ.สห ทดลองจริง เมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นที่ทำาเป็น รัตน์ วงษ์ศรีษะ ผศ.ดร.วิโรจน์ ฤทธิ์ทอง ใน แบบจำาลองด้วยโปรแกรม ส่วนของผูมีอุปการคุณที่ไม่ได้ปรากฏนามไว้เป็น ้ 4. ข้อดีดานจำานวนและคุณสมบัติของสารที่รีไซเคิล ้ คณาจารย์ของสาขาวิศวกรรมเครื่องกลและเพื่อน กลับมาได้ถือว่ามีความแตกต่างกันเนื่องจากงาน ร่วมงานใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกล่าวถึงไม่มีรายงานผลของสาร พระนครทุกท่าน อนึ่งหากผลงานวิจัยนี้สามารถนำา ที่นำามารีไวเคิลอย่างชัดเจนเมื่อนำามาเปรียบเทียบ กัน ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนได้อยู่บ้าง 5.ข้อดีด้านประโยชน์ของการรีไซเคิล งานวิจัยนี้ได้ คุณความดีส่วนที่ได้รับมานี้ ขออุทิศความดีส่วนนี้ ประโยชน์ 2 ประการคือ ด้านการอนุรักษ์และ ให้กับผู้ที่มีอุปการคุณทุกท่านตลอดไป ประหยัดพลังงานมีความคล้ายคลึงกับงานที่วิจัยที่ เกี่ยว ข้องแต่มีความแตกต่างกันที่งานวิจัยนี้ช่วยลด 7.เอกสารอ้างอิง(References) ปัญหาการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่ [11]Chungsing Wang : Compact Vacuum Distillation ระบายออกมาสู่ภายนอกห้องเย็นซึงสาเหตุส่วนหนึ่ง ่ Device 2000 United State Patent Application Publication ของสภาวะโลกร้อน South Dakota Extension Service 2. ข้อจำากัด การรีไซเคิลของงานวิจัยนีต้องใช้เวลา ้ มากกว่าการใช้แหล่งพลังงานความร้อนแบบอื่น แต่ [12]Masaru Noro : Vacuum Distillation Method and Vacuum สามารถที่จะพัฒนาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นได้อี Distillation Apparatus 2008 United State Patent Application มาก Publication US 2008/0230370 Al 5.สรุปผล(Conclusion) [13]William W. Berry : Partial Pressure Distillation Process 2011 United State Patent Application Publication สรุปผลโดยรวมของอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อการ US 2011/0162951 A1 ถ่ายเทพลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศมา ใช้เพื่อการรีไซเคิล [14] Jie Zhou,HaifengZhang,YanpingZhang,YinLin, 1)อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อการถ่ายเทพลังงานความ YanheMa : Designing and creating a modularized synthetic ร้อนจากเครื่องปรับ อากาศมาใช้กับการรีไซเคิลอะ pathway incyanobacterium Synechocystis enables production of acetone from carbondioxide ซีโตนทำาให้เป็นการใช้พลังงานที่สมเหตุผล
  • 7. [15]J. Markos*, M. S, L'. Jelemensky: Design and simulation of a reactor for the chlorination of acetone in gaseous phase [16] Laura C. Draucker, Jason P. Hallett, David Bush, Charles A. Eckert : Vapor–liquid–liquid equilibria of perfluorohexane +CO2 + methanol,+toluene, and +acetone at 313K ,2001 [13] Mohammad Khodadadi-Moghaddama, Aziz Habibi-Yangjehb, Mohamad Reza Gholamia,: Solvent effects on the reaction rate and selectivity of synchronous heterogeneous hydrogenation of cyclohexene and acetone in ionic iquid/alcohols mixtures [17] P. Zhua,, Y. Chena, L.Y. Wanga, G.Y. Qiana, M. Zhoub, J. Zhouc : A new technology for separation and recovery of materials from waste printed circuit boards by dissolving bromine epoxy resins using ionic liquid [18] Alexander S. Rattner a, Ananda Krishna Nagavarapu a, Srinivas Garimella a, Thomas F. Fuller b : Modeling of a flat plate membrane-distillation system for liquid desiccant regeneration in air-conditioning applications
