SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
1
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ )
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (เบื้องต้น วันศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๙)
น.ส.ประภาพร แสงกาญจนวนิช
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่
ประเด็นที่ขอเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความชัดเจนและรับรองสิทธิของประชาชนไม่ต่ากว่า
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐
๑. การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (Environmental Health Impact Assessment-EHIA)
๒. สิทธิชุมชน
๓. สิทธิชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
๔. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
๕. การปกครองส่วนท้องถิ่น
๑. การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง
รุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ- การประเมินผลกระทบด้าน
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA)
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ
มาตรา ๕๔ การดาเนินการใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตให้ผู้ใดดาเนินการถ้าการนั้นอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความ
สงบสุข วิถีชีวิตหรือสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน หรือสิ่งแวดล้อม รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนที่เกี่ยวข้องมี
ส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่เกี่ยวข้องเพื่อนามาประกอบการพิจารณาด้วยตามที่
กฎหมายบัญญัติ
ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง รัฐต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล้อม และ
ความหลากหลายทางชีวภาพน้อยที่สุด และต้องดาเนินการให้มีการเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายให้แก่
ประชาชนหรือชุมชนที่ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรมและโดยไม่ชักช้า
2
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ )
ต่างกับ
มาตรา ๖๗ (วรรคสอง) แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่บัญญัติว่า
“การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วน
ได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทน
สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบ
ก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว
สิทธิของชุมชนที่จะฟ้ องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของ
รัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความคุ้มครอง”
จะเห็นได้ว่า ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น ไม่ได้กาหนดวิธีการประเมินผลกระทบไว้ กาหนดเพียงให้รับฟัง
ความคิดเห็นจากประชาชนที่เกี่ยวข้อง (มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง) และต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด รวมถึงมี
การเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายให้แก่ประชาชนหรือชุมชนที่ได้รับผลกระทบ (มาตรา ๕๔ วรรคสอง) จึงอาจ
เป็นวิธีการประเมิน EIA ก็ได้ EHIA ก็ได้ หรือเป็นการรับฟังความคิดเห็นผู้ได้รับผลกระทบก็ได้
ดังนั้น ก็อาจจะเป็นไปตามความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ ๖๖๕/๒๕๕๗ เรื่อง การดาเนินการที่
เกี่ยวข้องกับองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ภายหลังบทบัญญัติมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ สิ้นผลบังคับใช้ ซึ่งให้ความเห็นว่า
แม้ มาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ จะสิ้นผลแล้ว แต่องค์การอิสระด้าน
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (กอสส.) ยังมีอานาจหน้าที่ตาม
ก. ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศการจัดตั้งองค์การอิสระ ลงวันที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓ (แก้ไข
เพิ่มเติมฉบับที่ ๒ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๔) ซึ่งออกโดยอาศัยอานาจตามความในข้อ ๑๔ แห่งระเบียบสานัก
นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานการให้ความเห็นขององค์การอิสระในโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง พ.ศ.๒๕๕๓ ที่ออกโดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๑(๘) แห่งพระราชบัญญัติ
ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔
3
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ )
ข. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทาง
ในการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๒) ซึ่ง
ออกโดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕
จึงอาจกล่าวได้ว่า ถ้าไม่มีบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสองของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประชาชนจะต้องอาศัยอานาจตามกฎหมาย ๒ ฉบับ คือ
 พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และ/หรือ
 พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕
ซึ่งนายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ออกระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย
การประสานงานการให้ความเห็นขององค์การอิสระในโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง
รุนแรง พ.ศ.๒๕๕๓ ภายใต้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔
ขณะที่ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฯ เป็นอานาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จากอดีตที่
ผ่านมา แม้มีการเพิ่มเติมโครงการที่ต้องจัดทา EHIA (ประกาศวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓ และวันที่ ๑๘
พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๘) แต่ก็มีการแก้ไขที่มีข้อกังขา เช่น ประกาศฯ ฉบับที่ ๓ วันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่ง
