SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
1
เอกสาร
ความรู้ เทคนิค ทักษะ
(ฉบับย่อ)
ประกอบการดาเนินการค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
รูปแบบศูนย์ขวัญแผ่นดิน
เรียบเรียงโดย
นายธนะรัชต์ นามผลดี
2
คานา
เอกสารค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาเสพติดตามหลักสูตรค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ศูนย์ขวัญ
แผ่นดิน ชุดนี้ สานักงาน ป.ป.ส. ได้ดาเนินการ เพิ่มเติมขยายองค์ความรู้ เพิ่มเติมให้กับวิทยากรฯ มีเนื้อหาสอดรับ
กับการทางาน ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ เทคนิค ทักษะที่จาเป็น เพื่อให้การดาเนินงานเปนนปปอย่างมีคุภาาพ
มากยิ่งขึ้น รวมถึงเปนนการ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงานจัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ศูนย์ขวัญ
แผ่นดิน ให้กับวิทยากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ สามารถดาเนินงานปรับเปลี่ยนทัศนคติ ตลอดจนพฤติกรรมของผู้
เสพยาเสพติดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
สานักงาน ป.ป.ส. ขอขอบคุณคณะวิทยากร หน่วยงานภาคีและผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้สนับสนุนข้อมูล
ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีเสมอมา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาหลักสูตรค่าย
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาเสพติดที่เพิ่มเติมนี้ จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการดาเนินงานให้กับหน่วยปฏิบัติใน
พื้นที่ต่างๆ เป็นอย่างดี สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการปรับเปลี่ยนแนวคิด ทัศนคติ ตลอดจนพฤติกรรมของผู้เสพ
ยาเสพติดให้สามารถ ลด ละ เลิกยาเสพติดได้ เพื่อนาคนดีกลับคืนสู่สังคม เป็นขวัญของครอบครัว สังคม และเป็น
กาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติสืบไป
สานักงาน ป.ป.ส.
3
สารบัญ
หน้า
กระบวนการให้คาปรึกษา(Counseling) 1 - 29
การให้คาแนะนาแบบสั้น 30 - 33
เทคนิควิธีการเฉพาะของการสร้างแรงจูงใจ 34 - 43
Active Learning 44 - 48
กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 49 - 51
การบาบัดความคิดและพฤติกรรม (CognitiveBehavior Therapy : CBT) 52 - 59
4
การให้คาปรึกษา (Counseling)
ความหมายของการให้คาปรึกษา การให้คาปรึกษา (Counseling) หมายถึง กระบวนการให้ความช่วยเหลือแก่
บุคคลที่ประสบปัญหาต่าง ๆ โดยผู้ให้คาปรึกษาเป็นผู้ช่วย ใช้เทคนิคการสื่อสาร เพื่อแสวงหาวิธีการช่วยเหลือให้
ผู้รับคาปรึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาตามความเป็นจริง สามารถใช้ศักยภาพของตนเองในการ
คิด การตัดสินใจ และหาทางเลือกที่เหมาะสมสาหรับตนเอง ซึ่งผู้ให้คาปรึกษาจะไม่ใช้ความคิดของตัวเองเป็นหลัก
หรือชักจูงแนะนาวิธีการแก้ปัญหา
กระบวนการให้คาปรึกษาจะเกี่ยวข้องกับสิ่งสาคัญ ๓ ประการ คือ
๑. ผู้ให้คาปรึกษา (Counselor)
๒. ผู้มาขอรับคาปรึกษา (Counselee, Client)
๓. กระบวนการ (Process) ของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้คาปรึกษากับผู้มาขอรับคาปรึกษา ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในตัวผู้มาขอรับคาปรึกษา
การให้คาแนะนา (Advising) เป็นกระบวนการให้ความช่วยเหลือบุคคล ซึ่งผู้เป็นที่ปรึกษานั้นจะเป็นผู้
ประเมินข้อมูลทาความเข้าใจ และชี้แนะแนวทางเพื่อช่วยแก้ปัญหาโดยตรง เพราะฉะนั้นจะเน้นการให้ข้อเสนอแนะ
และคาแนะนาแก่ผู้ที่มาขอรับคาปรึกษา
การทาจิตบาบัด (Psychotherapy) เป็นวิธีการรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางจิตใจหรือมีพยาธิ
สภาพทางจิตโดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างผู้รักษาและผู้รับการรักษาด้วยกระบวนการทางจิตวิทยา ช่วยให้ผู้รับ
การรักษาเกิดความเข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหา หรือเข้าใจตนเอง เพื่อที่ผู้รับการรักษาจะได้ปรับตัวได้ดีขึ้น
ในทางปฏิบัติเป็นการยากที่จะแยกCounseling และ Psychotherapy ออกจากกันอย่างเด็ดขาด เพราะมีความ
คาบเกี่ยวกันอยู่
การให้คาปรึกษาคืออะไร
การให้คาปรึกษา เป็นกระบวนการที่ผู้ให้และผู้รับบริการปรึกษามีปฏิสัมพันธ์กันโดยผู้ให้คาปรึกษาใช้
คุณสมบัติส่วนตัว ความสามารถและทักษะต่างๆ กระตุ้นให้ผู้รับคาปรึกษาได้สารวจตัวเองมีความเข้าใจ
ปัญหาที่แท้จริง (มีความเข้าใจสาเหตุ ความต้องการ) จนกระทั่งสามารถหาวิธีการแก้ปัญหาได้ด้วย
ศักยภาพของตนเอง
5
สรุป
การให้คาปรึกษา เป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ที่อาศัยความสัมพันธ์และการสื่อสาร
ระหว่างผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับการ ปรึกษา เพื่อให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความเข้าใจ
ตนเอง เข้าใจปัญหา ได้ความรู้และทางเลือกในการแก้ปัญหานั้นอย่างเพียงพอมีสภาพ
อารมณ์และจิตใจ ที่พร้อมจะคิดและตัดสินใจด้วยตัวเอง
วัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา
1. เกิดแรงจูงใจที่จะให้ข้อมูล
2. เข้าใจและเห็นปัญหาของตนเอง
3. อยากแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง
4. ดาเนินการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง
การให้คาปรึกษา เป็นขบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลโดยอาศัยการสื่อสารแบบสองทางระหว่าง
บุคคลหนึ่ง(ในฐานะผู้ให้การปรึกษา) ซึ่งทาหน้าที่เอื้ออานวยให้อีกฝ่ายหนึ่ง(ในฐานะผู้รับการปรึกษา) ได้
สารวจและทาความเข้าใจถึงสิ่งที่เป็นปัญหาและสามารถทาให้ผู้รับคาปรึกษาได้สารวจ และทาความ
เข้าใจถึงสิ่งที่เป็นปัญหาและสามารถทาให้ผู้รับบริการปรึกษาแสวงหาหนทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ด้วย
ตนเอง
การให้คาปรึกษา เป็นขบวนการให้การช่วยเหลือที่อาศัยสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการโดย
ผู้ให้บริการใช้เทคนิค และขั้นตอนต่าง ๆ ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดการสารวจปัญหาของตนเอง รับรู้ เข้าใจ
และร่วมมือกับผู้ให้บริการเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหานั้น
6
หลักการที่สาคัญในการให้คาปรึกษา
เนื่องจากการให้คาปรึกษาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่เป็นทั้งผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษา ต้องมี
ระบบระเบียบ มีเทคนิควิธีในการเข้าใจ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ การช่วยเหลือ การวางแผน การตัดสินใจ การ
เปลี่ยนแปลงในหลายด้านในตัวผู้รับคาปรึกษา ดังนั้นในการให้คาปรึกษาจึงจาเป็นต้องมีหลักการที่สาคัญ (สวัสดิ์
บรรเทิงสุข .2542) ดังนี้
1. การให้คาปรึกษาตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่าผู้รับคาปรึกษาต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน
2. การให้คาปรึกษาตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่าผู้ให้คาปรึกษาต้องได้รับการฝึกฝนเพื่อความชานาญงานมาก่อน
3. การให้คาปรึกษาเป็นการช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาสามารถพิจารณาตนเองได้ดีเช่นเดียวกับความสามารถในการ
