SlideShare a Scribd company logo
1 of 99
Download to read offline
1
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด
สังกัด คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร
หมวด 1
ขอมูลทั่วไป
1. ชื่อหลักสูตร
1.1 ชื่อภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส
1.2 ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Electronics Technology
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส)
2.2 ชื่อยอภาษาไทย วท.บ. (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส)
2.3 ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Science (Electronics Technology)
2.4 ชื่อยอภาษาอังกฤษ B.Sc. (Electronics Technology)
3. วิชาเอก
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส
4. จํานวนหนวยกิต
ไมนอยกวา 136 หนวยกิต
2
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 หลักสูตรปริญญาตรี
หลักสูตร 4 ป
5.2 ภาษาที่ใชในการเรียนการสอน
ภาษาไทย
5.3 รับนักศึกษา
นักศึกษาไทยและนักศึกษาตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดี
5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น
เปนหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา
ใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตร
6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556
6.2 เปดดําเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตรตั้งแตภาคเรียนที่1 ปการศึกษา 2556
6.3 ไดรับอนุมัติจากสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เมื่อการประชุม ครั้งที่ 5/2555
วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2555
6.4 ไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เมื่อการประชุม ครั้งที่ 9(68)/2555
วันที่ 20 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555
7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรคุณภาพและมาตรฐาน ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี
ปการศึกษา 2558
8. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังจากสําเร็จการศึกษา
ผูสําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสามารถ
ประกอบอาชีพไดกวางขวางที่เกี่ยวกับงานดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ไดแก
8.1 งานดานการออกแบบและติดตั้งระบบอิเล็กทรอนิกส
8.2 งานดานการควบคุมเครื่องกลไฟฟา
8.3 งานดานระบบวัดคุม
8.4 งานดานระบบอิเล็กทรอนิกส ทั้งในหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ
8.5 อาชีพอิสระ
นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาตอในสาขาวิชาที่เกี่ยวของในสถาบันทั้งในและตางประเทศ เปนตน
3
9. ชื่อ ตําแหนง และคุณวุฒิของอาจารยประจําหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร
9.1 อาจารยประจําหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร
ลํา
ดับ
ชื่อ – สกุล
เลขบัตรประชาชน
ตําแหนง คุณวุฒิ / สาขาวิชา สถาบันการศึกษา วิชาที่สอน
1
*
สิทธเดช หมอกมีชัย
3 4702 00188 9 00
อาจารย คอ.ม. (โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส)
คอ.บ. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
พระนครเหนือ
สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน
- อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน
- การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร
- การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส
- คอมพิวเตอรเบื้องตน
2
*
กันตภณ พรหมนิกร
3 4599 00217 9 78
อาจารย คอ.ม. (วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส)
วท.บ. (อิเล็กทรอนิกส)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี
สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี
- คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1
- คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2
- สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1
- การประยุกตไอซีเชิงเสน
3 ธีรศาสตร คณาศรี
3 4505 01030 9 73
อาจารย คอ.ม. (โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส)
วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา - สื่อสาร)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
พระนครเหนือ
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขต
ธัญบุรี
- อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม
- การออกแบบระบบดิจิตอล
- ระบบเครือขายคอมพิวเตอร
- อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน
4* สันติ พันธรัมย
3 3101 01507 2 00
อาจารย คอ.ม. (ไฟฟา - โทรคมนาคม)
วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส)
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
พระนครเหนือ
สถาบันราชภัฏบุรีรัมย
- การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส
- อิเล็กทรอนิกส 1
- ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1
5 เอกบดินทร กลิ่นเกษร
1 4599 00020 1 32
อาจารย วศ.ม. (วิศวกรรมโทรคมนาคม)
คอ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม)
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
เจาคุณทหารลาดกระบัง
- การสื่อสารใยแสง
- วัสดุศาสตร
- วิศวกรรมความปลอดภัย
หมายเหตุ * อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร
4
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน
10.1 สถานที่จัดการเรียนการสอน ใชสถานที่และอุปกรณการสอนภาควิชาวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด
ดังนี้
1) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 (อาคารเรียนรวม 9 ชั้น)
2) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ (อาคารเรียนรวม 7 ชั้น)
3) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 56 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
4) อาคารบรรณราชนครินทร (ศูนยวิทยบริการ)
5) อาคารศูนยภาษาและคอมพิวเตอร ชั้น 2 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 100 เครื่อง
6) อาคารศูนยภาษาและคอมพิวเตอร ชั้น 3 และ 4 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 109 เครื่อง
7) ศูนยคอมพิวเตอรอาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ ชั้น 2 จํานวนเครื่อง
คอมพิวเตอร 60 เครื่อง ชั้น 7 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 25 เครื่อง
8) หองบรรยายขนาด 50 ที่นั่ง จํานวน 20 หอง
9) หองบรรยายขนาด 150 ที่นั่ง จํานวน 2 หอง
หองปฏิบัติการที่มีอยูปจจุบัน
ลําดับที่ รายการ จํานวน
1 หองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 1 หอง
2 หองปฏิบัติการดิจิตอล 1 หอง
3 หองปฏิบัติการเครื่องจักรกล - ไฟฟา 1 หอง
4 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1 1 หอง
5 หองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 1 หอง
10.2 อุปกรณการเรียนการสอน
อุปกรณการเรียนการสอนที่มีอยูปจจุบัน
ลําดับที่ รายการ จํานวน
1 ชุดฝกอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 10 ชุด
2 ชุดฝกวงจรอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด
3 ชุดฝกดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด
4 ชุดฝกไฟเบอรออฟติค 2 ชุด
5 คอมพิวเตอร 15 ชุด
6 Single Board Microcomputer (MSC-51) 5 ชุด
7 ออสซิลโลสโคป 1 ชอง 3 ชุด
8 ปมลม 1 ชุด
9 ชุดการเรียนเบสิกแสตมป 2SX 1 ชุด
10 Digital Multimeter 10 ชุด
11 Laboratory DC Power Supply 8 ชุด
5
อุปกรณการเรียนการสอนที่ตองการเพิ่มเติม
10.3 หองสมุด และแหลงคนควา
ศูนยวิทยบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ซึ่งมีหนังสือ ตําราเรียน วารสาร
สื่ออิเล็กทรอนิกส ศูนยการเรียนรูดวยตนเองการใหบริการทางอินเตอรเน็ต (Internet) และการใหบริการ
ทางดานวิชาการตาง ๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้
10.3.1 สิ่งตีพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส
1. หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย
2. หนังสือและตําราเรียนภาษาอังกฤษ
3. วารสารตาง ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
4. วารสารวิชาการเย็บเลม
5. จุลสาร
6. หนังสือพิมพภาษาไทย
7. หนังสือพิมพภาษาตางประเทศ
ลําดับที่ รายการ จํานวน
12 ออสซิลโลสโคป 2 ชอง 10 ชุด
13 Dual Tracking DC Power Supply 5 ชุด
14 Regulate DC Power Supply 0-30 V 5A 5 ชุด
ลําดับที่ รายการ จํานวน
1 คอมพิวเตอร 20 ชุด
2 ชุดทดลองเครื่องมือวัดทางไฟฟา 20 ชุด
3 ชุดทดลองอิเล็กทรอนิกสกําลัง 20 ชุด
4 Storage Oscilloscope 5 ชุด
5 Projector 5 ชุด
6 ชุดทดลองเซ็นเซอรทรานสดิวเซอร 10 ชุด
7 ชุดฝก PLC 10 ชุด
8 ชุดฝกวงจรไฟฟา 20 ชุด
9 ออสซิลโลสโคป 2 ชอง 20 ชุด
10 ชุดฝกอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 20 ชุด
11 ชุดฝกวงจรตรรกะอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด
12 ชุดฝกโมดูลระบบอินเตอรเฟส 10 ชุด
13 Multi Interface Board (Z-80 Version) 20 ตัว
14 ชุดฝก MCS51 10 ชุด
15 ชุดฝก PIC16F877 10 ชุด
16 ชุดฝก CPLD 10 ชุด
6
8. กฤตภาค
9. แผนซีดี
10.3.2 ขอมูลออนไลน
1. ThaiLIS
2. Kluwer Online eBooks
3. NetLibrary eBooks
4. ACM Digital Library
5. H.W. Wilson
6. ABI/INFORM Complete
7. ProQuest Dissertation&Theses
8. SpringerLink Journal
9. Web of Science
10.4 สถานที่ฝกประสบการณวิชาชีพ
1. บริษัทน้ําตาลมิตรกาฬสินธุจํากัด จังหวัดกาฬสินธุ (หนวยซอมบํารุง)
2. บริษัทเมเจอรกรุป กรุงเทพมหานคร
3. สนามบินนานาชาติ จังหวัดอุบลราชธานี
4. สนามบินนานาชาติ จังหวัดขอนแกน
5. ทาอากาศยานจังหวัดรอยเอ็ด
6. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน อําเภอโพนทอง
7. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน จังหวัดรอยเอ็ด
8. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน จังหวัดยโสธร
9. สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย (94.00 MHz) จังหวัดรอยเอ็ด
10. สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด (92.25 MHz)
11. การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอเสลภูมิ
12. การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอสุวรรณภูมิ
13. การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดรอยเอ็ด
14. การไฟฟาฝายผลิตจังหวัดรอยเอ็ด
15. โรงไฟฟาพลังงานน้ํา (เขื่อนอุบลรัตน) อําเภอน้ําพอง จังหวัดขอนแกน
16. โรงไฟฟาพลังงานน้ํา (เขื่อนลําตะคอง) จังหวัดนครราชสีมา
17. โรงงานอุตสาหกรรมในเขตจังหวัดรอยเอ็ด
11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
11.1.1 จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ประเทศไทยเปนประเทศที่กําลัง
พัฒนาสูการเปนศูนยกลางทางอุตสาหกรรมและธุรกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงมีความตองการ
กําลังคนที่มีความรูความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส
11.1.2 สังคมโลกาภิวัตนไดเปดเสรีทางการคาและการประกอบอาชีพ ทําใหเกิดการแขงขัน
ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
7
11.1.3 สังคมปจจุบันมีความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร เปนสังคมแหงการเรียนรู
ที่แขงขันกันดวยความรูความสามารถ การผลิตบุคลากรระดับควบคุมงานที่มีความรูความสามารถจึงมีความ
จําเปนยิ่ง
11.1.4 สถาบันการศึกษาเปนที่พึ่งพาของประเทศในการเปนแหลงความรูและสรรสราง
นวัตกรรมที่นํามาใชประโยชนได จากกระบวนการเรียนการสอนที่สรางสรรคความคิดวิเคราะห
11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
11.2.1 ตระหนักในการอนุรักษสิ่งแวดลอมของสังคมโลก จากปญหาการเปลี่ยนแปลงทาง
ธรรมชาติในอัตราเรง ความจําเปนในการใชพลังงานอยางประหยัดคุมคา
11.2.2 แนวโนมการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีมีความเจริญกาวหนา ทําใหลดขั้นตอนและลด
เวลาในการผลิต ทําใหภาคอุตสาหกรรมตองปรับกระบวนการผลิต
11.2.3 ภาคอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวของกับแรงงานจํานวนมาก การปรับเปลี่ยน การบริหาร
จัดการหรือกระบวนการจึงมีผลกระทบตอรายไดของคนจํานวนมาก
11.2.4 มีการพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อเตรียมความพรอมของแรงงานใหตรงกับความตองการของ
ภาคอุตสาหกรรม
12. ผลกระทบจากขอ 11 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
12.1.1 พัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองความตองการของประเทศทางดานกําลังคนและความรู
ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีทางดานอิเล็กทรอนิกส
12.1.2 พัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงสังคม และเปนที่ยอมรับระดับสากล
12.1.3 ใหความสําคัญในเรื่องการนําเทคโนโลยีทางดานอิเล็กทรอนิกสมาพัฒนาทองถิ่น
12.1.4 มีการปรับเปลี่ยนรายวิชาใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน การเปลี่ยนแปลง
ทางสังคม เศรษฐกิจและเทคโนโลยี
12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย
12.2.1 ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีใหมีคุณภาพ สอดคลองกับความตองการกําลังคนของ
ทองถิ่นและประเทศ
12.2.2 เสริมสรางความมั่นคงและความเขมแข็งของชุมชนในทองถิ่น ขยายขอบเขตและ
รูปแบบการบริการวิชาชีพใหมีความหลากหลาย
12.2.3 สนับสนุนการสรางองคความรูจากงานวิจัยที่สามารถนําไปใชไดจริง
12.2.4 สงเสริมการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการทาง
วิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อสนองตอความเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดลอม
13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอื่นที่เปดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน
13.1 รายวิชาในหลักสูตรที่เปดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
13.1.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไดแก กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร กลุมวิชามนุษยศาสตร
กลุมวิชาสังคมศาสตร กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
13.2 รายวิชาที่เปดสอนใหคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
ไมมี
8
หมวด 2
ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร
1.1 ปรัชญาและความสําคัญ
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส มุงเนนใหโอกาสทางการ
ศึกษาวิชาชีพเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสแกประชาชนในทองถิ่น ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถ เปนผู
คิดคน พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม เพื่อตอบสนองความตองการของประเทศไทยใน โลกยุคปจจุบันโดยมุง
พัฒนาใหบัณฑิตมีความรูในการพัฒนาและใชเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทางดานอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนใหมี
จิตสํานึกในวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส สามารถนําความรูไปประยุกตใชกับทองถิ่นและประเทศชาติไดอยางมี
คุณภาพ
1.2 วัตถุประสงคของหลักสูตร
1.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ตรงตอเวลา ซื่อสัตยสุจริต
ขยันหมั่นเพียร สํานึกในจรรยาบรรณวิชาชีพ รับผิดชอบตอหนาที่และสังคม
1.2.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส การ
ควบคุมระบบการทํางานเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส และการบริหารงานทางดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสไดอยาง
มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความตองการของตลาดแรงงานทั้งภาครัฐและเอกชน
1.2.3 เพื่อผลิตบัณฑิตใหสามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดตั้งตรวจสอบระบบอิเล็กทรอนิกส
แกไขซอมบํารุง สามารถเลือกเทคโนโลยีใหมีความเหมาะสมกับลักษณะการใชงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด
1.2.4 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีทักษะในการสื่อสารระหวางผูบังคับบัญชา วิศวกร กับผูปฏิบัติงาน
อิเล็กทรอนิกส และสามารถถายทอดความรูในสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสไดอยางมีคุณภาพ
1.2.5 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะในการทํางาน วางแผนเตรียมการ รวมทั้งปรับปรุงและ
พัฒนาตนเองใหกาวหนาอยูเสมอ สามารถแกปญหาดวยหลักการและเหตุผล ปฏิบัติงานดวยหลักวิชาการที่มี
การวางแผนอยางเปนระบบ ซึ่งจะกอใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมายอยางประหยัด รวดเร็วและมีคุณภาพ
2. แผนพัฒนาปรับปรุง
ดําเนินการแลวเสร็จครบถวนภายใน 5 ป
ตารางแผนพัฒนาปรับปรุง
แผนการพัฒนา /
เปลี่ยนแปลง
กลยุทธ หลักฐาน / ดัชนีชี้วัด
1. สงเสริมการใชความรูเพื่อ
การแกไขปญหาในสถานการณ
จริง
1.1 ปรับปรุงการจัดโปรแกรม
การออกฝกประสบการณวิชาชีพ
เพิ่มเติมกิจกรรมแกปญหาดาน
เทคนิคเบื้องตนของสถาน
ประกอบการที่ฝกงาน
1.1 เริ่มโปรแกรมการออกฝก
ประสบการณวิชาชีพปที่ 4 ของ
การใชหลักสูตร
1.2 ผูประกอบการมีความพึง
พอใจตอผลงานของนักศึกษาใน
ระดับ 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
9
แผนการพัฒนา /
เปลี่ยนแปลง
กลยุทธ หลักฐาน / ดัชนีชี้วัด
2. ปรับปรุงหลักสูตรให
สอดคลองกับความตองการ
ของตลาดแรงงานและการ
เปลี่ยนแปลงทางดาน
เทคโนโลยี
2.1 ติดตามความเปลี่ยนแปลง
ในความตองการของผูใชบัณฑิต
2.1 รายงานผลการประเมิน
ความพึงพอใจในการใช
บัณฑิตของสถานประกอบการ
2.2 ความพึงพอใจในทักษะ
ความรู ความสามารถใน
การทํางานของบัณฑิต
2.3 ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตร
ใหสอดคลองกับความตองการ
ของตลาดแรงงานและการ
เปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี
ทุก 5 ป