ยกเลิกคณะอนุกรรมการวินิจฉัยข้อร้องเรียนสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง
รุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติแต่งตั้ง
โดยคณะอนุกรรมการฯ นี้ เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการรับข้อร้องเรียนเพื่อกาหนดโครงการที่ต้องจัดทา EHIA
นอกเหนือจากการกาหนดโดยหน่วยงานราชการเพียงฝ่ายเดียว
ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม
ดังนั้น เพื่อไม่ให้มีข้อสงสัย/ความไม่ชัดเจน และต้องอาศัยอานาจของฝ่ายบริหาร คือ คณะรัฐมนตรีเพียงฝ่าย
เดียว ที่อาจบริหารประเทศโดยอิงแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจมากกว่าการคานึงถึงสิ่งแวดล้อม (แม้ในร่างจะกล่าวถึง
หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนในหลายๆ มาตรา แต่หลักการดังกล่าว เป็นเพียงหลักกว้างๆ ไม่ได้มีเกณฑ์ที่กาหนดตายตัว
4
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ )
แต่อย่างใด) หรือหน่วยงานราชการอาจใช้วิธีการประเมินผลกระทบที่ไม่ได้มาตรฐานทางวิชาการ (ถึงแม้ระบบการ
ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประเทศไทยจะมีข้อโต้แย้ง แต่ก็อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการซึ่งเป็นที่
ยอมรับทั่วโลก) ผู้เสนอจึงขอให้แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๕๔ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น ให้มีข้อกาหนด
วิธีการประเมินผลกระทบอย่างชัดเจน ไม่น้อยกว่ามาตรา ๖๗ วรรคสองแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
----------------------------------------------------------------------------
๒. สิทธิชุมชน
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ
มาตรา ๕๓ รัฐต้องอนุรักษ์ คุ้มครอง บารุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ และใช้หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชน
และชุมชนในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมดาเนินการและได้รับประโยชน์จากการดาเนินการดังกล่าวด้วยตามที่
กฎหมายบัญญัติ
และหมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย
มาตรา ๔๓ บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิดาเนินการหรือร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือรัฐ ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู
หรือส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและของชาติ
ต่างกับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน
มาตรา ๖๖ บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีต
ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติ และมีส่วนร่วมในการจัดการ การ
บารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล
และยั่งยืน
มาตรา ๖๗ (วรรคแรก) สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บารุงรักษา และการได้
ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย
5
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ )
สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม
ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม
๑) ผู้เสนอขอให้ตัด “ตามที่กฎหมายบัญญัติ” ในมาตรา ๕๓ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้นออก
เนื่องจากการบัญญัติเช่นนี้จะเป็นปัญหาเช่นเดียวกับที่เกิดในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
ซึ่งมีการตีความในการจากัดสิทธิชุมชน มากกว่าการรับรองสิทธิชุมชน และทาให้มีการมุ่งเน้นไปที่สิทธิซึ่งกฎหมาย
ลาดับรอง – พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง จะรับรอง มากกว่าสิทธิที่รัฐธรรมนูญได้รับรองไว้แล้ว นอกจากนี้
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ก็ได้แก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยตัดข้อความ “ทั้งนี้ตามที่
กฎหมายบัญญัติ” ซึ่งส่งผลให้ประชาชนคุ้นเคยกับสิทธิชุมชนและใช้ในการรับรองสิทธิของตน ผู้เสนอจึงเห็นว่า ไม่มี
ความจาเป็นแต่อย่างใด ที่จะกลับไปใช้บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐
๒) จะเห็นได้ว่าตามมาตรา ๕๓ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้นนั้น รัฐเป็นผู้ดาเนินการ (คนตั้งต้น/เจ้าภาพ)
เปรียบเทียบกับมาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ วรรคแรกของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่
ประชาชนเป็นผู้ดาเนินการ ซึ่งตามหลักการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมจาก
ประชาชน หรือที่เรียกว่า “จากล่างสู่บน” (bottom up) เป็นปัจจัยสาคัญในความสาเร็จของการอนุรักษ์ ป้ องกัน ฟื้นฟู
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แต่ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้นกลับสื่อถึงการบริหารจัดการจากบนลงล่าง
(top down) ซึ่งเป็นที่ยอมรับน้อยลงในแวดวงวิชาการ ผู้เสนอจึงขอให้แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๕๓ นี้ ให้เป็นไปหลัก
แนวคิดของการมีส่วนร่วมของประชาชน และหลักการที่เน้นฐานราก bottom up
----------------------------------------------------------------------------
๓. สิทธิชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ
มาตรา ๖๗ รัฐพึงส่งเสริมและให้ความคุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีสิทธิดารงชีวิตในสังคมตาม
วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตดั้งเดิมตามความสมัครใจได้อย่างสงบสุข ไม่ถูกรบกวน ทั้งนี้เท่าที่ไม่เป็นการขัดต่อ
ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐหรือสุขภาพอนามัย
6
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ )
มาตรา ๖๗ นี้เป็นการแยกสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ออกมาต่างหากเพิ่มเติมออกจากสิทธิชุมชนเดิมตาม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แต่เนื่องจากมาตรา ๖๐ บัญญัติว่า “บทบัญญัติในหมวดนี้