พิจารณาสิ่งแวดล้อมของตน จนเกิดการตัดสินใจได้ในที่สุด
4. การให้คาปรึกษา ยึดหลักความแตกต่างระหว่างบุคคล
5. การให้คาปรึกษาเป็นทั้งศาสตร์ (Science) และศิลปะ (Art) เป็นทั้งงานวิชาการ และวิชาชีพที่ต้องอาศัยการ
ฝึกฝนจนชานาญมากกว่าการใช้สามัญสานึก
6. การให้คาปรึกษา เป็นความร่วมมืออันดีสาหรับผู้ให้คาปรึกษา และผู้รับคาปรึกษาในอันที่จะช่วยกันค้นหาปัญหา
หรือทางออกที่เหมาะสมแท้จริงทั้งนี้โดยที่ต่างฝ่ายอาจจะไม่เข้าใจมาก่อนว่า “แท้ที่จริงแล้วความยากลาบากหรือ
ปัญหาของสิ่งนั้นคืออะไร ซึ่งแตกต่างไปจากการสอนซึ่งผู้สอนรู้ข้อเท็จจริงมาก่อนหน้านี้แล้ว”
7. การให้คาปรึกษาเน้นถึงจรรยาบรรณ และบรรยากาศที่ปกปิดหรือความเป็นส่วนตัว เพื่อสนับสนุนการได้มาซึ่ง
ข้อเท็จจริงสาหรับช่วยเหลือ และรักษาผลประโยชน์ของผู้รับคาปรึกษาเป็นสาคัญ
8. การให้คาปรึกษาจะเกิดขึ้นต่อเมื่อสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้คาปรึกษา และผู้รับคาปรึกษา มีระดับสูงมากพอที่
ผู้รับคาปรึกษาเต็มใจที่จะเปิดเผย ความรู้สึกที่แท้จริงของตน โดยไม่ปกปิดหรือซ่อนเร้น
ประเภทของการให้คาปรึกษา การให้คาปรึกษาสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้
1. การให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Counseling)
การให้คาปรึกษาจะเป็นการพบกัน ระหว่างผู้ให้คาปรึกษา 1 คน กับผู้ขอคาปรึกษา 1 คน โดยร่วมมือกัน การให้
คาปรึกษาแบบนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้ผู้ขอรับคาปรึกษาให้สามารถเข้าใจตนเอง เข้าใจปัญหา และสามารถ
แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง
7
ลาดับขั้นของการให้คาปรึกษารายบุคคล กระบวนการให้คาปรึกษา อาจสรุปได้ 5 ขั้นตอนดังนี้คือ
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพ ผู้ให้คาปรึกษาต้องทาให้ผู้รับคาปรึกษาเกิด ความอบอุ่น สบายใจ และ
ไว้วางใจ
ขั้นตอนที่ 2 สารวจปัญหาผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาได้สารวจปัญหาและปัจจัยต่างๆที่ทาให้เกิดปัญหา
ด้วยตัวของเขาเอง
ขั้นตอนที่ 3 เข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการ ผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาเข้าใจปัญหา สาเหตุ และ
ความต้องการของตนเอง
ขั้นตอนที่ 4 วางแผน แก้ปัญหา ผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาพิจารณาวิธี แก้ปัญหาและตัดสินใจเลือกสิ่งที่
จะปฏิบัติด้วยตนเอง
ขั้นตอนที่ 5 ยุติการให้คาปรึกษา ผู้ให้คาปรึกษาย้าความเข้าใจที่เกิดขึ้นระหว่าง ที่ให้คาปรึกษา และช่วยให้ผู้รับ
คาปรึกษา มีแรงจูงใจและกาลังใจ ที่จะแก้ปัญหาและพัฒนาตนเอง
2. การให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม (Group Counseling)
ลาดับขั้นของการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม
ขั้นที่ 1 ขั้นก่อตั้งกลุ่ม ในขั้นนี้สมาชิกที่เข้ากลุ่มยังไม่กล้าเปิดเผยตนเอง เพราะยังไม่ไว้วางใจในกลุ่ม ผู้ให้
คาปรึกษาจะต้องชี้แจงวัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา และสร้างสัมพันธภาพที่ดี ให้เกิดขึ้นในกลุ่ม และต้อง
ให้เวลาแก่สมาชิกกลุ่มพอสมควรอย่ารีบเร่ง
ขั้นที่ 2 ขั้นการเปลี่ยนแปลงลักษณะของสมาชิก เป็นขั้นตอนต่อจากขั้นแรกกลุ่มเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงและ
พัฒนาการขึ้นบ้าง สมาชิกเริ่มรู้จักไว้วางใจกันแต่ก็ยังมีความวิตกกังวล มีความตึงเครียดอยู่บ้าง ผู้ให้
คาปรึกษาจะต้องพยายามชี้แจงให้สมาชิกกล้า อภิปรายปัญหาตัวเอง อย่างเปิดเผย
ขั้นที่ 3 ขั้นดาเนินการ ขั้นนี้สัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในกลุ่มจะดีขึ้นมาก กล้าเปิดเผยตนเอง อภิปราย
ปัญหาตามความเป็นจริง ร่วมกันแก้ปัญหาของสมาชิก ทุกคนได้สารวจตัวเอง เข้าใจปัญหาและพร้อมจะ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน
ขั้นที่ 4 ขั้นยุติการให้คาปรึกษา เมื่อสมาชิกเข้าใจปัญหาอย่างกระจ่างแจ้ง รู้จักแก้และเลือกวิธีที่เหมาะสมกับ
ตน นาไปปฏิบัติด้วยความพอใจ ไม่มีข้อข้องใจตกค้าง ก็ให้ยุติการให้คาปรึกษาแบบกลุ่มได้
8
ขนาดของกลุ่ม
ในการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม ขนาดของกลุ่มที่ดีที่สุดจะอยู่ระหว่าง 4-8 คน เพราะถ้ากลุ่มมีขนาดใหญ่เกินจานวน
8 คน การถ่ายโยงจะค่อย ๆอ่อนลงจนกระทั่งสมาชิกแทบ จะไม่มีความหมาย และแทบจะไม่มีความสัมพันธ์ต่อกัน
และกัน กลุ่มทาหน้าที่เสมือนการรวมกลุ่มย่อยหลาย ๆกลุ่ม และผู้ให้คาปรึกษาจะมีความยากลาบากในการชักจูง
ให้สมาชิกแต่ละคน สนใจกลุ่ม แต่ถ้ากลุ่มเป็นกลุ่มขนาดเล็กสมาชิก จะมีโอกาสสื่อความหมายซึ่งกันและกันได้อย่าง
เต็มที่ แต่ถ้าขนาดของกลุ่มใหญ่ขึ้น สมาชิกจะได้รับประสบการณ์ตรงและมีส่วนร่วมในกลุ่มน้อยมาก สมาชิกจะ
พัฒนาความสัมพันธ์ที่มีความหมายกับผู้นา ผู้พูด และผู้แสดงเท่านั้น และสมาชิกจะปฏิบัติหน้าที่เหมือนกับอยู่ใน
ชั้นเรียน และคอยพึ่งพิงผู้นามากขึ้น
ลักษณะของกลุ่มในการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม
ในการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม ลักษณะของกลุ่มควรเป็นกลุ่มแบบปิด ( Closed Groups) หมายถึง เป็นกลุ่มที่
ประกอบด้วย สมาชิกที่เป็นคนเดิมตั้งแต่เริ่มต้น การให้คาปรึกษา จนกระทั่งถึงขั้นยุติการให้คาปรึกษา ไม่ควรเป็น
กลุ่มแบบเปิด ( Opened Groups ) เพราะกลุ่มลักษณะนี้จะมีการเข้าออกของ สมาชิกกลุ่มอยู่ตลอดเวลา คือ
สมาชิกเก่าออกไปสมาชิกใหม่เข้า มาแทนที่ ทาให้การให้คาปรึกษาขาดความต่อเนื่อง การที่กลุ่มจะมีพัฒนาการไป
ถึง ขั้นการวางแผนแก้ปัญหา จะทาได้ยากและความรู้สึกปลอดภัยจะลดลง เพราะสมาชิกกลุ่มจะต้องคอยปรับตัว
ต่อสถานการณ์ ที่มีสมาชิกใหม่เข้ามาอยู่ตลอดเวลา ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการเจริญงอกงามของกลุ่มได้
รูปแบบการให้คาปรึกษาสามารถจาแนกได้ 3 แนวทาง คือ
1. การให้คาปรึกษาแบบนาทาง การให้คาปรึกษารูปแบบนี้จะยึดให้ผู้ศึกษาเป็นศูนย์กลาง โดยมีแนวทางเชื่อว่า
การที่คนเราสามารถตัดสินใจเรื่องต่างๆ หรือแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อบุคคลนั้นรู้จักตนเองรู้ในขอบเขต
ความสามารถ
2. การให้คาปรึกษาไมนาทาง การให้คาปรึกษาแบบนี้ยึดผู้มาขอรับการศึกษาเป็นศูนย์กลาง บุคคลมีความสามารถ
ในการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หากเขาได้ระบายความคับข้องใจ ความทุกข์ใจ ความตึงเครียดทางอารมณ์ต่างๆ
ออกไป และมีความรู้จักและสามารถเข้าใจตนเอง
3. การให้คาปรึกษาแบบผสม ผู้ให้คาปรึกษามีอิสระที่จะใช้วิธีการหรือหลักการอะไรก็ได้ที่เห็นว่ามีความเหมาะสม
กับลักษณะของผู้มาขอรับการศึกษาในแต่ละขณะ
9
ลักษณะเฉพาะของการให้บริการคาปรึกษา
1. เป็นกระบวนการที่มีขั้นตอนประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ
2. เป็นบริการที่ต้องอยู่บนพื้นฐานสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ
3. เป็นบริการที่ช่วยให้ผู้รับบริการสามารถเปิดเผยความรู้สึก ความคิด อารมณ์ของตน
4. เป็นขบวนการที่เน้นอารมณ์ ความรู้สึกมากกว่าเนื้อหาความรู้
5. เป็นกระบวนการเพื่อแก้ไขปัญหาทางจิต- สังคม ลดความทุกข์ใจ
6. เป็น Two – way communication.