3. ปรับปรุงการบริหาร
หลักสูตรโดยมุงผลการเรียนรู
ของนักศึกษา
3.1 ประชุมชี้แจงอาจารยและ
มอบหมายความรับผิดชอบตอ
ผลการเรียนรูใหอาจารยประจํา
วิชา
3.2 ติดตามผลการเรียนรูของ
นักศึกษา โดยอาจารยที่
รับผิดชอบหลักสูตร
3.1 มีการจัดทํารายละเอียด
รายวิชา และรายงานรายวิชา
ทุกรายวิชา
3.2 มีการทบทวนสอบ
ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาและ
จัดทํารายงานหลักสูตรทุกป
การศึกษา
3.3 ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
เปนไปตามมาตรฐาน
10
หมวด 3
ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบการจัดการศึกษา
ขอกําหนดตาง ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ดวาดวยการศึกษาระดับ
อนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม โดย
มหาวิทยาลัยใชระบบการศึกษาเปนแบบทวิภาค จัดการเรียนการสอนแบบปละ 2 ภาคการศึกษาปกติ มี
ระยะเวลาการศึกษาในแตละภาคการศึกษา ไมนอยกวา 15 สัปดาห
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน
ขอกําหนดตางๆ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวยการศึกษาระดับ
อนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม โดย
มหาวิทยาลัยอาจจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอนไดโดยใชเวลาการศึกษาไมนอยกวา 10 สัปดาห และมี
จํานวนชั่วโมงเรียนเทากับภาคการศึกษาปกติ ในกรณีที่จําเปนจะตองจัดการศึกษาแตกตางจากวรรคแรก
ใหเสนอตอสภามหาวิทยาลัยเพื่อใหความเห็นชอบ
1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค
การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชา ตองไดรับการเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหลักสูตร
และตองเปนไปตามขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ.
2550 ประกาศหลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียนรูของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และประกาศ
หรือขอกําหนดที่เกี่ยวของ
2. การดําเนินการหลักสูตร
2.1 ชวงเวลาการดําเนินการเรียนการสอน (อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามประกาศมหาวิทยาลัย)
2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 มิถุนายน - กันยายน
2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 พฤศจิกายน - กุมภาพันธ
ในกรณีจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ใหจัดในชวงเดือนมีนาคม–พฤษภาคม
2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา
2.2.1 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (หรือเทียบเทา) และใหเปนไปตาม
ระเบียบหรือขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด
2.2.2 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทาในสาขาวิชา
ชางอิเล็กทรอนิกส ชางไฟฟา ชางโทรคมนาคม คอมพิวเตอรหรือเทียบเทา
2.2.3 สําหรับผูสมัครเขาศึกษาแบบเทียบโอน เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา (อ.วท.)
3 ป หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางดานอิเล็กทรอนิกส ไฟฟา โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร
ซึ่งตองผานการเทียบโอนรายวิชาเดิมที่เคยศึกษาตามหลักเกณฑของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด
2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา
ปญหาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา มาเปนการเรียนรูที่มีรูปแบบแตกตางไป
จากเดิมที่คุนเคย มีสังคมกวางขึ้น ตองดูแลตนเองมากขึ้น มีกิจกรรมทั้งการเรียนในหองและกิจกรรมเสริม
หลักสูตรที่นักศึกษาตองสามารถจัดแบงเวลาใหเหมาะสม
11
2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3
2.4.1 จัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหมแนะนําการวางเปาหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน
มหาวิทยาลัย และการแบงเวลา
2.4.2 มอบหมายหนาที่อาจารยที่ปรึกษาใหแกอาจารยทุกคน ทําหนาที่สอดสองดูแลให
คําปรึกษาแนะนํา
2.4.3 มีคณะกรรมการอาจารยที่ปรึกษาใหความชวยเหลือแกอาจารยที่ปรึกษา จัดกิจกรรม
ที่เกี่ยวของกับการดูแลนักศึกษา เชน วันแรกพบระหวางนักศึกษากับอาจารย วันพบผูปกครอง การติดตามการ
เรียนของนักศึกษาชั้นปที่ 1 จากอาจารยผูสอนและจัดกิจกรรมสอนเสริมถาจําเปน เปนตน
2.4.4 มีนักวิชาการดานการศึกษาทําหนาที่แนะแนวการเรียน เชน การจับประเด็นจากการอาน
หนังสือ การจดโนต การจัดระบบความคิด การดํารงชีวิตในมหาวิทยาลัยใหแกนักศึกษาที่มีปญหาและขอความ
ชวยเหลือ
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป
2.5.1 จํานวนนักศึกษาที่จะรับสําหรับผูมีคุณสมบัติตามคุณสมบัติหมวดที่ 3 ขอ 2 (2.2)
ระดับ / ชั้นป
ปการศึกษา
2556 2557 2558 2559 2560
ชั้นปที่ 1 30 30 30 30 30
ชั้นปที่ 2 - 30 30 30 30
ชั้นปที่ 3 - - 30 30 30
ชั้นปที่ 4 - - - 30 30
รวม 30 60 90 120 120
จํานวนนักศึกษาที่จะสําเร็จ
การศึกษา
- - - 30 30
2.6 งบประมาณตามแผน
ใชงบประมาณของคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ดังนี้
2.6.1 งบประมาณรายรับ (หนวย:บาท)
รายละเอียด
ปงบประมาณ
2556 2557 2558 2559 2560
คาธรรมเนียมการศึกษา 360,000 720,000 1,080,000 1,440,000 1,440,000
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล 90,000 180,000 270,000 360,000 360,000
รวมรายรับ 450,000 900,000 1,350,000 1,800,000 1,800,000
12
2.6.2 งบประมาณรายจาย (หนวย:บาท)
รายละเอียด
ปงบประมาณ
2556 2557 2558 2559 2560
ก. งบดําเนินงาน
คาใชจายบุคลากร 795,000 858,600 927,288 1,001,471 1,081,589
คาใชจายดําเนินงาน 80,000 96,000 115,200 138,240 165,888
ทุนการศึกษา 25,000 30,000 35,000 40,000 40,000
รายจายระดับมหาวิทยาลัย 95,000 100,000 150,000 200,000 250,000
รวม (ก) 995,000 1,084,600 1,227,488 1,379,711 1,537,477
ข. งบลงทุน
คาครุภัณฑ 5,520,600 6,624,720 6,348,690 6,072,660 5,796,630
รวม (ข) 5,520,600 6,624,720 6,348,690 6,072,660 5,796,630
รวม (ก)+(ข) 6,515,600 7,709,320 7,576,178 7,452,371 7,334,107
จํานวนนักศึกษา 30 60 90 120 120
คาใชจายตอหัวนักศึกษา 10,000 10,000 15,000 20,000 20,000
2.7 ระบบการศึกษา
ใชระบบการศึกษาแบบชั้นเรียนและเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวย
การศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม
2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย (ถามี)
การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชาเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวย
การศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม
2.9 การคิดหนวยกิต
2.9.1 รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหา 1 ชั่วโมงตอสัปดาหตลอดหนึ่ง
ภาคการศึกษาปกติ หรือจํานวนชั่วโมงไมนอยกวา 15 ชั่วโมงใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต
2.9.2 รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใชเวลาฝกหรือทดลอง 2 - 3 ชั่วโมงตอสัปดาหตลอดหนึ่ง
ภาคการศึกษาปกติ หรือจํานวนชั่วโมงรวมระหวาง 30 - 45 ชั่วโมงใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต
2.9.3 การฝกประสบการณวิชาชีพหรือการฝกภาคสนามใชเวลาฝกไมนอยกวา 90 ชั่วโมงตอ
ภาคการศึกษาปกติใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต
2.9.4 การทําโครงงานหรือการเตรียมฝกภาคสนามใชเวลาฝกไมนอยกวา 90 ชั่วโมงตอภาค
การศึกษาปกติใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต
2.9.5 การศึกษาบางรายวิชาที่มีลักษณะเฉพาะ มหาวิทยาลัยอาจกําหนดหนวยกิตโดย
ใชหลักเกณฑอื่นไดตามความเหมาะสม
2.10 การลงทะเบียนเรียน
ในแตละภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนไดไมต่ํากวา 9 หนวยกิต (ยกเวนภาค
การศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาฝกประสบการณวิชาชีพ) แตไมเกิน 22 หนวยกิต สําหรับภาคการศึกษาภาคฤดูรอน
นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนไดไมเกิน 9 หนวยกิต ในการลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติที่มีจํานวน
13
หนวยกิตมากกวา 22 หนวยกิต แตไมเกิน 25 หนวยกิต หรือนอยกวา 9 หนวยกิต ตองไดรับความเห็นชอบ
จากอาจารยที่ปรึกษาและหัวหนาสาขา และไดรับอนุมัติจากคณบดีหรือรองอธิการบดีเปนราย ๆ ไป
ระยะเวลาการศึกษาหลักสูตรไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ แตไมเกิน 8 ปการศึกษาปกติ
สําหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา ทั้งนี้เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวยการศึกษาระดับ
ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม
3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน
3.1 หลักสูตร
หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส มีระยะเวลาในการศึกษา
ตลอดหลักสูตร 4 ป
3.1.1 จํานวนหนวยกิต มีจํานวนหนวยกิต ตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 136 หนวยกิต
3.1.2 โครงสรางหลักสูตร มีสัดสวนหนวยกิตแตละหมวดวิชา ดังนี้
1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต
1.1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต
1.2) กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
1.3) กลุมวิชาสังคมศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
1.4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 100 หนวยกิต
2.1) กลุมวิชาเฉพาะดานพื้นฐาน 22 หนวยกิต
2.2) กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ 60 หนวยกิต
2.3) กลุมวิชาเฉพาะดานเลือก ไมนอยกวา 12 หนวยกิต
2.4) กลุมประสบการณภาคสนาม 6 หนวยกิต
ใหเลือกแผนใดแผนหนึ่ง
2.4.1) ฝกประสบการณวิชาชีพ
2.4.1.1) เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 1 หนวยกิต
2.4.1.2) ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 5 หนวยกิต
2.4.2) สหกิจศึกษา
2.4.2.1) เตรียมสหกิจศึกษา 1 หนวยกิต
2.4.2.2) สหกิจศึกษา 5 หนวยกิต
3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
14
3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร
1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต
1.1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต
(ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้)
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Thai for Communication
GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(2-2-5)
English for Study Skills
GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5)
Information and Individual Study
GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
English for Communication
GEL1105 ภาษาญี่ปุนพื้นฐาน 3(2-2-5)
Japanese for Beginners
GEL1106 ภาษาจีนพื้นฐาน 3(2-2-5)
Chinese for Beginners
GEL1107 ภาษาเวียดนามพื้นฐาน 3(2-2-5)
Vietnamese for Beginners
GEL1108 ภาษาลาวพื้นฐาน 3(2-2-5)
Laos for Beginners
1.2) กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
(ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้)
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6)
Aesthetic Appreciation
GEH2102 จริยธรรมกับชีวิต 3(3-0-6)
Morality and Life
GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย 3(3-0-6)
Psychology for Human Development
GEH2104 การคิดเชิงวิพากษและการแกปญหา 3(3-0-6)
Critical Thinking and Problem Solving
15
1.3) กลุมวิชาสังคมศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
(ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้)
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GES3101 วิถีไทย 3(3 -0-6)
Thai Living
GES3102 วิถีโลก 3(3-0-6)
Global Society and Living
GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6)
Life and Environment
GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6)
Law for Daily Life
GES3105 การเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6)
Thai Politics and Government
1.4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
(ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้)
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GET4101 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5)
Science for Quality of Life
GET4102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2-5)
Thinking and Decision Making
GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน 3(2-2-5)
Information Technology for Work
GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5)
Exercise and Recreation for Health
16
2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 100 หนวยกิต
2.1) กลุมวิชาเฉพาะดานพื้นฐาน 22 หนวยกิต
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5)
Basic Electronics Training
ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5)
Engineering Drawing
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส1 3(3-0-6)
Electronics Engineering Mathematics 1
PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน 3(3-0-6)
Fundamental Physics
PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1(0-3-1)
Laboratory of Fundamental Physics
ELT2104 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส2 3(3-0-6)
Electronics Engineering Mathematics 2
ELT2105 วัสดุศาสตร 3(3-0-6)
Material Science
ELT3106 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6)
Safety Engineering
2.2) กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ 60 หนวยกิต
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
ELT1201 คอมพิวเตอรเบื้องตน 3(2-2-5)
Introduction to Computer
ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6)
Electronics 1
ELT1203 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 1(0-3-2)
Electronics Laboratory 1
ELT1204 ทฤษฎีวงจรไฟฟา 3(2-2-5)
Electric Circuits
ELT1205 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา 3(2-2-5)
Electrical Instruments and Measurement
17
ELT2206 อิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6)
Electronics 2
ELT2207 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 1(0-3-2)
Electronics Laboratory 2
ELT2208 การวิเคราะหวงจรไฟฟา 3(2-2-5)
Electric Circuits Analysis
ELT2209 ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส 3(3-0-6)
English for Electronic Work
ELT2210 อิเล็กทรอนิกสกําลัง 3(2-2-5)
Power Electronics
ELT2211 วงจรดิจิตอลและลอจิก 3(3-0-6)
Digital and Logic Circuits
ELT2212 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก 1(0-3-2)
Digital and Logic Circuits Laboratory
ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5)
Electrical and Electronics Appliance Repairs
ELT2214 การสื่อสารใยแสง 3(2-2-5)
Optical Fiber Communications
ELT3215 ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร 3(2-2-5)
Microcontroller and Microprocessor
ELT3216 การออกแบบระบบดิจิตอล 3(2-2-5)
Digital System Design
ELT3217 การประยุกตไอซีเชิงเสน 3(2-2-5)
Linear Integrated Circuits Application
ELT3218 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 3(2-2-5)
Industrial Electronics
ELT3219 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5)
Electronics Circuits Design
ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 3(2-2-5)
Invention and Innovation 1
ELT4221 การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
Industrial Quality Management
ELT4222 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2 3(2-2-5)
Invention and Innovation 2
18
2.3) กลุมวิชาเฉพาะดานเลือก ไมนอยกวา 12 หนวยกิต
(ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้)
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
ELT2301 เครื่องรับโทรทัศน 3(2-2-5)
Television
ELT2302 ระบบเคเบิลทีวี 3(2-2-5)
Cable TV Systems
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ)
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
ELT2303 เทคโนโลยีแผนวงจรพิมพ 3(2-2-5)
Printed Circuits Technology
ELT2304 การจําลองระบบโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5)
Computer Program Simulation
ELT2305 การสื่อสารขอมูลและโครงขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5)
Data Communication and Computer Networks
ELT3306 การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร 3(2-2-5)
Microcontroller Application
ELT3307 คอมพิวเตอรกราฟก 3(2-2-5)
Computer Graphics
ELT3308 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5)
Computer Network Systems
ELT3309 อิเล็กทรอนิกสทางแสง 3(2-2-5)
Opto Electronics
ELT4310 ตัวควบคุมแบบโปรแกรม 3(2-2-5)
Programmable Logic Controller
ELT4311 ระบบโทรศัพท 3(2-2-5)
Telephone Systems
ELT4312 อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน 3(2-2-5)
Electronics for Community
ELT4313 ภาษาอังกฤษในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
English for Industrial Work
ELT4314 เซนเซอรและทรานสดิวเซอร 3(2-2-5)
Sensors and Transducer
ELT4315 หัวขอคัดสรรทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5)
Selected Topics in Electronic
19
2.4) กลุมประสบการณภาคสนาม 6 หนวยกิต
(ใหเลือกจากแผนใดแผนหนึ่งตอไปนี้)
แผนฝกประสบการณวิชาชีพ