เป็นแนวทางให้รัฐดาเนินการตรากฎหมายและกาหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน ไม่ก่อให้เกิดสิทธิในการ
ฟ้ องร้องรัฐ” ประกอบกับ มาตรา ๗๓ กาหนดว่า “รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จาเป็น และพึงยกเลิกหรือปรับปรุง
กฎหมายที่หมดความจาเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดารงชีวิตหรือการประกอบ
อาชีพที่ไม่จาเป็นโดยเร็ว เพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน” จึงขึ้นอยู่กับภาครัฐว่าจะดาเนินการตรากฎหมายเพื่อรับรอง
สิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์หรือไม่
ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม
ผู้เสนอจึงขอให้แก้ไขเพิ่มเติมให้สิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์อยู่ในหมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ เพื่อเป็นการ
คุ้มครองวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งประเทศไทยละเลยและพยายามบังคับให้มีลักษณะ
เหมือนกับคนไทยภาคกลางมาเป็นเวลานาน
----------------------------------------------------------------------------
๔. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
ตามมาตรา ๒๔๔ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้นเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรา ๒๕๗ แห่งรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้ตัดอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ออกไป
...(๒) เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนว่าบทบัญญัติ
แห่งกฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติ
ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ
(๓) เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนว่ากฎ คาสั่ง หรือการ
กระทาอื่นใดในทางปกครองกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย
ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง
(๔) ฟ้ องคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหาย เมื่อได้รับการร้องขอจากผู้เสียหายและเป็นกรณีที่เห็นสมควรเพื่อ
แก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนรวม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ
ซึ่งอานาจหน้าที่เหล่านี้เป็นกลไกที่จะช่วยเหลือประชาชนที่เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ยากด้วยสถานะทาง
การเงิน การเข้าถึง ความรู้ฯลฯ สามารถใช้กลไกเหล่านี้ได้ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรา ๖๔ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับ
เบื้องต้น ที่กาหนดให้ “รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้าน ให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และ
7
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ )
ไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร”
(มาตรา ๖๔ วรรคหนึ่ง) และ “รัฐพึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จาเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาส
ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และพึงเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายในคดีอาญา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ”
(มาตรา ๖๔ วรรคสาม)
ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม
ผู้เสนอจึงขอให้เพิ่มเติมอานาจหน้าที่ทั้งสามประการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ให้
เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เช่นเดิม
----------------------------------------------------------------------------
๕. การปกครองส่วนท้องถิ่น
ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๒๔๗ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอานาจดูแลและจัดทาบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของ
ประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนใน
ท้องถิ่น ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ...
ต่างกับ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐
หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น
มาตรา ๒๙๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอานาจหน้าที่ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมาย
บัญญัติ
กฎหมายตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้
(๑) การจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตพื้ที่
(๒) การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่ เฉพาะใน
กรณีที่อาจมีผลกระทบต่อการดารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน
(๓) การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อ
คุณภาพสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่
(๔) การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
8
ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ )
จากความแตกต่างนี้จะส่งผลให้การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นไปตามกฎหมายองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ซึ่งขึ้นอยู่กับแนวคิดของฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่จะแก้ไขปรับเปลี่ยน ซึ่งอาจ
ละเลยแนวคิด “จากล่างสู่บน” (bottom up) ที่ให้ความสาคัญกับประชาชนและการปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความ
ใกล้ชิดกับประชาชนและสถานการณ์ความเป็นไปในพื้นที่มากกว่ารัฐส่วนกลาง ซึ่งประชาชนและองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่นเป็นปัจจัยสาคัญในความสาเร็จของการอนุรักษ์ ป้ องกัน ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม
ผู้เสนอจึงขอให้แก้ไขเพิ่มเติมอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านการบริหารจัดการ
สิ่งแวดล้อมให้มีอานาจหน้าที่ไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๕๐
ขอแสดงความนับถือ
ประภาพร แสงกาญจนวนิช
๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๙