7. เป็นกระบวนการและมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง (มีลักษณะเป็นขั้นตอนย่อย ๆ แต่ละขั้นตอน มี
วัตถุประสงค์แตกต่างกันออกไป แล้วนาขั้นตอนเหล่านั้นมาร้อยเรียงเข้าด้วยกัน เพื่อวัตถุประสงค์ หลักการ
เดียวกัน)
8. เน้นการสื่อสารด้วยเจตคติที่ดี
9. เน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง
10. เน้นปัจจุบัน
11. ไม่มีคาตอบสาเร็จรูปหรือตายตัว
12. ต้องมีการคัดกรองผู้รับบริการ
หลักการสาคัญของการให้คาปรึกษา
1. ยึดเอาผู้มีปัญหาเป็นหลัก
2. เน้นที่อารมณ์ความรู้สึกของผู้มีปัญหา
3. เข้าใจและยอมรับในอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดของผู้มีปัญหา
4. ไม่ด่วนสรุป หรือตัดสินผู้มีปัญหา
5. เน้นที่ความเป็นจริงตามเหตุการณ์และสถานการณ์
6. มีการโต้ตอบเป็นจริงตามเหตุการณ์และสถานการณ์
7. ผู้มีปัญหาเกิดการเรียนรู้ด้วยเหตุของปัญหา และตัดสินใจเลือกทางแก้ไข ด้วยตนเอง
10
ระดับการให้คาปรึกษา
Emotion Counsellor

Social Counsellor

Basic Counsellor

Refreshing Counsellor

Advance Counsellor

Experience Counsellor Professional Counsellor
(นักจิตวิทยา)

Specific Counsellor (จิตแพทย์)
คุณสมบัติของผู้ให้คาปรึกษา
1. ด้านความรู้ความสามารถ (Knowledge) เนื่องจากการให้คาปรึกษา แนะนา มีขอบข่ายกว้างขวาง ผู้ให้
คาปรึกษาจาเป็นต้องรู้หลักการและเทคนิคในการให้คาปรึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การร้องทุกข์ การอุทธรณ์ ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของคน ความต้องการของ
คนพฤติกรรมศาสตร์ แรงจูงใจ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้สามารถนามาใช้ในการให้คาปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือผู้
ขอคาปรึกษาได้
2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation) ตามแนวความคิดของมนุษยสัมพันธ์ เน้นในเรื่องความสาคัญ
ของคน ไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นใคร และเห็นว่าการเข้าใจคนจะช่วยให้การบริหารงานสาเร็จไปกว่าครึ่งหนึ่ง ดังนั้น ผู้ให้
คาปรึกษาจะต้องมีมนุษยสัมพันธ์ เพราะเป็นงานที่ต้องติดต่อกับคน เช่น ผู้บริหาร ผู้ใต้บังคับบัญชา รวมทั้ง
บุคลากรอื่น ๆ ในหน่วยงาน การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ขอคาปรึกษาช่วยให้การให้คาปรึกษาเกิดความร่วมมือ
ในการหาหนทางในการแก้ปัญหาด้วยกัน
11
3. ด้านจริยธรรม (Ethics) ผู้ให้คาปรึกษาแนะนาต้องรับรู้ปัญหาต่าง ๆ ของบุคคลอื่นเป็นจานวนมาก ซึ่งใน
การปฏิบัติงานผู้ให้คาปรึกษาแนะนาจาเป็นต้องรักษาความลับของผู้ขอคาปรึกษา และการให้คาปรึกษาก็ต้องตั้งอยู่
บนพื้นฐานของหลักวิชาการไม่นาเรื่องส่วนตัวมาเกี่ยวข้อง ต้องวางตัวเป็นกลางอยู่บนหลักการและเหตุผล โดยมี
จรรยาบรรณทางวิชาชีพ การปฏิบัติอย่างยุติธรรมโดยทั่วหน้ากันไม่ว่าผู้ขอคาปรึกษาจะเป็นใคร มีพฤติกรรมเช่นไร
ซึ่งจะทาให้ผู้ขอคาปรึกษารู้สึกปลอดภัยและเต็มใจเปิดเผยข้อมูลสาคัญ ๆ แก่ผู้ให้คาปรึกษา
1. เป็นผู้ที่มีความรู้ด้านการให้บริการคาปรึกษา
2. เป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่น บุคลิกมั่นคง สามารถควบคุมอารมณ์ รับฟังปัญหาและการระบายความในใจของผู้มารับ
บริการได้
3. เป็นผู้ที่ผู้รับบริการยอมรับและให้ความเชื่อถือ
4. เป็นผู้ที่มีความสามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้รับบริการ โดยการวางตัวเป็นกันเองได้
5. เป็นผู้มีความเสียสละ อดทน ตั้งใจที่จะแก้ปัญหาให้ผู้มารับบริการ
6. เป็นผู้ได้รับมอบหมาย
7. มีทัศนคติที่ดี
- ไม่ลาเอียง/ไม่มีอคติ
- ไม่เข้มงวดในระเบียบแบบแผน (เป็นกันเองและยืดหยุ่นตามสมควร)
- ไม่บังคับผู้รับบริการให้ทาตาม
- ส่งเสริมกาลังใจ ไม่ทาลายคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ และเกียรติภูมิ
- มีความเห็นอกเห็นใจและเข้าใจผู้อื่น
- ไม่ตาหนิ ติเตียนผู้รับบริการ
- ไม่คอยจับผิด
- ไม่เอาค่านิยมส่วนตัวหรือมาตรฐานทางศีลธรรมไปตัดสินหรือโกรธผู้รับบริการ
- มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพไม่แพร่งพรายเรื่องราวต่าง ๆให้ผู้อื่นรู้เว้นแต่ในสายงานที่จะช่วยเหลือ
ผู้รับบริการ
คุณสมบัติของผู้ให้บริการคาปรึกษา
@ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับขบวนการให้คาปรึกษา
@ มีทัศนคติที่ดี
@ มีทักษะการติดต่อสื่อสารที่ดี
@ สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคในการให้คาปรึกษาได้
@ ไม่เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง
12
คุณสมบัติที่ผู้ให้การปรึกษาควรมี
_______ 1. มีจิตใจที่ต้องการจะช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยเหลือสังคม
_______ 2 ยอมรับและให้โอกาสแก่คนทุกคนโดยไม่แบ่งแยก
_______ 3. เชื่อในศักยภาพของคนและเชื่อว่าทุกคนอยากเป็นคนดี
_______ 4. เคารพความคิดและความรู้สึกของผู้อื่น
_______ 5. เข้าใจคน เข้าใจชีวิต รู้จักให้อภัย
_______ 6. ไวต่อความรู้สึก ความต้องการและปฏิกิริยาของผู้อื่น
_______ 7. จริงใจต่อคนทุกคน รวมทั้งตัวเอง
_______ 8. รู้จักเชื่อมั่นและรู้สึกในคุณค่าของตนเอง
_______ 9. มีความรับผิดชอบ รักษาสัญญา
_______ 10. สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้
_______ 11. มองโลกในแง่ดี
_______ 12. มีอารมณ์ขัน
_______ 13. ยืดหยุ่น
_______ 14. อดทน
_______ 15. มองและคิดลึก ละเอียด กว้างขวาง ( perspective )
_______ 16. เที่ยงตรง ยุติธรรม ไม่ลาเอียง
_______ 17. มีจริยธรรม (รักษาความลับ)
_______ 18. มีพรหมวิหาร 4 (เมตตา กรุณา มุติตา อุเบกขา)
_______ 19. ฉลาด มีไหวพริบ
_______ 20. มีความรู้ ประสบการณ์ในการให้คาปรึกษา และพัฒนาตนเองตลอดเวลา
13