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
ELT4401 เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 1(90)
Preparation for Professional Experience in Electronics
ELT4402 ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 5(450)
Professional Experience in Electronics
แผนสหกิจศึกษา
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
ELT4403 เตรียมสหกิจศึกษา 1(90)
Pre-Cooperative Education
ELT4404 สหกิจศึกษา 5(450)
Cooperative Education
3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
ใหเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โดยไมซ้ํากับรายวิชาที่เคย
เรียนมาแลว และตองไมเปนรายวิชาที่กําหนดใหเรียนโดยไมนับหนวยกิต รวมในเกณฑการสําเร็จหลักสูตรของ
สาขาวิชา
4 คําอธิบายรหัสวิชาประกอบดวยสัญลักษณ 7 ตัว
ตัวอักษรภาษาอังกฤษ 3 ตัวแรก หมายถึง สาขาวิชาหรือคณะที่สังกัด
ตัวเลข ตัวที่ 4 หมายถึง ระดับชั้นป
ตัวเลข ตัวที่ 5 , 6 และ 7 หมายถึง ลําดับความยากงายของรายวิชา
20
3.1.4 แผนการศึกษา
ชั้นปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1
หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)
ศึกษาทั่วไป GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
ศึกษาทั่วไป GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(2-2-5)
เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5)
เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5)
เฉพาะดานพื้นฐาน PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน 3(3-0-6)
เฉพาะดานพื้นฐาน PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1(0-3-1)
เฉพาะดานบังคับ ELT1201 คอมพิวเตอรเบื้องตน 3(2-2-5)
รวม 19 หนวยกิต
ชั้นปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)
ศึกษาทั่วไป GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
ศึกษาทั่วไป GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน 3(2-2-5)
เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส1 3(3-0-6)
เฉพาะดานบังคับ ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6)
เฉพาะดานบังคับ ELT1203 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 1(0-3-2)
เฉพาะดานบังคับ ELT1204 ทฤษฎีวงจรไฟฟา 3(2-2-5)
เฉพาะดานบังคับ ELT1205 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา 3(2-2-5)
รวม 19 หนวยกิต
21
ชั้นปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)
ศึกษาทั่วไป GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5)
ศึกษาทั่วไป GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5)
เฉพาะดานพื้นฐาน ELT2104 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส2 3(3-0-6)
เฉพาะดานบังคับ ELT2206 อิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6)
เฉพาะดานบังคับ ELT2207 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 1(0-3-2)
เฉพาะดานบังคับ ELT2208 การวิเคราะหวงจรไฟฟา 3(2-2-5)
เฉพาะดานบังคับ ELT2209 ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส 3(3-0-6)
เฉพาะดานเลือก ELT2301 เครื่องรับโทรทัศน 3(2-2-5)
รวม 22 หนวยกิต
ชั้นปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)
ศึกษาทั่วไป GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6)
ศึกษาทั่วไป GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6)
เฉพาะดานพื้นฐาน ELT2105 วัสดุศาสตร 3(3-0-6)
เฉพาะดานบังคับ ELT2210 อิเล็กทรอนิกสกําลัง 3(2-2-5)
เฉพาะดานบังคับ ELT2211 วงจรดิจิตอลและลอจิก 3(3-0-6)
เฉพาะดานบังคับ ELT2212 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก 1(0-3-2)
เฉพาะดานบังคับ ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5)
เฉพาะดานบังคับ ELT2214 การสื่อสารใยแสง 3(2-2-5)
รวม 22 หนวยกิต
22
ชั้นปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1
หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)
ศึกษาทั่วไป GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย 3(3-0-6)
ศึกษาทั่วไป GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6)
เฉพาะดานพื้นฐาน ELT3106 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6)
เฉพาะดานบังคับ ELT3215 ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร 3(2-2-5)
เฉพาะดานบังคับ ELT3216 การออกแบบระบบดิจิตอล 3(2-2-5)
เฉพาะดานบังคับ ELT3217 การประยุกตไอซีเชิงเสน 3(2-2-5)
เลือกเสรี xxxxxxx เลือกเสรี 1 3(x-x-x)
รวม 21 หนวยกิต
ชั้นปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)
เฉพาะดานบังคับ ELT3218 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 3(2-2-5)
เฉพาะดานบังคับ ELT3219 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5)
เฉพาะดานบังคับ ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 3(2-2-5)
เฉพาะดานเลือก ELT3306 การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร 3(2-2-5)
เฉพาะดานเลือก ELT3308 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5)
เลือกเสรี xxxxxxx เลือกเสรี 2 3(x-x-x)
รวม 18 หนวยกิต
23
ชั้นปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ)
เฉพาะดานบังคับ ELT4221 การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6)
เฉพาะดานบังคับ ELT4222 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2 3(2-2-5)
เฉพาะดานเลือก ELT4312 อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน 3(2-2-5)
ประสบการณ
ภาคสนาม
ELT4401
หรือ
ELT4403
เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส
เตรียมสหกิจศึกษา
1(90)
รวม 10 หนวยกิต
ชั้นปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต
ประสบการณ
ภาคสนาม
ELT4402
หรือ
ELT4404
ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส
สหกิจศึกษา
5(450)
รวม 5 หนวยกิต
24
3.1.5 คําอธิบายรายวิชา
1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ )
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
Thai for Communication
ความสําคัญของภาษาไทยในฐานะที่เปนเครื่องมือสื่อสาร สภาพปญหาและ
แนวทางแกไขปญหา การใชภาษาในชีวิตประจําวัน กระบวนการพัฒนาทักษะทาง
ภาษา การนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ
GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(2-2-5)
English for Study Skills
หลักการ วิธีการ และเทคนิคเบื้องตนในการศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ กลยุทธ
การอานที่มีประสิทธิภาพ ทักษะการเขียนเพื่อสรุปใจความจากตําราและการ
บรรยาย การสื่อสารในชั้นเรียน การพูดและเขียนตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน
การนําเสนอขอมูล การแสดงความคิดเห็นในประเด็นทางการเรียน การสืบคนขอมูล
จากแหลงตางๆ
GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5)
Information and Individual Study
ความสําคัญของการรูสารสนเทศ กระบวนการพัฒนาความรูและ
ทักษะสารสนเทศ ประกอบดวย การวิเคราะหความตองการสารสนเทศ การเลือก
แหลงและทรัพยากรสารสนเทศ การสืบคนสารสนเทศโดยใชเทคโนโลยี สารสนเทศ
เปนเครื่องมือ การวิเคราะห สังเคราะหและประเมินสารสนเทศ การเรียบเรียงและ
นําเสนอสารสนเทศในรูปแบบตางๆ อยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5)
English for Communication
ทักษะเพื่อการสื่อสาร การพูดการฟงในบริบทที่หลากหลาย การออกเสียง
และใชสํานวนภาษาอังกฤษอยางถูกตองเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การฟงและ
แปลความหมายบทสนทนาและจากสื่อตางๆ การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อสงเสริม
ความสามารถในการสื่อสารกับสังคมโลก
25
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ )
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GEL1105 ภาษาญี่ปุนพื้นฐาน 3(2-2-5)
Japanese for Beginners
ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาญี่ปุนอยางบูรณาการ ศึกษา
รูปประโยคและไวยากรณพื้นฐาน ฝกสนทนาที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การ
ทักทาย การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ ฝกการอานขอความสั้นๆ สรุป
และตอบคําถามได การเขียนประโยคงาย ๆ
GEL1106 ภาษาจีนพื้นฐาน 3(2-2-5)
Chinese for Beginners
ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาจีนอยางบูรณาการ สําหรับ
ทักษะการฟงและการพูด ผูเรียนไดฝกทักษะขั้นพื้นฐานที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก
การทักทายการแนะนํา การขอบคุณ การขอโทษ ทักษะการเขียน ฝกเขียนตามคําบอก
และเขียนประโยคงายๆ ทักษะการอาน ฝกอานเนื้อหาขอความสั้นๆ สามารถสรุป
และตอบคําถามได
GEL1107 ภาษาเวียดนามพื้นฐาน 3(2-2-5)
Vietnamese for Beginners
ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาเวียดนามอยางบูรณาการ ศึกษา
รูปประโยคและไวยากรณ การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ เปนตน
การอาน การฝกอานขอความสั้นๆ สามารถสรุปและตอบคําถามได การเขียน
ประโยคงายๆ ได
GEL1108 ภาษาลาวพื้นฐาน 3(2-2-5)
Laos for Beginners
ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาลาวอยางบูรณาการ ศึกษา
รูปประโยคและไวยากรณพื้นฐาน เนนฝกบทสนทนาที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก
การทักทาย การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ เปนตน การอาน การฝกอาน
ขอความสั้นๆ สามารถสรุปและตอบคําถามได การเขียนประโยคงาย ๆ ได
26
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ )
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6)
Aesthetic Appreciation
จําแนกขอแตกตางในศาสตรทางความงาม ความหมายของสุนทรียศาสตร
เชิงการคิดกับสุนทรียศาสตรเชิงพฤติกรรมโดยสังเขป ความสําคัญของการรับรูกับ
ความเปนมาของศาสตรทางความเห็น ศาสตรทางการไดยิน และศาสตร
ทางการเคลื่อนไหวสูทัศนศิลป ศิลปะดนตรี และศิลปะการแสดง ผานขั้นตอนการ
เรียนรูเชิงคุณคาจากระดับการรําลึก ผานขั้นตอนความคุนเคย และนําเขาสูขั้นความ
ซาบซึ้ง เพื่อใหไดมาซึ่งประสบการณของความซาบซึ้งทางสุนทรียภาพ
GEH2102 จริยธรรมกับชีวิต 3(3-0-6)
Morality and Life
ชีวิต ความหมาย คุณคาและเปาหมายของชีวิต ปรัชญาและแนวคิดในการ
ดําเนินชีวิต หลักยึดเหนี่ยวของชีวิต พัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในตนเอง การ
ดําเนินชีวิตอยูรวมกันในสังคม เรียนรูแนวทางในการแกปญหาชีวิตโดยอาศัยหลัก
ศาสนธรรม
GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย 3(3-0-6)
Psychology for Human Development
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจิตวิทยาทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย พฤติกรรมมนุษย
พัฒนาการ การเรียน กระบวนการรูจักและเขาใจตนเองและผูอื่น การพัฒนาทักษะ
และสัมพันธภาพในชีวิตประจําวัน การปรับพฤติกรรม การดําเนินชีวิตในสังคมอยาง
มีความสุข ทั้งในชีวิตสวนตัว ดานสังคม และการประกอบอาชีพ
GEH2104 การคิดเชิงวิพากษและการแกปญหา 3(3-0-6)
Critical Thinking and Problem Solving
หลักการและกระบวนการคิดเชิงวิพากษ การแสวงหาขอมูลและความรู
การใหเหตุผล การคิดและการตัดสินใจ แนวทางการพัฒนาการคิดเชิงวิพากษ
และการตอบสนองเมื่อถูกวิพากษ หลักการและกระบวนการแกปญหาทาง
วิทยาศาสตรและสังคม แนวทางการพัฒนาการแกปญหาทางวิทยาศาสตร
และสังคม
27
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ )
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GES3101 วิถีไทย 3(3-0-6)
Thai Living
ลักษณะทั่วไป วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ทั้งในเมือง
และชนบท วัฒนธรรม และประเพณีไทย สภาพปญหาและแนวทางการขจัดปญหา
สังคมไทย โดยศึกษาการพัฒนาโครงสรางอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ภูมิปญญา
ชาวบานและทองถิ่น ตลอดถึงวิสัยทัศนดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการ
ปกครองที่คนไทยอยากเห็น
GES3102 วิถีโลก 3(3-0-6)
Global Society and Living
วิวัฒนาการสังคม ระบบเศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองของประเทศไทย
และสังคมโลก การจัดระเบียบโลกในดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง
ตลอดถึงการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองของประเทศไทย
เพื่อปรับตัวเขาสูประชาคมอาเซียน ตลอดจนปรับตัวเขากับการจัดระเบียบของ
สังคมโลก
GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6)
Life and Environment
ความหมาย คุณสมบัติ และมิติของสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ
ความสําคัญการใชและการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศความสัมพันธเชิงระบบ
ระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพ และสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ ความ
หลากหลายทางชีวภาพในทองถิ่น เครือขายสิ่งแวดลอม การใชวิทยาศาสตร และ
เทคโนโลยีที่มีผลตอสิ่งแวดลอม ปญหามลพิษ การประเมินสถานการณ มาตรฐาน
สิ่งแวดลอม คุณภาพสิ่งแวดลอม กฎหมายและพระราชบัญญัติสิ่งแวดลอม
การสงเสริม การรักษาและคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติตาม
หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน สิ่งแวดลอมศึกษา
GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6)
Law for Daily Life
กฎหมายที่มีความจําเปนในการดําเนินชีวิต กฎหมายรัฐธรรมนูญ และ
กฎหมายอื่นๆ ที่ประชาชนพึงทราบ
28
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ )
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
GES3105 การเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6)
Thai Politics and Government
สถาบันและกระบวนการเมืองไทย ประวัติศาสตร การปกครองไทย
วิเคราะห การเมืองและพฤติกรรมทางการเมืองไทย วิเคราะหบทบาทของสถาบัน
ทางการเมืองของไทย คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล พรรคการเมือง การเลือกตั้ง
การบริหารราชการ และการปกครองทองถิ่น
GET4101 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5)
Science for Quality of Life
กระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การนําความรูทาง
วิทยาศาสตรมาประยุกตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดํารงอยูอยางเปนสุขและ
มีประสิทธิภาพ ผลกระทบของความกาวหนาทางวิทยาศาสตรที่มีตอมนุษย และ
สังคม
GET4102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2-5)
Thinking and Decision Making
หลักการ และกระบวนการคิดของมนุษย ความคิดสรางสรรค การวิเคราะห
ขอมูลและขาวสาร ตรรกศาสตรและการใชเหตุผล กระบวนการตัดสินใจ
กําหนดการเชิงเสน และการประยุกตใชในการแกปญหาในชีวิตประจําวัน
GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน 3(2-2-5)
Information Technology for Work
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีผลกระทบตอชีวิตและความเปนอยูของ
มนุษย องคประกอบทางดานฮารดแวร การใชโปรแกรมระบบ การใชโปรแกรม
ประยุกต เพื่อการจัดทําเอกสาร การทําตารางคํานวณ การนําเสนอ และการจัดการ
ฐานขอมูล ศึกษาการใชงานเครือขายคอมพิวเตอร การแลกเปลี่ยนขอมูลบนระบบ
เครือขายคอมพิวเตอร การเคารพในทรัพยสินทางปญญา
GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5)
Exercise and Recreation for Health
ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการออกกําลังกายและนันทนาการ ความหมาย
และคุณคาของกิจกรรมการออกกําลังกายและนันทนาการ ประเภทของการ
ออกกําลังกาย และนันทนาการ การฝกปฏิบัติการออกกําลังกายชนิดตางๆ หลักการ
เปนผูนํากิจกรรมนันทนาการ และการจัดกิจกรรมนันทนาการ
29
2 หมวดวิชาเฉพาะ
รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ )
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ
ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5)
Basic Electronics Training
ปฏิบัติการเกี่ยวกับงานติดตั้งไฟฟา พื้นฐานการวัดทางไฟฟา การปฏิบัติงาน
พื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส เชน การตอไฟฟาชนิดตาง ๆ การบัดกรี การออกแบบ
และสรางลายวงจรพิมพเบื้องตน และการใชเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส
ไดอยางปลอดภัย
ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5)
Engineering Drawing
มาตรฐานการเขียนแบบวิศวกรรม การเขียนรูปภาพ การเขียนภาพฉาย
การกําหนดขนาดของงานในลักษณะตาง ๆ การเขียนแบบไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
การใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการเขียนแบบ
ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6)
Electronics Engineering Mathematics 1
เวกเตอร เมตริกซ ระบบสมการเชิงเสน ตัวกําหนดลิมิต ความตอเนื่อง
อนุพันธ ปริพันธ เทคนิคการหาปริพันธ และการประยุกต
PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน 3(3-0-6)
Fundamental Physics
การวัด และความแมนยําของการวัด กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎการ
อนุรักษพลังงานและโมเมนตัม การเคลื่อนที่แบบสั่น และการเคลื่อนที่แบบหมุน
ความรอน
PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1(0-3-1)
Laboratory of Fundamental Physics
เทคนิคการใชอุปกรณ และกระบวนการทดลองใหสอดคลองกับเนื้อหา
การวัด และความแมนยําในการวัด กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเครื่องกลอยางงาย
ปรากฏการณของความรอน กฎของโอหม การใชเครื่องวัดทางไฟฟา การสะทอน
และการหักเหของแสง
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป
เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป

More Related Content

Viewers also liked

Diet Plan - For Pitta Prakriti
Diet Plan - For Pitta PrakritiDiet Plan - For Pitta Prakriti
Diet Plan - For Pitta PrakritiJVGAJJAR
 
ИТ-парк - в г. Н. Челны.
ИТ-парк - в г. Н. Челны.ИТ-парк - в г. Н. Челны.
ИТ-парк - в г. Н. Челны.Peri Innovations
 
INGENIERIA INDUSTRIAL
INGENIERIA INDUSTRIALINGENIERIA INDUSTRIAL
INGENIERIA INDUSTRIALluis9301
 
Bpos Sales Presentation
Bpos Sales PresentationBpos Sales Presentation
Bpos Sales Presentationmarcotucci
 
Fm powerpoint summer 2010 goed
Fm powerpoint summer 2010 goedFm powerpoint summer 2010 goed
Fm powerpoint summer 2010 goedrudigielen
 
Scar Poster Analysis
Scar Poster AnalysisScar Poster Analysis
Scar Poster AnalysisSonia Naqvi
 

Viewers also liked (10)

718001 000 en
718001 000 en718001 000 en
718001 000 en
 
Σταυροφορίες
Σταυροφορίες Σταυροφορίες
Σταυροφορίες
 
JYL Project nov2010
JYL Project nov2010JYL Project nov2010
JYL Project nov2010
 
Diet Plan - For Pitta Prakriti
Diet Plan - For Pitta PrakritiDiet Plan - For Pitta Prakriti
Diet Plan - For Pitta Prakriti
 
ИТ-парк - в г. Н. Челны.
ИТ-парк - в г. Н. Челны.ИТ-парк - в г. Н. Челны.
ИТ-парк - в г. Н. Челны.
 
INGENIERIA INDUSTRIAL
INGENIERIA INDUSTRIALINGENIERIA INDUSTRIAL
INGENIERIA INDUSTRIAL
 
WEB 2.0
WEB 2.0WEB 2.0
WEB 2.0
 
Bpos Sales Presentation
Bpos Sales PresentationBpos Sales Presentation
Bpos Sales Presentation
 
Fm powerpoint summer 2010 goed
Fm powerpoint summer 2010 goedFm powerpoint summer 2010 goed
Fm powerpoint summer 2010 goed
 
Scar Poster Analysis
Scar Poster AnalysisScar Poster Analysis
Scar Poster Analysis
 

Similar to เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป

Similar to เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป (10)

รายวิชา ปวส
รายวิชา ปวสรายวิชา ปวส
รายวิชา ปวส
 
648 1
648 1648 1
648 1
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
 
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _มเสนอผลงานว ชา งานกล _ม
เสนอผลงานว ชา งานกล _ม
 
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
เกร็ดความรู้ Internet tips กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Ipst se book130326
Ipst se book130326Ipst se book130326
Ipst se book130326
 
Work4 07
Work4 07Work4 07
Work4 07
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 