More Related Content

Viewers also liked

младеновац биљана
младеновац биљанамладеновац биљана
младеновац биљанаbiljanet
 
Forum biodiversidade nautica_terceira_dram_10_2015
Forum biodiversidade nautica_terceira_dram_10_2015Forum biodiversidade nautica_terceira_dram_10_2015
Forum biodiversidade nautica_terceira_dram_10_2015PTMacaronesia
 
Four Farmers of Khulungira
Four Farmers of KhulungiraFour Farmers of Khulungira
Four Farmers of KhulungiraILRI
 
Health Behavior Change Project phase 1
Health Behavior Change Project phase 1Health Behavior Change Project phase 1
Health Behavior Change Project phase 1Kelly Cringan
 
ARXivar per Parmareggio: l'azienda lean
ARXivar per Parmareggio: l'azienda leanARXivar per Parmareggio: l'azienda lean
ARXivar per Parmareggio: l'azienda leanARXivar
 

Viewers also liked (8)

младеновац биљана
младеновац биљанамладеновац биљана
младеновац биљана
 
Forum biodiversidade nautica_terceira_dram_10_2015
Forum biodiversidade nautica_terceira_dram_10_2015Forum biodiversidade nautica_terceira_dram_10_2015
Forum biodiversidade nautica_terceira_dram_10_2015
 
Four Farmers of Khulungira
Four Farmers of KhulungiraFour Farmers of Khulungira
Four Farmers of Khulungira
 
Leccion4.tipos.cementos
Leccion4.tipos.cementosLeccion4.tipos.cementos
Leccion4.tipos.cementos
 
NIFS corporate fitness center best practice programs
NIFS corporate fitness center best practice programsNIFS corporate fitness center best practice programs
NIFS corporate fitness center best practice programs
 
Health Behavior Change Project phase 1
Health Behavior Change Project phase 1Health Behavior Change Project phase 1
Health Behavior Change Project phase 1
 
ARXivar per Parmareggio: l'azienda lean
ARXivar per Parmareggio: l'azienda leanARXivar per Parmareggio: l'azienda lean
ARXivar per Parmareggio: l'azienda lean
 
internship report of Mariam
internship report of Mariaminternship report of Mariam
internship report of Mariam
 