 มาเพื่อระบาย
 มาเพื่อขอข้อมูล
 มาเพื่อต้องการพึ่งพา
ข้อพึงระวัง ในกระบวนการให้คาปรึกษา สิ่งที่พึงระวังไม่ให้เกิดคือ การมี อคติ
อคติ หมายถึง ความลาเอียง มี 4 อย่าง
1. ลาเอียงเพราะ รัก
2. ลาเอียงเพราะ โกรธ
3. ลาเอียงเพราะ เขลา
4. ลาเอียงเพราะ กลัว
การเกิดอคติ
1. ขัดต่อความเชื่อส่วนตัว ขัดต่ออุดมคติ ขัดต่อศีลธรรมในใจ
2. เป็นเรื่องที่ถูกใจ/ไม่ถูกใจ
3. การเลี้ยงดู
ผลของอคติต่อการให้คาปรึกษา
1. ไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้
2. สะกัดกั้นความรู้สึกเป็นกลาง ทั้งต่อตัวผู้รับบริการและปัญหา(ทาให้การมองปัญหาผิดพลาด)
ลักษณะของการมารับคาปรึกษา
1. กาย
2. จิต
3. สังคม
4. เศรษฐกิจ
5. ชีวิตครอบครัว
6. ชีวิตการงาน
7. ชีวิตส่วนตัว
8. ชีวิตสังคม
ด้านต่าง ๆของการมารับคาปรึกษา
1. ตัวเราเอง
2. ใครก็ได้ที่เราเป็นกลางไม่ได้(ผู้ที่มีหัวอกเดียวกัน)
3. ผู้ป่วยโรคจิต/ปัญญาอ่อน
4. เด็กที่ยังมองไม่เห็นนามธรรม(ยังไม่มีวุฒิภาวะ
พร้อม)
บุคคลที่เราให้คาปรึกษาไม่ได้คือ
Bias (อคติ)
เกิดได้ทั้งต่อบุคคล เรื่องราว สถานที่
14
วิธีลบล้างอคติ
1. รู้จักตนเอง เข้าใจตนเอง
2. มองคนอื่นในแง่ดี ให้เกียรติ ให้โอกาส
3. เดินทางสายกลาง
4. เอาใจเขามาใส่ใจเรา(ไม่ใช่เอาใจเราไปใส่ใจเขา)
5. เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์(มีคนดีและคนไม่ดีปะปนกันไป)
6. มีใจเป็นพรหม (พรหมวิหาร 4) (เมตตา กรุณา มุติตา อุเบกขา)
กระบวนการให้คาปรึกษาประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ
เป็นการเริ่มการสนทนาด้วยบรรยากาศที่อบอุ่น มีไมตรี ยิ้มแย้มแจ่มใส ผู้ให้บริการคาปรึกษาจะทักทาย
เรื่องทั่ว ๆ ไปเพื่อให้ผู้รับบริการคาปรึกษาเกิดความสบายใจ ผ่อนคลาย ลดความตื่นเต้นและความอึดอัดใจ ทาให้
ผู้รับการปรึกษา สามารถเริ่มเล่าเรื่องความไม่สบายใจโดยไม่ลาบากใจ ด้วยการต้อนรับตามมารยาทสังคมนั้น
แล้วแต่ทักษะของแต่ละคน และควรมีการตกลงบริการ เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับผู้รับบริการทราบถึง
วัตถุประสงค์ของการบริการคาปรึกษาและบทบาทของทั้งผู้ให้และผู้รับคาปรึกษา
ขั้นตอนที่ 2 การสารวจปัญหา
ขั้นตอนนี้ลงลึกสู่จิตใจผู้รับบริการมากกว่าขั้นตอนแรก เพื่อดูว่าสิ่งใดเป็นข้อสงสัย ความยากลาบาก
ปัญหาเป็นปัญหาด้านใด มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับบริการสารวจรู้ปัญหาของตัวเอง รู้ว่าอะไรเป็นปัญหาอะไรไม่
เป็นปัญหา
ขั้นตอนที่ 3 เข้าใจปัญหา เข้าใจสาเหตุ เข้าใจความต้องการ
เป็นการช่วยให้ผู้รับบริการเข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการของตนเอง ให้ผู้รับบริการสามารถ
เปลี่ยนแปลงแก้ปัญหาของเขาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องใช้ทักษะต่าง ๆ เพื่อเอื้ออานวยและ
กระตุ้นให้ผู้รับบริการคาปรึกษาใช้ศักยภาพของตนที่มีอยู่สารวจปัญหา ความต้องการของตนเอง ซึ้งขั้นตอนนี้จะ
ใช้ระยะเวลามากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับพื้นฐาน สติปัญญา ความสามารถและลักษณะนิสัยของผู้รับการปรึกษาด้วย
องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา
15
ขั้นตอนที่ 4 การวางแผนแก้ปัญหาและการนาไปปฏิบัติ
เป็นขั้นตอนที่ทาให้ผู้รับบริการคาปรึกษารู้เป้าหมายและวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับตัวเองและลงมือ
ปฏิบัติให้เกิดพฤติกรรมใหม่ โดยผู้ให้บริการคาปรึกษาคอยให้การสนับสนุน ให้กาลังใจ ผู้ให้บริการคาปรึกษาต้องไม่
เร่งรีบและด่วนตัดสินใจ จัดการปัญหาของผู้รับการปรึกษาเสียเองทั้งหมด ควรให้ผู้รับบริการคาปรึกษาได้
พิจารณา ความเหมาะสมและหาทางแก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่ดีที่สุดของตัวเอง
ขั้นตอนที่ 5 การยุติกระบวนการให้คาปรึกษา
เป็นขั้นตอนที่ผู้ให้บริการคาปรึกษา ให้สัญญาณแก่ผู้รับบริการได้รู้ตัวก่อนว่าหมดเวลาของการให้
คาปรึกษาแล้วและเปิดโอกาสให้ผู้รับการปรึกษาได้สรุปสิ่งต่าง ๆ ที่ได้พบกันในครั้งนี้ หากผู้รับบริการคาปรึกษา
สรุปยังไม่ครบ ผู้ใบริการคาปรึกษาสามารถช่วยได้ พร้อมกันนี้ควรให้กาลังใจในการปฏิบัติแก้ไขปัญหาในกรณีที่
จาเป็นต้องส่งต่อให้ไปพบกับผู้เชี่ยวชาญอื่น ๆ จะต้องทาความเข้าใจกับผู้รับบริการอย่างชัดเจน แต่ถ้าไม่มีการส่ง
ต่อผู้ให้บริการคาปรึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้รับการปรึกษาทราบว่าสามารถพบได้ในครั้งต่อไปเมื่อไหร่ พร้อมนัด
หมายวัน เวลา ที่เหมาะสม ก่อนจากกันควรชวนสนทนาเล็กน้อยในเรื่องทั่ว ๆ ไปและกล่าวคาอาลา
ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ
วัตถุประสงค์ เป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ให้บริการคาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษา(เพื่อให้เกิดความ
ร่วมมือ)
1. First Impression (สีหน้าแรกพบ)
2. Small talk (กล่าวทักทาย/กล่าวต้อนรับ)(คุยเรื่องทั่ว ๆไป)
3. ตกลงบริการ (สรุปประเด็นที่จะพูดคุยกัน) (ตกลงเรื่องเวลา)
องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา
เราเป็นฝ่าย
เข้าไปหาเขา
เขาเป็นฝ่ายเข้ามา
หาเรา
- น้องมีเรื่องอะไรที่อยากคุยกับพี่มั้ย
- น้องมีเรื่องไม่สบายใจอะไรที่พี่พอจะช่วยเหลือได้บ้างมั้ย
- สังเกตดูท่าทางของน้องแล้ว รู้สึกไม่สบายใจเลย มีอะไรในใจพอที่จะเล่าให้พี่ฟังได้บ้างมั้ย พี่
ยินดีรับฟัง ถ้าช่วยอะไรได้พี่จะช่วยเต็มที่
- สรุปแล้วเรื่องนี้เป็นเรื่องที่เราจะคุยกันใช่มั้ย