เทคโนโลยิอิเล็กทรอนิกส์ (วท.บ.) นศ.รัหส 56 เป็นต้นไป

  • 1. 1 หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556 ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด สังกัด คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร หมวด 1 ขอมูลทั่วไป 1. ชื่อหลักสูตร 1.1 ชื่อภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 1.2 ภาษาอังกฤษ Bachelor of Science Program in Electronics Technology 2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 2.1 ชื่อเต็มภาษาไทย วิทยาศาสตรบัณฑิต (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) 2.2 ชื่อยอภาษาไทย วท.บ. (เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส) 2.3 ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Bachelor of Science (Electronics Technology) 2.4 ชื่อยอภาษาอังกฤษ B.Sc. (Electronics Technology) 3. วิชาเอก เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 4. จํานวนหนวยกิต ไมนอยกวา 136 หนวยกิต
  • 2. 2 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 หลักสูตรปริญญาตรี หลักสูตร 4 ป 5.2 ภาษาที่ใชในการเรียนการสอน ภาษาไทย 5.3 รับนักศึกษา นักศึกษาไทยและนักศึกษาตางประเทศที่สามารถใชภาษาไทยไดเปนอยางดี 5.4 ความรวมมือกับสถาบันอื่น เปนหลักสูตรเฉพาะของสถาบันที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.5 การใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษา ใหปริญญาแกผูสําเร็จการศึกษาเพียงสาขาวิชาเดียว 6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ / เห็นชอบหลักสูตร 6.1 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556 6.2 เปดดําเนินการเรียนการสอนตามหลักสูตรตั้งแตภาคเรียนที่1 ปการศึกษา 2556 6.3 ไดรับอนุมัติจากสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เมื่อการประชุม ครั้งที่ 5/2555 วันที่ 1 เดือน ตุลาคม พ.ศ. 2555 6.4 ไดรับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด เมื่อการประชุม ครั้งที่ 9(68)/2555 วันที่ 20 เดือน ธันวาคม พ.ศ. 2555 7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน หลักสูตรมีความพรอมเผยแพรคุณภาพและมาตรฐาน ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี ปการศึกษา 2558 8. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังจากสําเร็จการศึกษา ผูสําเร็จการศึกษาจากหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสสามารถ ประกอบอาชีพไดกวางขวางที่เกี่ยวกับงานดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ไดแก 8.1 งานดานการออกแบบและติดตั้งระบบอิเล็กทรอนิกส 8.2 งานดานการควบคุมเครื่องกลไฟฟา 8.3 งานดานระบบวัดคุม 8.4 งานดานระบบอิเล็กทรอนิกส ทั้งในหนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน รัฐวิสาหกิจ 8.5 อาชีพอิสระ นอกจากนี้ยังสามารถศึกษาตอในสาขาวิชาที่เกี่ยวของในสถาบันทั้งในและตางประเทศ เปนตน
  • 3. 3 9. ชื่อ ตําแหนง และคุณวุฒิของอาจารยประจําหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร 9.1 อาจารยประจําหลักสูตรและผูรับผิดชอบหลักสูตร ลํา ดับ ชื่อ – สกุล เลขบัตรประชาชน ตําแหนง คุณวุฒิ / สาขาวิชา สถาบันการศึกษา วิชาที่สอน 1 * สิทธเดช หมอกมีชัย 3 4702 00188 9 00 อาจารย คอ.ม. (โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส) คอ.บ. (วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีปทุมวัน - อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน - การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร - การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส - คอมพิวเตอรเบื้องตน 2 * กันตภณ พรหมนิกร 3 4599 00217 9 78 อาจารย คอ.ม. (วิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส) วท.บ. (อิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี - คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 - คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 2 - สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 - การประยุกตไอซีเชิงเสน 3 ธีรศาสตร คณาศรี 3 4505 01030 9 73 อาจารย คอ.ม. (โปรแกรมอิเล็กทรอนิกส) วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟา - สื่อสาร) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขต ธัญบุรี - อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม - การออกแบบระบบดิจิตอล - ระบบเครือขายคอมพิวเตอร - อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน 4* สันติ พันธรัมย 3 3101 01507 2 00 อาจารย คอ.ม. (ไฟฟา - โทรคมนาคม) วท.บ. (เทคโนโลยีอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส) สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา พระนครเหนือ สถาบันราชภัฏบุรีรัมย - การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส - อิเล็กทรอนิกส 1 - ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 5 เอกบดินทร กลิ่นเกษร 1 4599 00020 1 32 อาจารย วศ.ม. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) คอ.บ. (วิศวกรรมโทรคมนาคม) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา เจาคุณทหารลาดกระบัง - การสื่อสารใยแสง - วัสดุศาสตร - วิศวกรรมความปลอดภัย หมายเหตุ * อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร
  • 4. 4 10. สถานที่จัดการเรียนการสอน 10.1 สถานที่จัดการเรียนการสอน ใชสถานที่และอุปกรณการสอนภาควิชาวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี คณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร และหนวยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของในมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ดังนี้ 1) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 (อาคารเรียนรวม 9 ชั้น) 2) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ (อาคารเรียนรวม 7 ชั้น) 3) อาคารเฉลิมพระเกียรติ 56 พรรษา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา 4) อาคารบรรณราชนครินทร (ศูนยวิทยบริการ) 5) อาคารศูนยภาษาและคอมพิวเตอร ชั้น 2 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 100 เครื่อง 6) อาคารศูนยภาษาและคอมพิวเตอร ชั้น 3 และ 4 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 109 เครื่อง 7) ศูนยคอมพิวเตอรอาคารเฉลิมพระเกียรติ 50 พรรษามหาวชิราลงกรณ ชั้น 2 จํานวนเครื่อง คอมพิวเตอร 60 เครื่อง ชั้น 7 จํานวนเครื่องคอมพิวเตอร 25 เครื่อง 8) หองบรรยายขนาด 50 ที่นั่ง จํานวน 20 หอง 9) หองบรรยายขนาด 150 ที่นั่ง จํานวน 2 หอง หองปฏิบัติการที่มีอยูปจจุบัน ลําดับที่ รายการ จํานวน 1 หองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 1 หอง 2 หองปฏิบัติการดิจิตอล 1 หอง 3 หองปฏิบัติการเครื่องจักรกล - ไฟฟา 1 หอง 4 หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร 1 1 หอง 5 หองปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 1 หอง 10.2 อุปกรณการเรียนการสอน อุปกรณการเรียนการสอนที่มีอยูปจจุบัน ลําดับที่ รายการ จํานวน 1 ชุดฝกอิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 10 ชุด 2 ชุดฝกวงจรอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด 3 ชุดฝกดิจิตอลอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด 4 ชุดฝกไฟเบอรออฟติค 2 ชุด 5 คอมพิวเตอร 15 ชุด 6 Single Board Microcomputer (MSC-51) 5 ชุด 7 ออสซิลโลสโคป 1 ชอง 3 ชุด 8 ปมลม 1 ชุด 9 ชุดการเรียนเบสิกแสตมป 2SX 1 ชุด 10 Digital Multimeter 10 ชุด 11 Laboratory DC Power Supply 8 ชุด
  • 5. 5 อุปกรณการเรียนการสอนที่ตองการเพิ่มเติม 10.3 หองสมุด และแหลงคนควา ศูนยวิทยบริการของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด ซึ่งมีหนังสือ ตําราเรียน วารสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส ศูนยการเรียนรูดวยตนเองการใหบริการทางอินเตอรเน็ต (Internet) และการใหบริการ ทางดานวิชาการตาง ๆ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 10.3.1 สิ่งตีพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส 1. หนังสือและตําราเรียนภาษาไทย 2. หนังสือและตําราเรียนภาษาอังกฤษ 3. วารสารตาง ๆ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 4. วารสารวิชาการเย็บเลม 5. จุลสาร 6. หนังสือพิมพภาษาไทย 7. หนังสือพิมพภาษาตางประเทศ ลําดับที่ รายการ จํานวน 12 ออสซิลโลสโคป 2 ชอง 10 ชุด 13 Dual Tracking DC Power Supply 5 ชุด 14 Regulate DC Power Supply 0-30 V 5A 5 ชุด ลําดับที่ รายการ จํานวน 1 คอมพิวเตอร 20 ชุด 2 ชุดทดลองเครื่องมือวัดทางไฟฟา 20 ชุด 3 ชุดทดลองอิเล็กทรอนิกสกําลัง 20 ชุด 4 Storage Oscilloscope 5 ชุด 5 Projector 5 ชุด 6 ชุดทดลองเซ็นเซอรทรานสดิวเซอร 10 ชุด 7 ชุดฝก PLC 10 ชุด 8 ชุดฝกวงจรไฟฟา 20 ชุด 9 ออสซิลโลสโคป 2 ชอง 20 ชุด 10 ชุดฝกอิเล็กทรอนิกสเบื้องตน 20 ชุด 11 ชุดฝกวงจรตรรกะอิเล็กทรอนิกส 10 ชุด 12 ชุดฝกโมดูลระบบอินเตอรเฟส 10 ชุด 13 Multi Interface Board (Z-80 Version) 20 ตัว 14 ชุดฝก MCS51 10 ชุด 15 ชุดฝก PIC16F877 10 ชุด 16 ชุดฝก CPLD 10 ชุด
  • 6. 6 8. กฤตภาค 9. แผนซีดี 10.3.2 ขอมูลออนไลน 1. ThaiLIS 2. Kluwer Online eBooks 3. NetLibrary eBooks 4. ACM Digital Library 5. H.W. Wilson 6. ABI/INFORM Complete 7. ProQuest Dissertation&Theses 8. SpringerLink Journal 9. Web of Science 10.4 สถานที่ฝกประสบการณวิชาชีพ 1. บริษัทน้ําตาลมิตรกาฬสินธุจํากัด จังหวัดกาฬสินธุ (หนวยซอมบํารุง) 2. บริษัทเมเจอรกรุป กรุงเทพมหานคร 3. สนามบินนานาชาติ จังหวัดอุบลราชธานี 4. สนามบินนานาชาติ จังหวัดขอนแกน 5. ทาอากาศยานจังหวัดรอยเอ็ด 6. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน อําเภอโพนทอง 7. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน จังหวัดรอยเอ็ด 8. บริษัท ที โอ ที จํากัดมหาชน จังหวัดยโสธร 9. สถานีวิทยุกระจายเสียงแหงประเทศไทย (94.00 MHz) จังหวัดรอยเอ็ด 10. สถานีวิทยุเพื่อการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด (92.25 MHz) 11. การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอเสลภูมิ 12. การไฟฟาสวนภูมิภาคอําเภอสุวรรณภูมิ 13. การไฟฟาสวนภูมิภาคจังหวัดรอยเอ็ด 14. การไฟฟาฝายผลิตจังหวัดรอยเอ็ด 15. โรงไฟฟาพลังงานน้ํา (เขื่อนอุบลรัตน) อําเภอน้ําพอง จังหวัดขอนแกน 16. โรงไฟฟาพลังงานน้ํา (เขื่อนลําตะคอง) จังหวัดนครราชสีมา 17. โรงงานอุตสาหกรรมในเขตจังหวัดรอยเอ็ด 11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จําเปนตองนํามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 11.1.1 จากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติฉบับที่ 11 ประเทศไทยเปนประเทศที่กําลัง พัฒนาสูการเปนศูนยกลางทางอุตสาหกรรมและธุรกิจของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต จึงมีความตองการ กําลังคนที่มีความรูความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส 11.1.2 สังคมโลกาภิวัตนไดเปดเสรีทางการคาและการประกอบอาชีพ ทําใหเกิดการแขงขัน ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
  • 7. 7 11.1.3 สังคมปจจุบันมีความเจริญทางเทคโนโลยีและการสื่อสาร เปนสังคมแหงการเรียนรู ที่แขงขันกันดวยความรูความสามารถ การผลิตบุคลากรระดับควบคุมงานที่มีความรูความสามารถจึงมีความ จําเปนยิ่ง 11.1.4 สถาบันการศึกษาเปนที่พึ่งพาของประเทศในการเปนแหลงความรูและสรรสราง นวัตกรรมที่นํามาใชประโยชนได จากกระบวนการเรียนการสอนที่สรางสรรคความคิดวิเคราะห 11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม 11.2.1 ตระหนักในการอนุรักษสิ่งแวดลอมของสังคมโลก จากปญหาการเปลี่ยนแปลงทาง ธรรมชาติในอัตราเรง ความจําเปนในการใชพลังงานอยางประหยัดคุมคา 11.2.2 แนวโนมการพัฒนาทางดานเทคโนโลยีมีความเจริญกาวหนา ทําใหลดขั้นตอนและลด เวลาในการผลิต ทําใหภาคอุตสาหกรรมตองปรับกระบวนการผลิต 11.2.3 ภาคอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวของกับแรงงานจํานวนมาก การปรับเปลี่ยน การบริหาร จัดการหรือกระบวนการจึงมีผลกระทบตอรายไดของคนจํานวนมาก 11.2.4 มีการพัฒนาฝมือแรงงานเพื่อเตรียมความพรอมของแรงงานใหตรงกับความตองการของ ภาคอุตสาหกรรม 12. ผลกระทบจากขอ 11 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน 12.1 การพัฒนาหลักสูตร 12.1.1 พัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองความตองการของประเทศทางดานกําลังคนและความรู ความเชี่ยวชาญที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีทางดานอิเล็กทรอนิกส 12.1.2 พัฒนาหลักสูตรใหตอบสนองตอการเปลี่ยนแปลงสังคม และเปนที่ยอมรับระดับสากล 12.1.3 ใหความสําคัญในเรื่องการนําเทคโนโลยีทางดานอิเล็กทรอนิกสมาพัฒนาทองถิ่น 12.1.4 มีการปรับเปลี่ยนรายวิชาใหสอดคลองกับสถานการณปจจุบัน การเปลี่ยนแปลง ทางสังคม เศรษฐกิจและเทคโนโลยี 12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย 12.2.1 ผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีใหมีคุณภาพ สอดคลองกับความตองการกําลังคนของ ทองถิ่นและประเทศ 12.2.2 เสริมสรางความมั่นคงและความเขมแข็งของชุมชนในทองถิ่น ขยายขอบเขตและ รูปแบบการบริการวิชาชีพใหมีความหลากหลาย 12.2.3 สนับสนุนการสรางองคความรูจากงานวิจัยที่สามารถนําไปใชไดจริง 12.2.4 สงเสริมการใชเทคโนโลยีที่เหมาะสม เพื่อการจัดการศึกษา การวิจัย การบริการทาง วิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมเพื่อสนองตอความเปลี่ยนแปลงดานเศรษฐกิจสังคม และสิ่งแวดลอม 13. ความสัมพันธกับหลักสูตรอื่นที่เปดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน 13.1 รายวิชาในหลักสูตรที่เปดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น 13.1.1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไดแก กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร กลุมวิชามนุษยศาสตร กลุมวิชาสังคมศาสตร กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี 13.2 รายวิชาที่เปดสอนใหคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น ไมมี