ข้อเสนอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น 2559

  • 1. 1 ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ) ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (เบื้องต้น วันศุกร์ที่ ๒๙ มกราคม ๒๕๕๙) น.ส.ประภาพร แสงกาญจนวนิช คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ประเด็นที่ขอเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดความชัดเจนและรับรองสิทธิของประชาชนไม่ต่ากว่า รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ ๑. การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (Environmental Health Impact Assessment-EHIA) ๒. สิทธิชุมชน ๓. สิทธิชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ๔. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ๕. การปกครองส่วนท้องถิ่น ๑. การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ- การประเมินผลกระทบด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EHIA) ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๔ การดาเนินการใดของรัฐหรือที่รัฐจะอนุญาตให้ผู้ใดดาเนินการถ้าการนั้นอาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อความ สงบสุข วิถีชีวิตหรือสุขภาพของประชาชนหรือชุมชน หรือสิ่งแวดล้อม รัฐต้องดาเนินการให้ประชาชนที่เกี่ยวข้องมี ส่วนร่วมและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนที่เกี่ยวข้องเพื่อนามาประกอบการพิจารณาด้วยตามที่ กฎหมายบัญญัติ ในการดาเนินการตามวรรคหนึ่ง รัฐต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบต่อประชาชน ชุมชน สิ่งแวดล้อม และ ความหลากหลายทางชีวภาพน้อยที่สุด และต้องดาเนินการให้มีการเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายให้แก่ ประชาชนหรือชุมชนที่ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรมและโดยไม่ชักช้า
  • 2. 2 ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ) ต่างกับ มาตรา ๖๗ (วรรคสอง) แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่บัญญัติว่า “การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อคุณภาพ สิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วน ได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทน สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบ ก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว สิทธิของชุมชนที่จะฟ้ องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของ รัฐที่เป็นนิติบุคคล เพื่อให้ปฏิบัติหน้าที่ตามบทบัญญัตินี้ ย่อมได้รับความคุ้มครอง” จะเห็นได้ว่า ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น ไม่ได้กาหนดวิธีการประเมินผลกระทบไว้ กาหนดเพียงให้รับฟัง ความคิดเห็นจากประชาชนที่เกี่ยวข้อง (มาตรา ๕๔ วรรคหนึ่ง) และต้องระมัดระวังให้เกิดผลกระทบน้อยที่สุด รวมถึงมี การเยียวยาความเดือดร้อนหรือเสียหายให้แก่ประชาชนหรือชุมชนที่ได้รับผลกระทบ (มาตรา ๕๔ วรรคสอง) จึงอาจ เป็นวิธีการประเมิน EIA ก็ได้ EHIA ก็ได้ หรือเป็นการรับฟังความคิดเห็นผู้ได้รับผลกระทบก็ได้ ดังนั้น ก็อาจจะเป็นไปตามความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา เรื่องเสร็จที่ ๖๖๕/๒๕๕๗ เรื่อง การดาเนินการที่ เกี่ยวข้องกับองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ ภายหลังบทบัญญัติมาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ สิ้นผลบังคับใช้ ซึ่งให้ความเห็นว่า แม้ มาตรา ๖๗ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๕๐ จะสิ้นผลแล้ว แต่องค์การอิสระด้าน สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (กอสส.) ยังมีอานาจหน้าที่ตาม ก. ประกาศสานักนายกรัฐมนตรี เรื่อง การประกาศการจัดตั้งองค์การอิสระ ลงวันที่ ๘ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓ (แก้ไข เพิ่มเติมฉบับที่ ๒ ลงวันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๕๔) ซึ่งออกโดยอาศัยอานาจตามความในข้อ ๑๔ แห่งระเบียบสานัก นายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการประสานงานการให้ความเห็นขององค์การอิสระในโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรง พ.ศ.๒๕๕๓ ที่ออกโดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๑๑(๘) แห่งพระราชบัญญัติ ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔
  • 3. 3 ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ) ข. ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระเบียบปฏิบัติและแนวทาง ในการจัดทารายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อ ชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพ (๒๙ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๒) ซึ่ง ออกโดยอาศัยอานาจตามความในมาตรา ๔๖ และมาตรา ๕๑ แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ จึงอาจกล่าวได้ว่า ถ้าไม่มีบทบัญญัติมาตรา ๖๗ วรรคสองของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ประชาชนจะต้องอาศัยอานาจตามกฎหมาย ๒ ฉบับ คือ  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ และ/หรือ  พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๓๕ ซึ่งนายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ออกระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วย การประสานงานการให้ความเห็นขององค์การอิสระในโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรง พ.ศ.๒๕๕๓ ภายใต้พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ.๒๕๓๔ ขณะที่ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมฯ เป็นอานาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ จากอดีตที่ ผ่านมา แม้มีการเพิ่มเติมโครงการที่ต้องจัดทา EHIA (ประกาศวันที่ ๑๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๓ และวันที่ ๑๘ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๕๘) แต่ก็มีการแก้ไขที่มีข้อกังขา เช่น ประกาศฯ ฉบับที่ ๓ วันที่ ๒๔ เมษายน พ.ศ.๒๕๕๕ ซึ่ง ยกเลิกคณะอนุกรรมการวินิจฉัยข้อร้องเรียนสาหรับโครงการหรือกิจการที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่าง รุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติและสุขภาพที่คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติแต่งตั้ง โดยคณะอนุกรรมการฯ นี้ เป็นอีกช่องทางหนึ่งในการรับข้อร้องเรียนเพื่อกาหนดโครงการที่ต้องจัดทา EHIA นอกเหนือจากการกาหนดโดยหน่วยงานราชการเพียงฝ่ายเดียว ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม ดังนั้น เพื่อไม่ให้มีข้อสงสัย/ความไม่ชัดเจน และต้องอาศัยอานาจของฝ่ายบริหาร คือ คณะรัฐมนตรีเพียงฝ่าย เดียว ที่อาจบริหารประเทศโดยอิงแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจมากกว่าการคานึงถึงสิ่งแวดล้อม (แม้ในร่างจะกล่าวถึง หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืนในหลายๆ มาตรา แต่หลักการดังกล่าว เป็นเพียงหลักกว้างๆ ไม่ได้มีเกณฑ์ที่กาหนดตายตัว
  • 4. 4 ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ) แต่อย่างใด) หรือหน่วยงานราชการอาจใช้วิธีการประเมินผลกระทบที่ไม่ได้มาตรฐานทางวิชาการ (ถึงแม้ระบบการ ประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประเทศไทยจะมีข้อโต้แย้ง แต่ก็อยู่บนพื้นฐานทางวิชาการซึ่งเป็นที่ ยอมรับทั่วโลก) ผู้เสนอจึงขอให้แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๕๔ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น ให้มีข้อกาหนด วิธีการประเมินผลกระทบอย่างชัดเจน ไม่น้อยกว่ามาตรา ๖๗ วรรคสองแห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร ไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ---------------------------------------------------------------------------- ๒. สิทธิชุมชน ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น หมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ มาตรา ๕๓ รัฐต้องอนุรักษ์ คุ้มครอง บารุงรักษา ฟื้นฟู บริหารจัดการ และใช้หรือจัดให้มีการใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน โดยต้องให้ประชาชน และชุมชนในท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมดาเนินการและได้รับประโยชน์จากการดาเนินการดังกล่าวด้วยตามที่ กฎหมายบัญญัติ และหมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทย มาตรา ๔๓ บุคคลและชุมชนย่อมมีสิทธิดาเนินการหรือร่วมกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นหรือรัฐ ในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู หรือส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม และจารีตประเพณีอันดีงามของท้องถิ่นและของชาติ ต่างกับ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวด ๓ สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย ส่วนที่ ๑๒ สิทธิชุมชน มาตรา ๖๖ บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชน ชุมชนท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีต ประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่นและของชาติ และมีส่วนร่วมในการจัดการ การ บารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลายทางชีวภาพอย่างสมดุล และยั่งยืน มาตรา ๖๗ (วรรคแรก) สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนในการอนุรักษ์ บารุงรักษา และการได้ ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และในการคุ้มครอง ส่งเสริม และรักษาคุณภาพ สิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดารงชีพอยู่ได้อย่างปกติและต่อเนื่องในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัย
  • 5. 5 ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ) สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม ๑) ผู้เสนอขอให้ตัด “ตามที่กฎหมายบัญญัติ” ในมาตรา ๕๓ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้นออก เนื่องจากการบัญญัติเช่นนี้จะเป็นปัญหาเช่นเดียวกับที่เกิดในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ซึ่งมีการตีความในการจากัดสิทธิชุมชน มากกว่าการรับรองสิทธิชุมชน และทาให้มีการมุ่งเน้นไปที่สิทธิซึ่งกฎหมาย ลาดับรอง – พระราชบัญญัติ กฎกระทรวง จะรับรอง มากกว่าสิทธิที่รัฐธรรมนูญได้รับรองไว้แล้ว นอกจากนี้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ก็ได้แก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยตัดข้อความ “ทั้งนี้ตามที่ กฎหมายบัญญัติ” ซึ่งส่งผลให้ประชาชนคุ้นเคยกับสิทธิชุมชนและใช้ในการรับรองสิทธิของตน ผู้เสนอจึงเห็นว่า ไม่มี ความจาเป็นแต่อย่างใด ที่จะกลับไปใช้บทบัญญัติตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ ๒) จะเห็นได้ว่าตามมาตรา ๕๓ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้นนั้น รัฐเป็นผู้ดาเนินการ (คนตั้งต้น/เจ้าภาพ) เปรียบเทียบกับมาตรา ๖๖ และมาตรา ๖๗ วรรคแรกของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่ ประชาชนเป็นผู้ดาเนินการ ซึ่งตามหลักการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมจาก ประชาชน หรือที่เรียกว่า “จากล่างสู่บน” (bottom up) เป็นปัจจัยสาคัญในความสาเร็จของการอนุรักษ์ ป้ องกัน ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แต่ตามร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้นกลับสื่อถึงการบริหารจัดการจากบนลงล่าง (top down) ซึ่งเป็นที่ยอมรับน้อยลงในแวดวงวิชาการ ผู้เสนอจึงขอให้แก้ไขเพิ่มเติมมาตรา ๕๓ นี้ ให้เป็นไปหลัก แนวคิดของการมีส่วนร่วมของประชาชน และหลักการที่เน้นฐานราก bottom up ---------------------------------------------------------------------------- ๓. สิทธิชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น หมวด ๖ แนวนโยบายแห่งรัฐ มาตรา ๖๗ รัฐพึงส่งเสริมและให้ความคุ้มครองชาวไทยกลุ่มชาติพันธุ์ต่าง ๆ ให้มีสิทธิดารงชีวิตในสังคมตาม วัฒนธรรม ประเพณี และวิถีชีวิตดั้งเดิมตามความสมัครใจได้อย่างสงบสุข ไม่ถูกรบกวน ทั้งนี้เท่าที่ไม่เป็นการขัดต่อ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐหรือสุขภาพอนามัย
  • 6. 6 ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ) มาตรา ๖๗ นี้เป็นการแยกสิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์ออกมาต่างหากเพิ่มเติมออกจากสิทธิชุมชนเดิมตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ แต่เนื่องจากมาตรา ๖๐ บัญญัติว่า “บทบัญญัติในหมวดนี้ เป็นแนวทางให้รัฐดาเนินการตรากฎหมายและกาหนดนโยบายในการบริหารราชการแผ่นดิน ไม่ก่อให้เกิดสิทธิในการ ฟ้ องร้องรัฐ” ประกอบกับ มาตรา ๗๓ กาหนดว่า “รัฐพึงจัดให้มีกฎหมายเพียงเท่าที่จาเป็น และพึงยกเลิกหรือปรับปรุง กฎหมายที่หมดความจาเป็นหรือไม่สอดคล้องกับสภาพการณ์ หรือที่เป็นอุปสรรคต่อการดารงชีวิตหรือการประกอบ อาชีพที่ไม่จาเป็นโดยเร็ว เพื่อไม่ให้เป็นภาระแก่ประชาชน” จึงขึ้นอยู่กับภาครัฐว่าจะดาเนินการตรากฎหมายเพื่อรับรอง สิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์หรือไม่ ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม ผู้เสนอจึงขอให้แก้ไขเพิ่มเติมให้สิทธิของกลุ่มชาติพันธุ์อยู่ในหมวด ๕ หน้าที่ของรัฐ เพื่อเป็นการ คุ้มครองวิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีของกลุ่มชาติพันธุ์ซึ่งประเทศไทยละเลยและพยายามบังคับให้มีลักษณะ เหมือนกับคนไทยภาคกลางมาเป็นเวลานาน ---------------------------------------------------------------------------- ๔. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ตามมาตรา ๒๔๔ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้นเมื่อเปรียบเทียบกับมาตรา ๒๕๗ แห่งรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ได้ตัดอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้ออกไป ...