- น้องพอจะมีเวลาซัก…………..นาทีมั้ย
16
- ต้อนรับ ทักทาย เห็นถึงการมา
- ยิ้มแย้มแจ่มใส ยินดีที่ได้เจอ ไม่เบื่อ
- ทาให้เขารู้สึกสบายใจ ไม่เครียด ที่จะคุยกับเรา
- แนะนาตัวเอง (เพื่อเป็นการให้เกียรติเขา)
- ถามชื่อเขา
- พูดคุยเรื่องทั่วๆไป (social conversation)
- สังเกต (จากท่าทาง สีหน้า แววตา น้าเสียง) (ดูอารมณ์ ดูความรู้สึก)
ขั้นตอนที่ 2 สารวจปัญหา
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้รับบริการคาปรึกษาเล่าเรื่อง/เล่าปัญหาและปัจจัยต่าง ๆที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เขาได้เห็นถึง
สาเหตุของปัญหา
การสร้างสัมพันธภาพ
องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา
ใช้คาถามเปิด
ให้เขาเล่าเรื่อง
ใช้คาถาม
กระตุ้นให้พูด
- ลองเล่าให้พี่ฟังซิว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร
- พี่อยากให้น้องเล่า/พูดออกมาเท่าที่น้องเล่า/พูดได้ แต่ถ้าการพูดคุยของเราในวันนี้/ครั้งนี้ น้องเล่า/
พูดออกมาน้อย ไม่เป็นความจริง พี่ก็จะช่วยน้องได้ไม่เต็มที่ เราอาจมองกันคนละประเด็น มอง
สาเหตุของปัญหาผิด ซึ่งก็จะทาให้การช่วยเหลือผิดตามไปด้วย/ ไม่ตรงกับความต้องการของน้อง
น้องไม่ต้องห่วงนะ เรื่องที่เล่ารับรองพี่จะเก็บไว้เป็นความลับ
17
ขั้นตอนที่ 3 เข้าใจปัญหา เข้าใจสาเหตุ เข้าใจความต้องการ
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้รับบริการคาปรึกษา เกิดความชัดเจนในตนเอง และเข้าใจถึงปัญหานานัปการ ที่กาลัง
เผชิญอยู่ (เข้าใจถึงสาเหตุ และเข้าใจถึงความต้องการ)
องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา
รู้ให้ได้ว่า ปัญหาอยู่ที่ไหน
1. อารมณ์
2. ความเชื่อ
3. ทักษะ
4. การสื่อสาร
ถ้ามีหลายปัญหา เอาปัญหาที่เร่งด่วน / ปัญหาที่เป็นปัญหาหลักขึ้นมาพูดคุยก่อน
ปัญหาถ้าเกิดจากพื้นฐานของคน ๆ นั้นเองจะแก้ไข ถ้าไปเกี่ยวกับบุคคลที่ 2
บุคคลที่ 3 สิ่งแวดล้อม จะแก้ได้ยาก
18
ขั้นตอนที่ 4 วางแผนแก้ไข
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการคาปรึกษา
องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา
- พิจารณาทางออก (แต่ละวิธีมีข้อดีข้อเสียอย่างไร)
- ตัดสินใจเลือก (เลือกทางออกที่เป็นไปได้สุด)
- สิ่งที่ต้องปฏิบัติต่อไป (ให้ผู้รับบริการสรุปให้เราฟัง)
การวางแผนแก้ไขเปลี่ยนได้ 3 ทาง
1. เปลี่ยนสถานะการณ์
2. เปลี่ยนพฤติกรรม
3. เปลี่ยนแนวคิด
เทคนิคการถาม
- เคยคิดหรือทาหรือหาทางแก้ไขเรื่องนี้บ้างหรือไม่/อย่างไร
19
ขั้นตอนที่ 5 ยุติบริการ
วัตถุประสงค์ เป็นการสรุปและยุติการปรึกษาเพื่อย้าถึงความรู้ ความเข้าใจที่เกิดขึ้นระหว่างการให้คาปรึกษา
และให้ผู้รับคาปรึกษาได้แรงจูงใจและกาลังใจในการพัฒนาตนเอง
องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา
ยุติเฉพาะครั้ง - มีทางแก้ไขไปทดลองปฏิบัตินัดหมายมาพบ 
ให้คาปรึกษาเพิ่มเติม  ประเมินผล มาบอกถึงความก้าวหน้า
ยุติCase /ปิด Case - ในกรณีช่วยตัวเองได้/แก้ปัญหาได้/อยู่รอดได้ด้วยตนเอง
- ส่งสัญญาณว่าหมดเวลาแล้ว เช่นดูนาฬิกา
- เอาละเราคุยกันมานาน …….. นาทีแล้วคุณคงได้แนวทางบ้างหากกลับไปคราวนี้คุณยัง
เกิดความไม่สบายใจอีกอยากกลับมาพูดคุยกันใหม่อีกก็ได้
- สรุปวันนี้เราคุยกันเรื่อง…………….โดยจากการคุยกันเรื่อง…………..ของคุณมีสาเหตุมา
จาก……………..โดยคุณต้องการ………………ซึ่งเราได้หาทางร่วมกัน
คือ………………………………
- น้องรู้สึกอย่างไรบ้าง คิดว่าจะทาได้มั้ย เอาใจช่วยนะ หลาย ๆคนมาด้วยอาการหนักใจ
อย่างน้อง แต่พอเขาได้ลองใช้ศักยภาพของตัวเองลองทาดู เขาก็ทาได้พี่ก็คิดว่าน้องต้อง
ทาได้แน่นอน
20
การฟัง - Ladder
การทวนความ - ทวนทุกคาพูด/ทวนเฉพาะส่วนที่สาคัญ/ทวนแบบสรุปความ
การสะท้อนความรู้สึก - จากคาพูด/จากพฤติกรรม
การสรุปความ - ผู้ให้คาปรึกษาสรุป/ผู้รับคาปรึกษาสรุป/ทั้งผู้ให้และผู้รับคาปรึกษาช่วยกันสรุป
การตั้งคาถาม - ปลายเปิด/ปลายปิด
การเลือกประเด็น - เลือกจากจุดที่สนใจ (เน้นปัจจุบัน/เน้นตัวผู้รับบริการคาปรึกษา/เน้นประเด็นที่ผู้รับ
บริการพูดเอง)
การตีความ - เปิดการอธิบายพฤติกรรม ความคิด ความรู้สึก ที่มาจากตัวผู้รับบริการคาปรึกษา เพื่อ
ยืนยันความถูกต้อง
การให้กาลังใจ - ด้วยคาพูด/ท่าทาง
การให้ข้อมูล/คาแนะนา - เพื่อให้เขารับรู้มากขึ้น(เพื่อตัดสินใจด้วยตัวเขาเอง)/ ชี้แจงให้ปฏิบัติ
การพิจารณาทางเลือก - พิจารณาข้อดี ข้อเสียให้รอบคอบ (ผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของตนเอง/สุขภาพ/
เศรษฐกิจ/สังคม/กฎหมาย/ศีลธรรม)
การเงียบ - ของผู้ให้คาปรึกษา เป็นการให้กาลังใจและให้โอกาสเขาได้พูด
- ของผู้รับคาปรึกษา เงียบเพื่อคิด เพื่อพักเมื่อพูดจบ/ต่อต้าน ปฏิเสธ ตาหนิ
การปิด Case - ยุติบริการ/ปิดชั่วคราว
การติดตามเรื่อง - โดยใช้คาพูด คาถาม ที่สอดคล้องที่จะให้เขาสนทนาในเรื่องที่เขาพูดต่อไป
การสังเกตุ - ทาให้เขาเข้าใจผู้รับคาปรึกษามากขึ้น สังเกตภาษากาย/ภาษาพูด(น้าเสียง ถ้อยคา)
เทคนิคต่าง ๆในขบวนการให้คาปรึกษา
21
ทักษะการปรึกษาสามารถจาแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเบื้องต้นและกลุ่มเบื้องลึก
กลุ่มเบื้องต้น มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้รับการปรึกษาทักษะย่อยที่ใช้ ได้แก่
การฟัง การตั้งคาถามเปิด-ปิด การทบทวนคาพูด การสะท้อนความรู้ การทาให้กระจ่าง และการสรุป
กลุ่มเบื้องลึก มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมกระบวนการให้การปรึกษาบรรลุเป้าประสงค์ ซึ่งประกอบด้วยการทาให้ผู้รับ
การปรึกษามีความเข้าใจปัญหาและตนเองมากขึ้น ทักษะที่ใช้คือการท้าทายและการแปลความ