  • 8. สอบการทำาละลายเบื้องต้นด้วยการล้างภาชนะที่มีสี 2)เมื่อพิจารณาด้านประโยชน์ทางอ้อมที่เกี่ยวข้อง แห้งแล้วติดอยู่สามารถ ทำาความสะอาดได้รวดเร็ว กับสิ่งแวดล้อมจากการ รีไซเคิลอะซีโตนให้ หมุนเวียนมาใช้ซำ้าได้เป็นการช่วยลดปัญหา 4)ผลการทดลองกับผลงานวิจันอื่นที่เกี่ยวข้อง มลภาวะทางอากาศ,นำ้าและดินและลดการการใช้ จากการทดสอบอุปกรณ์รีไซเคิลอะซีโตนที่ใช้ ทรัพยากรของโลกได้ 3)ประโยชน์ อุปกรณ์ถ่ายเทพลังงานความร้อนของเครื่องปรับ ทางอ้อมของงานวิจัยนี้ด้านสิงแวดล้อมที่ถ่ายเท ่ อากาศทีนำามาใช้ในการทดลองของงานวิจัยนี้มีข้อ ่ พลังงานความร้อนของเครื่องปรับอากาศจากส่วนที่ สรุปดังนี้ ระบายความร้อนของสารทำาความเย็นมาใช้ 1. ข้อดี ของงานวิจัยนี้ดานการใช้อุปกรณ์ถ่ายเท ้ ประโยชน์นี้ทำาให้ลดอุณหภูมิของอากาศแวดล้อม พลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศมาใช้กับ ห้องปรับอากาศได้ซงไม่มีในรายงานวิจัยที่ ึ่ การรีไซเคิล เมื่อพิจารณาด้านการใช้พลังงานมี ความแตกต่างไปจากเดิมมากเมื่อเปรียบเทียบกับ เกี่ยวข้อง การสกัดสารด้วยวิธีกลั่นแบบใช้พลังงานอย่างอื่น 6.กิตติกรรมประกาศ(Acknowledgment) (vacuum membrain distillation,partial distillation ect.) งานวิจยนี้สำาเร็จตามวัตถุประสงค์ได้ด้วยดีจาก ั 2. ข้อดีดานชิ้นส่วนของอุปกรณ์รีไซเคิลมีขนาดเล็ก ้ ความช่วยเหลือจากผู้ทรงคุณวุฒิที่กรุณาให้คำา และลดองค์ประกอบลงของอุปกรณ์รีไซเคิลเมื่อ เปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่น ปรึกษาแนะนำาด้านต่างๆ ทังแนวคิดและหลักการ ้ 3.ข้อดีในความชัดเจนของการทำารีไซเคิลที่ทำาการ เหตุผลซึ่งปรากฏนามไว้เป็นเกียรติดังนี้ ผศ.สห ทดลองจริง เมื่อเปรียบเทียบกับงานวิจัยอื่นที่ทำาเป็น รัตน์ วงษ์ศรีษะ ผศ.ดร.วิโรจน์ ฤทธิ์ทอง ใน แบบจำาลองด้วยโปรแกรม ส่วนของผูมีอุปการคุณที่ไม่ได้ปรากฏนามไว้เป็น ้ 4. ข้อดีดานจำานวนและคุณสมบัติของสารที่รีไซเคิล ้ คณาจารย์ของสาขาวิศวกรรมเครื่องกลและเพื่อน กลับมาได้ถือว่ามีความแตกต่างกันเนื่องจากงาน ร่วมงานใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล วิจัยอื่นที่เกี่ยวข้องกล่าวถึงไม่มีรายงานผลของสาร พระนครทุกท่าน อนึ่งหากผลงานวิจัยนี้สามารถนำา ที่นำามารีไวเคิลอย่างชัดเจนเมื่อนำามาเปรียบเทียบ กัน ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสาธารณชนได้อยู่บ้าง 5.ข้อดีด้านประโยชน์ของการรีไซเคิล งานวิจัยนี้ได้ คุณความดีส่วนที่ได้รับมานี้ ขออุทิศความดีส่วนนี้ ประโยชน์ 2 ประการคือ ด้านการอนุรักษ์และ ให้กับผู้ที่มีอุปการคุณทุกท่านตลอดไป ประหยัดพลังงานมีความคล้ายคลึงกับงานที่วิจัยที่ เกี่ยว ข้องแต่มีความแตกต่างกันที่งานวิจัยนี้ช่วยลด 7.เอกสารอ้างอิง(References) ปัญหาการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่ [11]Chungsing Wang : Compact Vacuum Distillation ระบายออกมาสู่ภายนอกห้องเย็นซึงสาเหตุส่วนหนึ่ง ่ Device 2000 United State Patent Application Publication ของสภาวะโลกร้อน South Dakota Extension Service 2. ข้อจำากัด การรีไซเคิลของงานวิจัยนีต้องใช้เวลา ้ มากกว่าการใช้แหล่งพลังงานความร้อนแบบอื่น แต่ [12]Masaru Noro : Vacuum Distillation Method and Vacuum สามารถที่จะพัฒนาให้มีความสามารถเพิ่มขึ้นได้อี Distillation Apparatus 2008 United State Patent Application มาก Publication US 2008/0230370 Al 5.สรุปผล(Conclusion) [13]William W. Berry : Partial Pressure Distillation Process 2011 United State Patent Application Publication สรุปผลโดยรวมของอุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อการ US 2011/0162951 A1 ถ่ายเทพลังงานความร้อนจากเครื่องปรับอากาศมา ใช้เพื่อการรีไซเคิล [14] Jie Zhou,HaifengZhang,YanpingZhang,YinLin, 1)อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นเพื่อการถ่ายเทพลังงานความ YanheMa : Designing and creating a modularized synthetic ร้อนจากเครื่องปรับ อากาศมาใช้กับการรีไซเคิลอะ pathway incyanobacterium Synechocystis enables production of acetone from carbondioxide ซีโตนทำาให้เป็นการใช้พลังงานที่สมเหตุผล