  • 8. 8 หมวด 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร 1. ปรัชญา ความสําคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร 1.1 ปรัชญาและความสําคัญ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส มุงเนนใหโอกาสทางการ ศึกษาวิชาชีพเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสแกประชาชนในทองถิ่น ผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถ เปนผู คิดคน พัฒนา และเผยแพรนวัตกรรม เพื่อตอบสนองความตองการของประเทศไทยใน โลกยุคปจจุบันโดยมุง พัฒนาใหบัณฑิตมีความรูในการพัฒนาและใชเทคโนโลยีอุตสาหกรรมทางดานอิเล็กทรอนิกส ตลอดจนใหมี จิตสํานึกในวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส สามารถนําความรูไปประยุกตใชกับทองถิ่นและประเทศชาติไดอยางมี คุณภาพ 1.2 วัตถุประสงคของหลักสูตร 1.2.1 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ตรงตอเวลา ซื่อสัตยสุจริต ขยันหมั่นเพียร สํานึกในจรรยาบรรณวิชาชีพ รับผิดชอบตอหนาที่และสังคม 1.2.2 เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีความรูความสามารถในการปฏิบัติงานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส การ ควบคุมระบบการทํางานเกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกส และการบริหารงานทางดานเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสไดอยาง มีประสิทธิภาพ และตอบสนองความตองการของตลาดแรงงานทั้งภาครัฐและเอกชน 1.2.3 เพื่อผลิตบัณฑิตใหสามารถปฏิบัติงานเกี่ยวกับการติดตั้งตรวจสอบระบบอิเล็กทรอนิกส แกไขซอมบํารุง สามารถเลือกเทคโนโลยีใหมีความเหมาะสมกับลักษณะการใชงานใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุด 1.2.4 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีทักษะในการสื่อสารระหวางผูบังคับบัญชา วิศวกร กับผูปฏิบัติงาน อิเล็กทรอนิกส และสามารถถายทอดความรูในสาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสไดอยางมีคุณภาพ 1.2.5 เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีคุณลักษณะในการทํางาน วางแผนเตรียมการ รวมทั้งปรับปรุงและ พัฒนาตนเองใหกาวหนาอยูเสมอ สามารถแกปญหาดวยหลักการและเหตุผล ปฏิบัติงานดวยหลักวิชาการที่มี การวางแผนอยางเปนระบบ ซึ่งจะกอใหเกิดผลสัมฤทธิ์ตามเปาหมายอยางประหยัด รวดเร็วและมีคุณภาพ 2. แผนพัฒนาปรับปรุง ดําเนินการแลวเสร็จครบถวนภายใน 5 ป ตารางแผนพัฒนาปรับปรุง แผนการพัฒนา / เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน / ดัชนีชี้วัด 1. สงเสริมการใชความรูเพื่อ การแกไขปญหาในสถานการณ จริง 1.1 ปรับปรุงการจัดโปรแกรม การออกฝกประสบการณวิชาชีพ เพิ่มเติมกิจกรรมแกปญหาดาน เทคนิคเบื้องตนของสถาน ประกอบการที่ฝกงาน 1.1 เริ่มโปรแกรมการออกฝก ประสบการณวิชาชีพปที่ 4 ของ การใชหลักสูตร 1.2 ผูประกอบการมีความพึง พอใจตอผลงานของนักศึกษาใน ระดับ 3.51 จากคะแนนเต็ม 5
  • 9. 9 แผนการพัฒนา / เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน / ดัชนีชี้วัด 2. ปรับปรุงหลักสูตรให สอดคลองกับความตองการ ของตลาดแรงงานและการ เปลี่ยนแปลงทางดาน เทคโนโลยี 2.1 ติดตามความเปลี่ยนแปลง ในความตองการของผูใชบัณฑิต 2.1 รายงานผลการประเมิน ความพึงพอใจในการใช บัณฑิตของสถานประกอบการ 2.2 ความพึงพอใจในทักษะ ความรู ความสามารถใน การทํางานของบัณฑิต 2.3 ดําเนินการปรับปรุงหลักสูตร ใหสอดคลองกับความตองการ ของตลาดแรงงานและการ เปลี่ยนแปลงทางดานเทคโนโลยี ทุก 5 ป 3. ปรับปรุงการบริหาร หลักสูตรโดยมุงผลการเรียนรู ของนักศึกษา 3.1 ประชุมชี้แจงอาจารยและ มอบหมายความรับผิดชอบตอ ผลการเรียนรูใหอาจารยประจํา วิชา 3.2 ติดตามผลการเรียนรูของ นักศึกษา โดยอาจารยที่ รับผิดชอบหลักสูตร 3.1 มีการจัดทํารายละเอียด รายวิชา และรายงานรายวิชา ทุกรายวิชา 3.2 มีการทบทวนสอบ ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาและ จัดทํารายงานหลักสูตรทุกป การศึกษา 3.3 ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา เปนไปตามมาตรฐาน
  • 10. 10 หมวด 3 ระบบการจัดการศึกษา การดําเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร 1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบการจัดการศึกษา ขอกําหนดตาง ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ดวาดวยการศึกษาระดับ อนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม โดย มหาวิทยาลัยใชระบบการศึกษาเปนแบบทวิภาค จัดการเรียนการสอนแบบปละ 2 ภาคการศึกษาปกติ มี ระยะเวลาการศึกษาในแตละภาคการศึกษา ไมนอยกวา 15 สัปดาห 1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ขอกําหนดตางๆ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวยการศึกษาระดับ อนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม โดย มหาวิทยาลัยอาจจัดการเรียนการสอนในภาคฤดูรอนไดโดยใชเวลาการศึกษาไมนอยกวา 10 สัปดาห และมี จํานวนชั่วโมงเรียนเทากับภาคการศึกษาปกติ ในกรณีที่จําเปนจะตองจัดการศึกษาแตกตางจากวรรคแรก ใหเสนอตอสภามหาวิทยาลัยเพื่อใหความเห็นชอบ 1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชา ตองไดรับการเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําหลักสูตร และตองเปนไปตามขอบังคับวาดวยการศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 ประกาศหลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียนรูของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา และประกาศ หรือขอกําหนดที่เกี่ยวของ 2. การดําเนินการหลักสูตร 2.1 ชวงเวลาการดําเนินการเรียนการสอน (อาจมีการเปลี่ยนแปลงไดตามประกาศมหาวิทยาลัย) 2.1.1 ภาคการศึกษาที่ 1 มิถุนายน - กันยายน 2.1.2 ภาคการศึกษาที่ 2 พฤศจิกายน - กุมภาพันธ ในกรณีจัดการศึกษาภาคฤดูรอน ใหจัดในชวงเดือนมีนาคม–พฤษภาคม 2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา 2.2.1 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (หรือเทียบเทา) และใหเปนไปตาม ระเบียบหรือขอบังคับของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด 2.2.2 เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทาในสาขาวิชา ชางอิเล็กทรอนิกส ชางไฟฟา ชางโทรคมนาคม คอมพิวเตอรหรือเทียบเทา 2.2.3 สําหรับผูสมัครเขาศึกษาแบบเทียบโอน เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับอนุปริญญา (อ.วท.) 3 ป หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทางดานอิเล็กทรอนิกส ไฟฟา โทรคมนาคมและคอมพิวเตอร ซึ่งตองผานการเทียบโอนรายวิชาเดิมที่เคยศึกษาตามหลักเกณฑของมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด 2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา ปญหาการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา มาเปนการเรียนรูที่มีรูปแบบแตกตางไป จากเดิมที่คุนเคย มีสังคมกวางขึ้น ตองดูแลตนเองมากขึ้น มีกิจกรรมทั้งการเรียนในหองและกิจกรรมเสริม หลักสูตรที่นักศึกษาตองสามารถจัดแบงเวลาใหเหมาะสม
  • 11. 11 2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา/ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3 2.4.1 จัดปฐมนิเทศนักศึกษาใหมแนะนําการวางเปาหมายชีวิต เทคนิคการเรียนใน มหาวิทยาลัย และการแบงเวลา 2.4.2 มอบหมายหนาที่อาจารยที่ปรึกษาใหแกอาจารยทุกคน ทําหนาที่สอดสองดูแลให คําปรึกษาแนะนํา 2.4.3 มีคณะกรรมการอาจารยที่ปรึกษาใหความชวยเหลือแกอาจารยที่ปรึกษา จัดกิจกรรม ที่เกี่ยวของกับการดูแลนักศึกษา เชน วันแรกพบระหวางนักศึกษากับอาจารย วันพบผูปกครอง การติดตามการ เรียนของนักศึกษาชั้นปที่ 1 จากอาจารยผูสอนและจัดกิจกรรมสอนเสริมถาจําเปน เปนตน 2.4.4 มีนักวิชาการดานการศึกษาทําหนาที่แนะแนวการเรียน เชน การจับประเด็นจากการอาน หนังสือ การจดโนต การจัดระบบความคิด การดํารงชีวิตในมหาวิทยาลัยใหแกนักศึกษาที่มีปญหาและขอความ ชวยเหลือ 2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป 2.5.1 จํานวนนักศึกษาที่จะรับสําหรับผูมีคุณสมบัติตามคุณสมบัติหมวดที่ 3 ขอ 2 (2.2) ระดับ / ชั้นป ปการศึกษา 2556 2557 2558 2559 2560 ชั้นปที่ 1 30 30 30 30 30 ชั้นปที่ 2 - 30 30 30 30 ชั้นปที่ 3 - - 30 30 30 ชั้นปที่ 4 - - - 30 30 รวม 30 60 90 120 120 จํานวนนักศึกษาที่จะสําเร็จ การศึกษา - - - 30 30 2.6 งบประมาณตามแผน ใชงบประมาณของคณะศิลปศาสตรและวิทยาศาสตร ภาควิชาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ดังนี้ 2.6.1 งบประมาณรายรับ (หนวย:บาท) รายละเอียด ปงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 2560 คาธรรมเนียมการศึกษา 360,000 720,000 1,080,000 1,440,000 1,440,000 เงินอุดหนุนจากรัฐบาล 90,000 180,000 270,000 360,000 360,000 รวมรายรับ 450,000 900,000 1,350,000 1,800,000 1,800,000
  • 12. 12 2.6.2 งบประมาณรายจาย (หนวย:บาท) รายละเอียด ปงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 2560 ก. งบดําเนินงาน คาใชจายบุคลากร 795,000 858,600 927,288 1,001,471 1,081,589 คาใชจายดําเนินงาน 80,000 96,000 115,200 138,240 165,888 ทุนการศึกษา 25,000 30,000 35,000 40,000 40,000 รายจายระดับมหาวิทยาลัย 95,000 100,000 150,000 200,000 250,000 รวม (ก) 995,000 1,084,600 1,227,488 1,379,711 1,537,477 ข. งบลงทุน คาครุภัณฑ 5,520,600 6,624,720 6,348,690 6,072,660 5,796,630 รวม (ข) 5,520,600 6,624,720 6,348,690 6,072,660 5,796,630 รวม (ก)+(ข) 6,515,600 7,709,320 7,576,178 7,452,371 7,334,107 จํานวนนักศึกษา 30 60 90 120 120 คาใชจายตอหัวนักศึกษา 10,000 10,000 15,000 20,000 20,000 2.7 ระบบการศึกษา ใชระบบการศึกษาแบบชั้นเรียนและเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวย การศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม 2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนขามมหาวิทยาลัย (ถามี) การเทียบโอนหนวยกิตและรายวิชาเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวย การศึกษาระดับอนุปริญญา ปริญญาตรี และปริญญาตรี (ตอเนื่อง) พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม 2.9 การคิดหนวยกิต 2.9.1 รายวิชาภาคทฤษฎีที่ใชเวลาบรรยายหรืออภิปรายปญหา 1 ชั่วโมงตอสัปดาหตลอดหนึ่ง ภาคการศึกษาปกติ หรือจํานวนชั่วโมงไมนอยกวา 15 ชั่วโมงใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต 2.9.2 รายวิชาภาคปฏิบัติที่ใชเวลาฝกหรือทดลอง 2 - 3 ชั่วโมงตอสัปดาหตลอดหนึ่ง ภาคการศึกษาปกติ หรือจํานวนชั่วโมงรวมระหวาง 30 - 45 ชั่วโมงใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต 2.9.3 การฝกประสบการณวิชาชีพหรือการฝกภาคสนามใชเวลาฝกไมนอยกวา 90 ชั่วโมงตอ ภาคการศึกษาปกติใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต 2.9.4 การทําโครงงานหรือการเตรียมฝกภาคสนามใชเวลาฝกไมนอยกวา 90 ชั่วโมงตอภาค การศึกษาปกติใหนับเปนหนึ่งหนวยกิต 2.9.5 การศึกษาบางรายวิชาที่มีลักษณะเฉพาะ มหาวิทยาลัยอาจกําหนดหนวยกิตโดย ใชหลักเกณฑอื่นไดตามความเหมาะสม 2.10 การลงทะเบียนเรียน ในแตละภาคการศึกษาปกติ นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนไดไมต่ํากวา 9 หนวยกิต (ยกเวนภาค การศึกษาที่ลงทะเบียนวิชาฝกประสบการณวิชาชีพ) แตไมเกิน 22 หนวยกิต สําหรับภาคการศึกษาภาคฤดูรอน นักศึกษาจะลงทะเบียนเรียนไดไมเกิน 9 หนวยกิต ในการลงทะเบียนเรียนในภาคการศึกษาปกติที่มีจํานวน