การสร้างสัมพันธภาพ
ตกลงบริการปรึกษา
สารวจปัญหา
ยุติบริการคาปรึกษา
วางแผนแก้ไขปัญหา
- การทักทาย
- การพูดคุย
- การใส่ใจ
- การเปิดประเด็น
- การตกลงบริการ
- การฟัง
- การทวนความ
- การถาม
- การเงียบ
- การสรุปความ
- การสะท้อนความรู้สึก
- การติดตามเรื่อง
ทาความเข้าใจปัญหาสาเหตุความต้องการ
- การสรุปความ
- Focusing (การเลือกประเด็น)
- Clarification (การพิสูจน์ความถูกต้องของ
ข้อมูล)
- การปิดCase
- การยุติบริการ
- การให้กาลังใจ
- การสรุปความ
- การส่งต่อ
- การติดตาม
- การให้ข้อมูล
- การแนะนา
- การให้กาลังใจ
- การพิจารณาทางเลือก
22
เทคนิคการให้คาปรึกษา
ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องฝึกการใช้เทคนิคการให้คาปรึกษา เพื่อให้คาปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.การเริ่มต้นให้คาปรึกษา (Opening the interview)
ในระยะแรกผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษา อาจยังมีความรู้สึกใหม่ต่อกัน ผู้ให้คาปรึกษาต้องสร้าง บรรยากาศที่
ดี (Rapport) ให้รู้สึกผ่อนคลาย อบอุ่น เป็นกันเองและใช้คาถามเริ่มต้นการสนทนา ด้วยการทักทายด้วยเรื่อง
ทั่วๆไปก่อน เช่น “สวัสดี” “เชิญนั่งค่ะ” “คุณมีอะไรให้ช่วยเหลือบ้าง” “มากับใครค่ะ”
2.การตั้งคาถาม (Questioning)
การตั้งคาถามเพื่อให้ผู้รับคาปรึกษารู้และยอมรับตนเอง ควรเป็นคาถามลักษณะกลางๆและเป็นคาถามปลายเปิด
นอกจากผู้รับคาปรึกษามีปัญหาที่ไม่สามารถพูดได้หรือมีข้อจากัดในการพูด ลักษณะคาถามปลายเปิด เช่น “ลอง
เล่าให้ฟังถึงอาการของคุณ” “อะไรที่คุณคิดว่าเป็นปัญหาขณะนี้” “คุณต้องการให้พยาบาลช่วยเหลือคุณอย่างไร”
“คุณมีอาการนี้ตั้งแต่เมื่อไหร่”
3.การซักถามตรงๆ (Probing)
เป็นการตั้งคาถามตรงที่ปัญหาเพื่อถามข้อมูล จะใช้ได้ผลดีในกรณีผู้รับคาปรึกษาเลี่ยงกล่าวถึงจุดสาคัญของปัญหา
แต่จะต้องระมัดระวังไม่ใช้ฟุ่มเฟือย จะทาให้สัมพันธภาพล้มเหลวได้ เช่น“สิ่งที่ทาให้คุณเครียดขณะนี้คือเรื่อง...”
“เพื่อนที่คุณพูดถึงคือแฟนของคุณ”
4.การเสนอแนะ (Suggestion)
ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องหาวิธีการที่ส่งเสริมให้ผู้รับคาปรึกษารู้จักนาตนเอง มีวินัยในตนเองและจัดการด้วยตนเอง
มากกว่าการเสนอปัญหาให้โดยตรง เช่น “จากอาการที่คุณเล่าคุณเคยคิดจะไปตรวจดูบ้างไหม” “คุณมีน้าหนักตัว
ค่อนข้างมากคุณคิดจะควบคุมอาหารบ้างไหม” “คุณต้องการกาลังใจจากครอบครัวหรือจากบุคคลอื่นๆ”
5.การตีความหมาย (Interpretation)
การแปลความหมายหรือการตีความของเนื้อหาคาพูดหรือพฤติกรรมที่ผู้รับคาปรึกษาแสดงออกโดยการบอกถึงสิ่งที่
กาลังเกิดขึ้นในขณะนั้น เพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับให้ผู้รับคาปรึกษาทราบแต่ควรใช้เทคนิคนี้อย่างระมัดระวัง ซึ่ง
อาจจะแปลความหมายผิดไป แล้วผู้รับบริการอาจไม่ยอมรับก็ได้ ตัวอย่างเทคนิคนี้ เช่น
ผู้รับคาปรึกษา : ต้องมีคนคอยบอกว่าหนูต้องเรียนอะไร ใส่เสื้อตัวไหน เหมือนกับว่าหนูอยากตัดสินใจเองแต่หนูทา
ไม่ได้ หนูอยู่ ม.6 แล้ว แต่ยังเลือกสาขาเรียนต่อยังไม่ได้
ผู้ให้คาปรึกษา : เป็นไปได้ไหมว่า คุณไม่เคยฝึกตัดสินใจด้วยตนเองและต้องคอยให้มีคนช่วยตัดสินใจให้
23
6.การเงียบและการฟัง (Silence and Listening)
ความเงียบจะช่วยให้ผู้ให้คาปรึกษาและ ผู้รับคาปรึกษามีโอกาสรวบรวมความคิด ทบทวนสิ่งที่พูดมาแล้วและคิดที่
จะพูดต่อไป อาจใช้ความเงียบเพื่อให้โอกาสผู้รับคาปรึกษาแสดงอารมณ์ออกมา และหลังจากที่ใช้ความเงียบแล้ว
ผู้ให้คาปรึกษาพูดว่า “คุณรู้สึกอย่างไร” เพื่อช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาพิจารณาตนเองอีกครั้ง การฟังอย่างตั้งใจ
(Active listening) โดยสนใจทั้งคาพูดและพฤติกรรม ตลอดจนความสอดคล้องของเนื้อหาคาพูดและพฤติกรรม
โดยปราศจากการโต้แย้ง วิพากษ์วิจารณ์ ตัดสินหรือมีอคติพฤติกรรมที่บ่งชี้ถึงการฟังอย่างตั้งใจ ได้แก่ การประสาน
สายตา การนั่งโน้มตัวไปข้างหน้า การพยักหน้า หรือใช้คาพูดที่บ่งบอกว่ารับรู้ เช่น ค่ะ ครับ อึมม์… เป็นต้น
ลักษณะของการฟังอย่างตั้งใจ ได้แก่ การประสานสายตาผู้รับคาปรึกษา โดยไม่จ้องมากไป การพยักหน้า การยิ้ม
รับ การมาพบตรงเวลานัดหมาย การตั้งใจฟังโดยไม่พูดสอดแทรกการตั้งคาถามหรือเปลี่ยนประเด็น
7.การให้ความกระจ่าง (Clarification)
เป็นเทคนิคที่ผู้ให้คาปรึกษาพยายามสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของผู้รับคาปรึกษา โดยสรุปคาพูดเรื่องราวและสิ่งที่
สังเกตได้ให้ผู้รับคาปรึกษากระจ่างและเข้าใจในปัญหาของเขา เช่น
ผู้รับคาปรึกษา : สุขภาพตอนนี้ย่าแย่เหลือเกิน
ผู้ให้คาปรึกษา : คุณอธิบายเพิ่มเติมว่าสุขภาพตอนนี้ย่าแย่เป็นอย่างไร
8.การแสดงความเห็นชอบ (Approval)
เป็นเทคนิคที่ส่งเสริมสนับสนุนหรือให้กาลังใจแก่ผู้รับคาปรึกษาในการคิดและตัดสินใจ เช่น “การที่คุณได้ทาตามที่
พยาบาลแนะนาเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว” ถ้าผู้ให้คาปรึกษาไม่เห็นด้วยจะต้องวางตัวเป็นกลางและใช้วิธีอื่นต่อไป เช่น
การเสนอแนะ เป็นต้น
9.การให้ความมั่นใจ (Assurance)
เป็นการให้ความมั่นใจแก่ผู้รับคาปรึกษาในการเลือกและตัดสินใจในเรื่องราวของตน เช่น “การที่คุณตัดสินใจการ
ควบคุมอาหารจะทาให้น้าหนักดีขึ้น” “หากคุณปฏิบัติตัวตามที่บอกอาการของคุณจะทุเลาลง”
10.การย้าให้เกิดความมั่นใจ (Reassurance)
เป็นการย้าและให้กาลังใจแก่ผู้รับคาปรึกษา เพื่อลดความเครียดความกังวลใจ เช่น “น่าจะเป็นการดี ถ้าคุณรู้
สาเหตุของเรื่องนี้คุณคงสบายใจขึ้น”
11.การสะท้อนความรู้สึก (Reflection of feeling)