(๒) เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนว่าบทบัญญัติ แห่งกฎหมายใดกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติ ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ (๓) เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ร้องเรียนว่ากฎ คาสั่ง หรือการ กระทาอื่นใดในทางปกครองกระทบต่อสิทธิมนุษยชนและมีปัญหาเกี่ยวกับความชอบด้วยรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย ทั้งนี้ ตามพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลปกครองและวิธีพิจารณาคดีปกครอง (๔) ฟ้ องคดีต่อศาลยุติธรรมแทนผู้เสียหาย เมื่อได้รับการร้องขอจากผู้เสียหายและเป็นกรณีที่เห็นสมควรเพื่อ แก้ไขปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นส่วนรวม ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ ซึ่งอานาจหน้าที่เหล่านี้เป็นกลไกที่จะช่วยเหลือประชาชนที่เข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้ยากด้วยสถานะทาง การเงิน การเข้าถึง ความรู้ฯลฯ สามารถใช้กลไกเหล่านี้ได้ ซึ่งสอดคล้องกับมาตรา ๖๔ แห่งร่างรัฐธรรมนูญฉบับ เบื้องต้น ที่กาหนดให้ “รัฐพึงจัดระบบการบริหารงานในกระบวนการยุติธรรมทุกด้าน ให้มีประสิทธิภาพ เป็นธรรม และ
  • 7. 7 ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ) ไม่เลือกปฏิบัติ และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว และไม่เสียค่าใช้จ่ายสูงเกินสมควร” (มาตรา ๖๔ วรรคหนึ่ง) และ “รัฐพึงให้ความช่วยเหลือทางกฎหมายที่จาเป็นและเหมาะสมแก่ผู้ยากไร้หรือผู้ด้อยโอกาส ในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม และพึงเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายในคดีอาญา ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายบัญญัติ” (มาตรา ๖๔ วรรคสาม) ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม ผู้เสนอจึงขอให้เพิ่มเติมอานาจหน้าที่ทั้งสามประการของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ให้ เป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ เช่นเดิม ---------------------------------------------------------------------------- ๕. การปกครองส่วนท้องถิ่น ร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๔๗ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอานาจดูแลและจัดทาบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของ ประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษาให้แก่ประชาชนใน ท้องถิ่น ทั้งนี้ตามที่กฎหมายบัญญัติ... ต่างกับ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๙๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นย่อมมีอานาจหน้าที่ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมตามที่กฎหมาย บัญญัติ กฎหมายตามวรรคหนึ่งอย่างน้อยต้องมีสาระสาคัญดังต่อไปนี้ (๑) การจัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่ในเขตพื้ที่ (๒) การเข้าไปมีส่วนร่วมในการบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่อยู่นอกเขตพื้นที่ เฉพาะใน กรณีที่อาจมีผลกระทบต่อการดารงชีวิตของประชาชนในพื้นที่ของตน (๓) การมีส่วนร่วมในการพิจารณาเพื่อริเริ่มโครงการหรือกิจกรรมใดนอกเขตพื้นที่ซึ่งอาจมีผลกระทบต่อ คุณภาพสิ่งแวดล้อมหรือสุขภาพอนามัยของประชาชนในพื้นที่ (๔) การมีส่วนร่วมของชุมชนท้องถิ่น
  • 8. 8 ข้อเสนอขอแก้ไขเพิ่มเติมร่างรัฐธรรมนูญฉบับเบื้องต้น พ.ศ.๒๕๕๙- ประภาพร แสงกาญจนวนิช (๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๙ ) จากความแตกต่างนี้จะส่งผลให้การบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเป็นไปตามกฎหมายองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น ซึ่งขึ้นอยู่กับแนวคิดของฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติในระยะเวลาใดเวลาหนึ่งที่จะแก้ไขปรับเปลี่ยน ซึ่งอาจ ละเลยแนวคิด “จากล่างสู่บน” (bottom up) ที่ให้ความสาคัญกับประชาชนและการปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีความ ใกล้ชิดกับประชาชนและสถานการณ์ความเป็นไปในพื้นที่มากกว่ารัฐส่วนกลาง ซึ่งประชาชนและองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่นเป็นปัจจัยสาคัญในความสาเร็จของการอนุรักษ์ ป้ องกัน ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ข้อเสนอให้แก้ไขเพิ่มเติม ผู้เสนอจึงขอให้แก้ไขเพิ่มเติมอานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านการบริหารจัดการ สิ่งแวดล้อมให้มีอานาจหน้าที่ไม่น้อยกว่าที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ขอแสดงความนับถือ ประภาพร แสงกาญจนวนิช ๑๕ กุมภาพันธ์ พ.ศ.๒๕๕๙