  • 13. 13 หนวยกิตมากกวา 22 หนวยกิต แตไมเกิน 25 หนวยกิต หรือนอยกวา 9 หนวยกิต ตองไดรับความเห็นชอบ จากอาจารยที่ปรึกษาและหัวหนาสาขา และไดรับอนุมัติจากคณบดีหรือรองอธิการบดีเปนราย ๆ ไป ระยะเวลาการศึกษาหลักสูตรไมนอยกวา 6 ภาคการศึกษาปกติ แตไมเกิน 8 ปการศึกษาปกติ สําหรับการลงทะเบียนเต็มเวลา ทั้งนี้เปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด วาดวยการศึกษาระดับ ปริญญาตรี พ.ศ. 2550 และขอบังคับที่ประกาศเพิ่มเติม 3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน 3.1 หลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส มีระยะเวลาในการศึกษา ตลอดหลักสูตร 4 ป 3.1.1 จํานวนหนวยกิต มีจํานวนหนวยกิต ตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 136 หนวยกิต 3.1.2 โครงสรางหลักสูตร มีสัดสวนหนวยกิตแตละหมวดวิชา ดังนี้ 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 1.1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต 1.2) กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 1.3) กลุมวิชาสังคมศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 1.4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 100 หนวยกิต 2.1) กลุมวิชาเฉพาะดานพื้นฐาน 22 หนวยกิต 2.2) กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ 60 หนวยกิต 2.3) กลุมวิชาเฉพาะดานเลือก ไมนอยกวา 12 หนวยกิต 2.4) กลุมประสบการณภาคสนาม 6 หนวยกิต ใหเลือกแผนใดแผนหนึ่ง 2.4.1) ฝกประสบการณวิชาชีพ 2.4.1.1) เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 1 หนวยกิต 2.4.1.2) ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 5 หนวยกิต 2.4.2) สหกิจศึกษา 2.4.2.1) เตรียมสหกิจศึกษา 1 หนวยกิต 2.4.2.2) สหกิจศึกษา 5 หนวยกิต 3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
  • 14. 14 3.1.3 รายวิชาในหลักสูตร 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไมนอยกวา 30 หนวยกิต 1.1) กลุมวิชาภาษาและการสื่อสาร ไมนอยกวา 12 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้) รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) Thai for Communication GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(2-2-5) English for Study Skills GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5) Information and Individual Study GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) English for Communication GEL1105 ภาษาญี่ปุนพื้นฐาน 3(2-2-5) Japanese for Beginners GEL1106 ภาษาจีนพื้นฐาน 3(2-2-5) Chinese for Beginners GEL1107 ภาษาเวียดนามพื้นฐาน 3(2-2-5) Vietnamese for Beginners GEL1108 ภาษาลาวพื้นฐาน 3(2-2-5) Laos for Beginners 1.2) กลุมวิชามนุษยศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้) รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation GEH2102 จริยธรรมกับชีวิต 3(3-0-6) Morality and Life GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย 3(3-0-6) Psychology for Human Development GEH2104 การคิดเชิงวิพากษและการแกปญหา 3(3-0-6) Critical Thinking and Problem Solving
  • 15. 15 1.3) กลุมวิชาสังคมศาสตร ไมนอยกวา 6 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้) รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GES3101 วิถีไทย 3(3 -0-6) Thai Living GES3102 วิถีโลก 3(3-0-6) Global Society and Living GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) Life and Environment GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) Law for Daily Life GES3105 การเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6) Thai Politics and Government 1.4) กลุมวิชาคณิตศาสตร วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้) รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GET4101 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5) Science for Quality of Life GET4102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2-5) Thinking and Decision Making GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน 3(2-2-5) Information Technology for Work GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5) Exercise and Recreation for Health
  • 16. 16 2 หมวดวิชาเฉพาะ ไมนอยกวา 100 หนวยกิต 2.1) กลุมวิชาเฉพาะดานพื้นฐาน 22 หนวยกิต รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Basic Electronics Training ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5) Engineering Drawing รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส1 3(3-0-6) Electronics Engineering Mathematics 1 PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน 3(3-0-6) Fundamental Physics PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1(0-3-1) Laboratory of Fundamental Physics ELT2104 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส2 3(3-0-6) Electronics Engineering Mathematics 2 ELT2105 วัสดุศาสตร 3(3-0-6) Material Science ELT3106 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6) Safety Engineering 2.2) กลุมวิชาเฉพาะดานบังคับ 60 หนวยกิต รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT1201 คอมพิวเตอรเบื้องตน 3(2-2-5) Introduction to Computer ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) Electronics 1 ELT1203 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 1(0-3-2) Electronics Laboratory 1 ELT1204 ทฤษฎีวงจรไฟฟา 3(2-2-5) Electric Circuits ELT1205 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา 3(2-2-5) Electrical Instruments and Measurement
  • 17. 17 ELT2206 อิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6) Electronics 2 ELT2207 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 1(0-3-2) Electronics Laboratory 2 ELT2208 การวิเคราะหวงจรไฟฟา 3(2-2-5) Electric Circuits Analysis ELT2209 ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส 3(3-0-6) English for Electronic Work ELT2210 อิเล็กทรอนิกสกําลัง 3(2-2-5) Power Electronics ELT2211 วงจรดิจิตอลและลอจิก 3(3-0-6) Digital and Logic Circuits ELT2212 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก 1(0-3-2) Digital and Logic Circuits Laboratory ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Electrical and Electronics Appliance Repairs ELT2214 การสื่อสารใยแสง 3(2-2-5) Optical Fiber Communications ELT3215 ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร 3(2-2-5) Microcontroller and Microprocessor ELT3216 การออกแบบระบบดิจิตอล 3(2-2-5) Digital System Design ELT3217 การประยุกตไอซีเชิงเสน 3(2-2-5) Linear Integrated Circuits Application ELT3218 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 3(2-2-5) Industrial Electronics ELT3219 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Electronics Circuits Design ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 3(2-2-5) Invention and Innovation 1 ELT4221 การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) Industrial Quality Management ELT4222 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2 3(2-2-5) Invention and Innovation 2
  • 18. 18 2.3) กลุมวิชาเฉพาะดานเลือก ไมนอยกวา 12 หนวยกิต (ใหเลือกเรียนจากรายวิชาตอไปนี้) รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT2301 เครื่องรับโทรทัศน 3(2-2-5) Television ELT2302 ระบบเคเบิลทีวี 3(2-2-5) Cable TV Systems รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต (ท-ป-อ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT2303 เทคโนโลยีแผนวงจรพิมพ 3(2-2-5) Printed Circuits Technology ELT2304 การจําลองระบบโดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Computer Program Simulation ELT2305 การสื่อสารขอมูลและโครงขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Data Communication and Computer Networks ELT3306 การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร 3(2-2-5) Microcontroller Application ELT3307 คอมพิวเตอรกราฟก 3(2-2-5) Computer Graphics ELT3308 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) Computer Network Systems ELT3309 อิเล็กทรอนิกสทางแสง 3(2-2-5) Opto Electronics ELT4310 ตัวควบคุมแบบโปรแกรม 3(2-2-5) Programmable Logic Controller ELT4311 ระบบโทรศัพท 3(2-2-5) Telephone Systems ELT4312 อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน 3(2-2-5) Electronics for Community ELT4313 ภาษาอังกฤษในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) English for Industrial Work ELT4314 เซนเซอรและทรานสดิวเซอร 3(2-2-5) Sensors and Transducer ELT4315 หัวขอคัดสรรทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Selected Topics in Electronic
  • 19. 19 2.4) กลุมประสบการณภาคสนาม 6 หนวยกิต (ใหเลือกจากแผนใดแผนหนึ่งตอไปนี้) แผนฝกประสบการณวิชาชีพ รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT4401 เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 1(90) Preparation for Professional Experience in Electronics ELT4402 ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส 5(450) Professional Experience in Electronics แผนสหกิจศึกษา รหัสรายวิชา ชื่อวิชาภาษาไทย หนวยกิต ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT4403 เตรียมสหกิจศึกษา 1(90) Pre-Cooperative Education ELT4404 สหกิจศึกษา 5(450) Cooperative Education 3 หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต ใหเลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏรอยเอ็ด โดยไมซ้ํากับรายวิชาที่เคย เรียนมาแลว และตองไมเปนรายวิชาที่กําหนดใหเรียนโดยไมนับหนวยกิต รวมในเกณฑการสําเร็จหลักสูตรของ สาขาวิชา 4 คําอธิบายรหัสวิชาประกอบดวยสัญลักษณ 7 ตัว ตัวอักษรภาษาอังกฤษ 3 ตัวแรก หมายถึง สาขาวิชาหรือคณะที่สังกัด ตัวเลข ตัวที่ 4 หมายถึง ระดับชั้นป ตัวเลข ตัวที่ 5 , 6 และ 7 หมายถึง ลําดับความยากงายของรายวิชา
  • 20. 20 3.1.4 แผนการศึกษา ชั้นปที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) ศึกษาทั่วไป GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) ศึกษาทั่วไป GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน 3(3-0-6) เฉพาะดานพื้นฐาน PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1(0-3-1) เฉพาะดานบังคับ ELT1201 คอมพิวเตอรเบื้องตน 3(2-2-5) รวม 19 หนวยกิต ชั้นปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) ศึกษาทั่วไป GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) ศึกษาทั่วไป GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส1 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT1202 อิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT1203 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 1 1(0-3-2) เฉพาะดานบังคับ ELT1204 ทฤษฎีวงจรไฟฟา 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT1205 เครื่องมือวัดและการวัดทางไฟฟา 3(2-2-5) รวม 19 หนวยกิต
  • 21. 21 ชั้นปที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) ศึกษาทั่วไป GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5) ศึกษาทั่วไป GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT2104 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส2 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT2206 อิเล็กทรอนิกส 2 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT2207 ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส 2 1(0-3-2) เฉพาะดานบังคับ ELT2208 การวิเคราะหวงจรไฟฟา 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT2209 ภาษาอังกฤษสําหรับงานอิเล็กทรอนิกส 3(3-0-6) เฉพาะดานเลือก ELT2301 เครื่องรับโทรทัศน 3(2-2-5) รวม 22 หนวยกิต ชั้นปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) ศึกษาทั่วไป GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) ศึกษาทั่วไป GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT2105 วัสดุศาสตร 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT2210 อิเล็กทรอนิกสกําลัง 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT2211 วงจรดิจิตอลและลอจิก 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT2212 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอลและลอจิก 1(0-3-2) เฉพาะดานบังคับ ELT2213 งานตรวจซอมอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT2214 การสื่อสารใยแสง 3(2-2-5) รวม 22 หนวยกิต
  • 22. 22 ชั้นปที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) ศึกษาทั่วไป GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย 3(3-0-6) ศึกษาทั่วไป GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) เฉพาะดานพื้นฐาน ELT3106 วิศวกรรมความปลอดภัย 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT3215 ไมโครคอนโทรลเลอรและไมโครโปรเซสเซอร 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT3216 การออกแบบระบบดิจิตอล 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT3217 การประยุกตไอซีเชิงเสน 3(2-2-5) เลือกเสรี xxxxxxx เลือกเสรี 1 3(x-x-x) รวม 21 หนวยกิต ชั้นปที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) เฉพาะดานบังคับ ELT3218 อิเล็กทรอนิกสอุตสาหกรรม 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT3219 การออกแบบวงจรอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) เฉพาะดานบังคับ ELT3220 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 1 3(2-2-5) เฉพาะดานเลือก ELT3306 การประยุกตใชงานไมโครคอนโทรลเลอร 3(2-2-5) เฉพาะดานเลือก ELT3308 ระบบเครือขายคอมพิวเตอร 3(2-2-5) เลือกเสรี xxxxxxx เลือกเสรี 2 3(x-x-x) รวม 18 หนวยกิต
  • 23. 23 ชั้นปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต(ท-ป-อ) เฉพาะดานบังคับ ELT4221 การบริหารคุณภาพในงานอุตสาหกรรม 3(3-0-6) เฉพาะดานบังคับ ELT4222 สิ่งประดิษฐและนวัตกรรม 2 3(2-2-5) เฉพาะดานเลือก ELT4312 อิเล็กทรอนิกสสูชุมชน 3(2-2-5) ประสบการณ ภาคสนาม ELT4401 หรือ ELT4403 เตรียมฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส เตรียมสหกิจศึกษา 1(90) รวม 10 หนวยกิต ชั้นปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 หมวดกลุมวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต ประสบการณ ภาคสนาม ELT4402 หรือ ELT4404 ฝกประสบการณวิชาชีพอิเล็กทรอนิกส สหกิจศึกษา 5(450) รวม 5 หนวยกิต
  • 24. 24 3.1.5 คําอธิบายรายวิชา 1 หมวดวิชาศึกษาทั่วไป รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GEL1101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) Thai for Communication ความสําคัญของภาษาไทยในฐานะที่เปนเครื่องมือสื่อสาร สภาพปญหาและ แนวทางแกไขปญหา การใชภาษาในชีวิตประจําวัน กระบวนการพัฒนาทักษะทาง ภาษา การนําไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ GEL1102 ภาษาอังกฤษเพื่อทักษะการเรียน 3(2-2-5) English for Study Skills หลักการ วิธีการ และเทคนิคเบื้องตนในการศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ กลยุทธ การอานที่มีประสิทธิภาพ ทักษะการเขียนเพื่อสรุปใจความจากตําราและการ บรรยาย การสื่อสารในชั้นเรียน การพูดและเขียนตอบคําถามเกี่ยวกับเรื่องที่อาน การนําเสนอขอมูล การแสดงความคิดเห็นในประเด็นทางการเรียน การสืบคนขอมูล จากแหลงตางๆ GEL1103 สารสนเทศและการศึกษาคนควา 3(2-2-5) Information and Individual Study ความสําคัญของการรูสารสนเทศ กระบวนการพัฒนาความรูและ ทักษะสารสนเทศ ประกอบดวย การวิเคราะหความตองการสารสนเทศ การเลือก แหลงและทรัพยากรสารสนเทศ การสืบคนสารสนเทศโดยใชเทคโนโลยี สารสนเทศ เปนเครื่องมือ การวิเคราะห สังเคราะหและประเมินสารสนเทศ การเรียบเรียงและ นําเสนอสารสนเทศในรูปแบบตางๆ อยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ GEL1104 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3(2-2-5) English for Communication ทักษะเพื่อการสื่อสาร การพูดการฟงในบริบทที่หลากหลาย การออกเสียง และใชสํานวนภาษาอังกฤษอยางถูกตองเพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสาร การฟงและ แปลความหมายบทสนทนาและจากสื่อตางๆ การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อสงเสริม ความสามารถในการสื่อสารกับสังคมโลก
  • 25. 25 รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GEL1105 ภาษาญี่ปุนพื้นฐาน 3(2-2-5) Japanese for Beginners ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาญี่ปุนอยางบูรณาการ ศึกษา รูปประโยคและไวยากรณพื้นฐาน ฝกสนทนาที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การ ทักทาย การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ ฝกการอานขอความสั้นๆ สรุป และตอบคําถามได การเขียนประโยคงาย ๆ GEL1106 ภาษาจีนพื้นฐาน 3(2-2-5) Chinese for Beginners ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาจีนอยางบูรณาการ สําหรับ ทักษะการฟงและการพูด ผูเรียนไดฝกทักษะขั้นพื้นฐานที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การทักทายการแนะนํา การขอบคุณ การขอโทษ ทักษะการเขียน ฝกเขียนตามคําบอก และเขียนประโยคงายๆ ทักษะการอาน ฝกอานเนื้อหาขอความสั้นๆ สามารถสรุป และตอบคําถามได GEL1107 ภาษาเวียดนามพื้นฐาน 3(2-2-5) Vietnamese for Beginners ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาเวียดนามอยางบูรณาการ ศึกษา รูปประโยคและไวยากรณ การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ เปนตน การอาน การฝกอานขอความสั้นๆ สามารถสรุปและตอบคําถามได การเขียน ประโยคงายๆ ได GEL1108 ภาษาลาวพื้นฐาน 3(2-2-5) Laos for Beginners ฝกทักษะการฟง พูด อาน และเขียนภาษาลาวอยางบูรณาการ ศึกษา รูปประโยคและไวยากรณพื้นฐาน เนนฝกบทสนทนาที่ใชในชีวิตประจําวัน ไดแก การทักทาย การแนะนําตน การบอกเวลา การซื้อของ เปนตน การอาน การฝกอาน ขอความสั้นๆ สามารถสรุปและตอบคําถามได การเขียนประโยคงาย ๆ ได
  • 26. 26 รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GEH2101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0-6) Aesthetic Appreciation จําแนกขอแตกตางในศาสตรทางความงาม ความหมายของสุนทรียศาสตร เชิงการคิดกับสุนทรียศาสตรเชิงพฤติกรรมโดยสังเขป ความสําคัญของการรับรูกับ ความเปนมาของศาสตรทางความเห็น ศาสตรทางการไดยิน และศาสตร ทางการเคลื่อนไหวสูทัศนศิลป ศิลปะดนตรี และศิลปะการแสดง ผานขั้นตอนการ เรียนรูเชิงคุณคาจากระดับการรําลึก ผานขั้นตอนความคุนเคย และนําเขาสูขั้นความ ซาบซึ้ง เพื่อใหไดมาซึ่งประสบการณของความซาบซึ้งทางสุนทรียภาพ GEH2102 จริยธรรมกับชีวิต 3(3-0-6) Morality and Life ชีวิต ความหมาย คุณคาและเปาหมายของชีวิต ปรัชญาและแนวคิดในการ ดําเนินชีวิต หลักยึดเหนี่ยวของชีวิต พัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในตนเอง การ ดําเนินชีวิตอยูรวมกันในสังคม เรียนรูแนวทางในการแกปญหาชีวิตโดยอาศัยหลัก ศาสนธรรม GEH2103 จิตวิทยาเพื่อพัฒนามนุษย 3(3-0-6) Psychology for Human Development ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับจิตวิทยาทฤษฎีเกี่ยวกับธรรมชาติมนุษย พฤติกรรมมนุษย พัฒนาการ การเรียน กระบวนการรูจักและเขาใจตนเองและผูอื่น การพัฒนาทักษะ และสัมพันธภาพในชีวิตประจําวัน การปรับพฤติกรรม การดําเนินชีวิตในสังคมอยาง มีความสุข ทั้งในชีวิตสวนตัว ดานสังคม และการประกอบอาชีพ GEH2104 การคิดเชิงวิพากษและการแกปญหา 3(3-0-6) Critical Thinking and Problem Solving หลักการและกระบวนการคิดเชิงวิพากษ การแสวงหาขอมูลและความรู การใหเหตุผล การคิดและการตัดสินใจ แนวทางการพัฒนาการคิดเชิงวิพากษ และการตอบสนองเมื่อถูกวิพากษ หลักการและกระบวนการแกปญหาทาง วิทยาศาสตรและสังคม แนวทางการพัฒนาการแกปญหาทางวิทยาศาสตร และสังคม
  • 27. 27 รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GES3101 วิถีไทย 3(3-0-6) Thai Living ลักษณะทั่วไป วิวัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ทั้งในเมือง และชนบท วัฒนธรรม และประเพณีไทย สภาพปญหาและแนวทางการขจัดปญหา สังคมไทย โดยศึกษาการพัฒนาโครงสรางอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ภูมิปญญา ชาวบานและทองถิ่น ตลอดถึงวิสัยทัศนดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการ ปกครองที่คนไทยอยากเห็น GES3102 วิถีโลก 3(3-0-6) Global Society and Living วิวัฒนาการสังคม ระบบเศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองของประเทศไทย และสังคมโลก การจัดระเบียบโลกในดานสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง ตลอดถึงการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครองของประเทศไทย เพื่อปรับตัวเขาสูประชาคมอาเซียน ตลอดจนปรับตัวเขากับการจัดระเบียบของ สังคมโลก GES3103 ชีวิตกับสิ่งแวดลอม 3(3-0-6) Life and Environment ความหมาย คุณสมบัติ และมิติของสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติ ความสําคัญการใชและการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศความสัมพันธเชิงระบบ ระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมทางกายภาพ และสิ่งแวดลอมทางชีวภาพ ความ หลากหลายทางชีวภาพในทองถิ่น เครือขายสิ่งแวดลอม การใชวิทยาศาสตร และ เทคโนโลยีที่มีผลตอสิ่งแวดลอม ปญหามลพิษ การประเมินสถานการณ มาตรฐาน สิ่งแวดลอม คุณภาพสิ่งแวดลอม กฎหมายและพระราชบัญญัติสิ่งแวดลอม การสงเสริม การรักษาและคุมครองคุณภาพสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติตาม หลักการพัฒนาที่ยั่งยืน สิ่งแวดลอมศึกษา GES3104 กฎหมายในชีวิตประจําวัน 3(3-0-6) Law for Daily Life กฎหมายที่มีความจําเปนในการดําเนินชีวิต กฎหมายรัฐธรรมนูญ และ กฎหมายอื่นๆ ที่ประชาชนพึงทราบ
  • 28. 28 รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ GES3105 การเมืองการปกครองไทย 3(3-0-6) Thai Politics and Government สถาบันและกระบวนการเมืองไทย ประวัติศาสตร การปกครองไทย วิเคราะห การเมืองและพฤติกรรมทางการเมืองไทย วิเคราะหบทบาทของสถาบัน ทางการเมืองของไทย คณะรัฐมนตรี รัฐสภา ศาล พรรคการเมือง การเลือกตั้ง การบริหารราชการ และการปกครองทองถิ่น GET4101 วิทยาศาสตรเพื่อคุณภาพชีวิต 3(2-2-5) Science for Quality of Life กระบวนการและการพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี การนําความรูทาง วิทยาศาสตรมาประยุกตในการพัฒนาคุณภาพชีวิตใหดํารงอยูอยางเปนสุขและ มีประสิทธิภาพ ผลกระทบของความกาวหนาทางวิทยาศาสตรที่มีตอมนุษย และ สังคม GET4102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2-5) Thinking and Decision Making หลักการ และกระบวนการคิดของมนุษย ความคิดสรางสรรค การวิเคราะห ขอมูลและขาวสาร ตรรกศาสตรและการใชเหตุผล กระบวนการตัดสินใจ กําหนดการเชิงเสน และการประยุกตใชในการแกปญหาในชีวิตประจําวัน GET4103 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการปฏิบัติงาน 3(2-2-5) Information Technology for Work ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ที่มีผลกระทบตอชีวิตและความเปนอยูของ มนุษย องคประกอบทางดานฮารดแวร การใชโปรแกรมระบบ การใชโปรแกรม ประยุกต เพื่อการจัดทําเอกสาร การทําตารางคํานวณ การนําเสนอ และการจัดการ ฐานขอมูล ศึกษาการใชงานเครือขายคอมพิวเตอร การแลกเปลี่ยนขอมูลบนระบบ เครือขายคอมพิวเตอร การเคารพในทรัพยสินทางปญญา GET4104 การออกกําลังกายและนันทนาการเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5) Exercise and Recreation for Health ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการออกกําลังกายและนันทนาการ ความหมาย และคุณคาของกิจกรรมการออกกําลังกายและนันทนาการ ประเภทของการ ออกกําลังกาย และนันทนาการ การฝกปฏิบัติการออกกําลังกายชนิดตางๆ หลักการ เปนผูนํากิจกรรมนันทนาการ และการจัดกิจกรรมนันทนาการ
  • 29. 29 2 หมวดวิชาเฉพาะ รหัสรายวิชา ชื่อวิชาและคําอธิบายรายวิชา หนวยกิต( ท-ป-อ ) ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ ELT1101 การฝกพื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส 3(2-2-5) Basic Electronics Training ปฏิบัติการเกี่ยวกับงานติดตั้งไฟฟา พื้นฐานการวัดทางไฟฟา การปฏิบัติงาน พื้นฐานทางอิเล็กทรอนิกส เชน การตอไฟฟาชนิดตาง ๆ การบัดกรี การออกแบบ และสรางลายวงจรพิมพเบื้องตน และการใชเครื่องมือทางอิเล็กทรอนิกส ไดอยางปลอดภัย ELT1102 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-2-5) Engineering Drawing มาตรฐานการเขียนแบบวิศวกรรม การเขียนรูปภาพ การเขียนภาพฉาย การกําหนดขนาดของงานในลักษณะตาง ๆ การเขียนแบบไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส การใชโปรแกรมสําเร็จรูปในการเขียนแบบ ELT1103 คณิตศาสตรวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส 1 3(3-0-6) Electronics Engineering Mathematics 1 เวกเตอร เมตริกซ ระบบสมการเชิงเสน ตัวกําหนดลิมิต ความตอเนื่อง อนุพันธ ปริพันธ เทคนิคการหาปริพันธ และการประยุกต PHY1103 ฟสิกสเบื้องตน 3(3-0-6) Fundamental Physics การวัด และความแมนยําของการวัด กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฎการ อนุรักษพลังงานและโมเมนตัม การเคลื่อนที่แบบสั่น และการเคลื่อนที่แบบหมุน ความรอน PHY1104 ปฏิบัติการฟสิกสเบื้องตน 1(0-3-1) Laboratory of Fundamental Physics เทคนิคการใชอุปกรณ และกระบวนการทดลองใหสอดคลองกับเนื้อหา การวัด และความแมนยําในการวัด กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันเครื่องกลอยางงาย ปรากฏการณของความรอน กฎของโอหม การใชเครื่องวัดทางไฟฟา การสะทอน และการหักเหของแสง