เป็นการทาความเข้าใจข้อความหรือคาพูดของผู้รับคาปรึกษา การช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาตระหนักในความรู้สึกของ
ตน เช่น “คุณรู้สึกท้อแท้ที่ประสบความล้มเหลวในชีวิตแต่งงาน” “คุณสบายใจเมื่อรับทราบผลการตรวจเลือด”
24
12.การสังเกต (Observation)
เป็นการสังเกตพฤติกรรม น้าเสียง สีหน้า ท่าทาง ในขณะสนทนา จะช่วยให้ผู้ให้คาปรึกษาสามารถเข้าใจความรู้สึก
และอารมณ์ของผู้รับคาปรึกษา ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจปัญหาของผู้รับคาปรึกษาเร็วขึ้น
13.การแนะนา ( Advising)
เป็นการให้คาชี้แนะโดยตรงเพื่อช่วยแก้ปัญหาโดยอาศัยความรู้ ทักษะและประสบการณ์ของผู้ให้คาปรึกษาเอง เช่น
“คุณควรจะบอกอาการของคุณให้สามีทราบเพื่อจะได้ช่วยเหลือคุณได้”“คุณควรปรึกษาแพทย์เฉพาะทางดูก่อน
นะ”
14.การกระตุ้นให้กาลังใจ (Encouragement)
มักใช้กับผู้ที่ขาดความมั่นใจว่าจะทากิจกรรมต่างๆได้ อาจยกตัวอย่างหรือสถานการณ์ที่เขาเคยทาได้สาเร็จ
ประกอบ เช่น “จากการทางานที่ผ่านมา ฉันคิดว่าคุณต้องทาได้” “ผลการตรวจไขมันในเลือดเมื่อเดือนมกราคม
คุณสามารถควบคุมระดับเลือดได้และครั้งต่อไปดิฉันคิดว่าคุณสามารถควบคุมได้อีก”
15.การท้าทาย (Challenge)
เป็นวิธีการที่ค่อนข้างเสี่ยง ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องมั่นใจในสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษาเป็น
อย่างดีแล้ว เช่น “คุณเคยบอกว่าจะออกกาลังกายหลายครั้งแล้ว แต่คุณยังไม่เริ่มทาเลย” “คุณไม่สนใจดูแลลูก
ของคุณ แล้วคุณจะแก้ปัญหาลูกคุณได้หรือ”
16.การให้ข้อมูล (Giving information)
การให้ข้อมูลสามารถกระทาได้เมื่อผู้รับคาปรึกษา เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เช่น การปฐมนิเทศการรับการ
รักษาในหอผู้ป่วย การแนะนาตัวของผู้ให้คาปรึกษา รวมทั้งเป้าหมายที่เข้ามาพูดคุยกับผู้รับคาปรึกษา การให้
การปรึกษา หากมีการเปลี่ยนแปลง ต้องแจ้งให้ผู้รับคาปรึกษาล่วงหน้า ผู้ให้คาปรึกษาควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
เนื้อหาที่ผู้รับคาปรึกษาพูด การละเทศะและบุคคล ตลอดจนพื้นฐานทางสังคม เพื่อให้การใช้เทคนิคมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลสูงสุด
25
1. ประวัติส่วนตัวทั่วไป ครอบครัว ความสัมพันธ์ พฤติกรรมเสี่ยง บุคลิกภาพทั่วไป
2. ปัญหาที่นามา(Presenting Problem)
3. ปัญหาที่แท้จริง (Underlying Problem or Real Problem )
4. สาเหตุของปัญหา และความต้องการในการแก้ปัญหา
5. การวางแผนแก้ไขปัญหา ศักยภาพในการแก้ไขปัญหา ปัจจัยเกื้อหนุน และแรงจูงใจ
6. แนวทางการช่วยเหลือ การนัดครั้งต่อไป
7. ความก้าวหน้าในการแก้ปัญหา
8. ข้อสังเกตของผู้ให้บริการคาปรึกษาต่อผู้รับคาปรึกษาในแต่ละครั้ง
1. เป็นหลักฐานการต่อเรื่องติด
2. เป็นกรณีศึกษา (Case study)
3. เพื่อประโยชน์ในการส่งต่อ (Refer case)
4. เพื่อประโยชน์ในการวิจัยหรือเก็บข้อมูล
ความสาเร็จของขบวนการให้คาปรึกษา
1. สามารถทาให้ผู้รับบริการคาปรึกษาเข้าใจปัญหาและเข้าใจตนเอง
2. ปรึกษาจบโดยมีแนวทางแก้ไขปัญหาที่เห็นดีด้วยกันทั้งสองฝ่าย
3. ผู้รับบริการคาปรึกษา สามารถเปลี่ยนพฤติกรรม/แนวคิด/สถานการณ์ ไปในแนวทางที่ดีขึ้น(เนื่องจากเข้าใจ
ตนเองและเข้าใจปัญหา)
4. ผู้รับบริการคาปรึกษา สามารถเลี่ยงการเกิดปัญหาซ้า
5. ผู้รับบริการคาปรึกษาพึงพอใจในผลการปรึกษา/ขบวนการให้คาปรึกษา
6. ผู้รับบริการคาปรึกษา และผู้ให้บริการคาปรึกษามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน (ยังคงติดต่อกับผู้ให้บริการคาปรึกษา
เป็นครั้งคราว หรือพาผู้ประสบปัญหาอื่น ๆมาพบผู้ให้คาปรึกษา เป็นต้น)
ปัจจัยที่ทาให้คาปรึกษาไม่ประสบความสาเร็จ
1. เหตุการณ์
2. สภาพแวดล้อม
3. ตัวผู้รับบริการคาปรึกษาเอง
การบันทึกคาปรึกษา
ประโยชน์ของการบันทึก
การประเมินผลคาปรึกษา
26
พูดอย่างไรเรียกว่าพูดดี
1. พูดตรง ๆไม่บวกอารมณ์(ไม่ดีเข้าไป)
2. พูดอย่างเปิดเผย ไม่มีจุดมุ่งหมายแอบแฝง
3. อย่าพูดลงความเห็นตายตัว ก่อนมีหลักฐานที่แน่นอน
4. อย่าพูดทานองว่าตัวเองอยู่เหนือใครสูงกว่าใคร
5. อย่าพูดให้เกิดความเสียหาย 4 ประการ
- เสียหน้า
- เสียใจ
- เสียความรู้สึก
- เสียหาย
การพูด
สาเหตุของการพูดไม่เพราะ
1. ปากมันเคย
2. มีทัศนคติไม่ค่อยดีต่อคนที่อยากพูดด้วย
3. โดนด่า/โดนว่าก่อน
4. นิสัยถาวร
5. มีอาการทางประสาท
6. ขาดการอบรม
27
การฟังอย่างใส่ใจ (Ladder)
L = Look = มองประสานสายตา ตั้งใจฟัง มีสติและพยายามจับประเด็นสาคัญในปัญหาของผู้รับการ
ช่วยเหลือ
A = Ask = ซักถามในจุดที่ส่งสัยในประเด็นปัญหาและแกะรอยตามประเด็นปัญหาของผู้รับการ
ช่วยเหลือ
D = Don’Interrupt = ไม่แทรกหรือขัดจังหวะถ้าในกรณีผู้รับการช่วยเหลือพูดวกวน พูดมากให้ใช้การ
สรุปประเด็นปัญหาเป็นช่วง ๆเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
D = Don’t change the subject = ไม่เปลี่ยนเรื่องให้แกะรอยตามประเด็นปัญหาของผู้รับการ
ช่วยเหลือไปในแต่ละประเด็น ไม่เปลี่ยนเรื่องไปมา
E = Emotion = ใส่ใจการแสดงออกทางอารมณ์ของผู้รับการช่วยเหลือทั้งภาษาพูดและ
ภาษาท่าทาง
R = Response = แสดงสีหน้าท่าที ท่าทางตอบสนอง
การฟัง
เทคนิคการฟัง
1. ฟังเรื่องราวที่แสดงความรู้สึก
- ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
- ต่อตนเองเมื่อเกี่ยวข้อง
- ต่อบุคคลเมื่ออยู่ในเหตุการณ์
เทคนิคการฟัง
ฟังด้วยหู = ได้ยิน
ฟังด้วยตา = รู้ถึงสภาพอารมณ์ในขณะนั้น
ฟังด้วยใจ = รู้ถึงสภาพความรู้สึกในขณะนั้น
28
Motivation Counseling : การปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ
เป็นความยากโดยธรรมชาติ ...ที่จะทาให้คนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ถ้าไม่ได้มาจากความตัองการของเขาเอง...ความ
น่าสนใจของ Motivation Counseling คือ สามารถตอบโจทย์ กลุ่มที่ต้องการปรับพฤติกรรมได้ การให้คาปรึกษา
แบบนี้เป็นทางออกที่ดี เพราะมีหลักการในการพิจารณา 8 ข้อ ที่จะจูงใจพวกเขาสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่า..นั่นคือ
หลักการ
A B C D E F G H ...จาง่ายเพราะเรียงกันมาเลย ..ผู้ให้คาปรึกษาควรจะ..
A= avice แนะนา ชัดเจน ชี้ให้เห็นทิศทางการเปลี่ยนแปลง และเห็นอันตรายหากยังคงกระทาแบบเดิม
B= barrier ลดอุปสรรค หรือกาจัดอุปสรรคในตัวเขา
C= Choices พร้อมทั้งเสนอทางเลือก ให้เขาเปลี่ยนแปลงด้วยตนเอง
D= desire เพิ่มเติมความต้องการ (รอให้เขาสนใจอยากรู้จริงๆ)
E = empathy เห็นอกเห็นใจ
F = feedback วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ ว่าพฤติกรรมที่เป็นอยู่เสี่ยงอย่างไร
G= goal เน้นเป้าหมายชัดเจน ขอเวลา..ความมั่นใจ
H = help ช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น
เป็นอันว่า...เสร็จพิธี..สาหรับผู้ที่จะให้คาปรึกษาแบบนี้....อาจสับสนเล็กน้อยว่า..ผู้ให้คาปรึกษาที่ดีมักไม่นาทาง..
ผู้รับคาปรึกษาต้องตัดสินใจเอง..แต่..แบบสร้างแรงจูงใจนี้..กลับด้านเล็กน้อยคือเราต้องสร้างต้องเน้น ต้อง
motivate เพื่อเป็นแรงจูงใจ..ให้เขาเหล่านั้นก้าวเดิน..
29
แบบบันทึกกระบวนการให้คาปรึกษา
ขั้นตอนที่ 1.สร้างสัมพันธภาพ ขั้นที่ 5. ยุติบริการ
ตกลงบริการ
ขั้นตอนที่ 2. สารวจปัญหา ขั้นที่ 4. วางแผนแก้ไข
ขั้นตอนที่ 3.หาเหตุแห่งปัญหา ทาความเข้าใจ
1 10
ความรู้
อารมณ์ความรู้สึก
การปฎิบัติ
30
ลักษณะของปัญหา เทคนิคในการแก้ปัญหา
1. ขาดความรู้ การให้ข้อมูล
2. ปัญหาด้านอารมณ์ความรู้สึก การให้กาลังใจ / การสนับสนุน (Support)
3. ปัญหาในการปฏิบัติ
- ไม่สามารถตัดสินใจเลือก สร้างและร่วมพิจารณาทางเลือกและ
ทางปฏิบัติได้ผลที่ตามมา
- ไม่รู้แนวปฏิบัติ การเสนอแนะ
- ขาดทักษะในการสื่อสาร การฝึกทักษะ
31
แบบประเมินปัญหาด้านสังคมจิตใจ
1. คุณมีปัญหาหนักใจกลุ้มใจหรือไม่อย่างไร
 ไม่มี
 มี
 ไม่มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิต
 มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตแต่สามารถแก้ไขเองได้
 มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตมากและต้องการความช่วยเหลือ
 มีผลกระทบรุนแรงไม่สามารถทนต่อไปได้
2. ให้ระบุปัญหาที่มีผลกระทบต่อตัวท่านมากที่สุด ( ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ )
2.1 ปัญหาเกี่ยวกับการทางาน
2.2 ปัญหาเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียน
2.3 ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
2.4 ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางสังคม
2.5 ปัญหาเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย
2.6 ปัญหาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและฐานะ
2.7 ปัญหาสัมพันธภาพกับครอบครัว
2.8 ปัญหาของสมาชิกในครอบครัว
2.9 อื่น ๆ
3. ท่านต้องการใช้บริการปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวหรือไม่
 ต้องการ  ไม่ต้องการ
4. ความช่วยเหลืออื่น ๆ ที่ท่านต้องการ
..............................................................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................................................
32
อ้างอิง
ดวงมณี จงรักษ์, 2549. ทฤษฎีการให้การปรึกษาและจิตบาบัดเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ส.ส.ท.
นิรันดร์ จุลทรัพย์. 2539. เอกสารคาสอนวิชาการแนะแนวเบื้องต้น. โครงการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนคริ
นทรวิโรฒ ภาคใต้.
วัชรี ทรัพย์มี. 2531. การแนะแนวในโรงเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วัชรี ทรัพย์มี. 2549. ทฤษฎีให้บริการปรึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จินตนา สิงขรอาจ. การให้คาปรึกษา (Counselling) : จิตเวชศาสตร์สาหรับนักศึกษาแพทย์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2546 ;329-336
ณัทธร พิทยรัตน์เสถียร. Counseling : ตาราจิตเวชเด็กและวัยรุ่น เล่ม 2 ชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น.
2550;249-254
นงพงา ลิ้มสุวรรณ. การให้คาแนะนาปรึกษา : จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี พิมพ์ครั้งที่ 2 ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ
แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. 2548 ;381-392
ปริชวัน จันทรฺศิริ. การให้คาปรึกษา : ทักษะการสื่อสารเพื่อความเป็นเลิศด้านบริการทางการแพทย์ ศูนย์ฝึกอบรม
ทักษะการสื่อสาร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2551 ;13-24
มัฏฐวรรณ ลี้ยุทธานนท์. (2553). เอกสารประกอบการสอนวิชาการให้คาปรึกษาทางสุขภาพ. สุราษฎร์ธานี:
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
เอกสารประกอบการสอนเรื่อง การให้การปรึกษา (Counseling) ของดร.วัจนินทร์ โรหิตสุข ภาควิชาจิตเวชศาสตร์
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. 2544
เอกสารเรื่อง การให้คาปรึกษา (Counseling) ของจิราภา เวคะวนิชย์ นักจิตวิทยา หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมาร
เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
เอกสารเรื่อง Counseling technique สาหรับแพทย์ประจาบ้านและนักศึกษาแพทย์ โดยกลุ่มงานกุมารเวช
ศาสตร์
เอกสาร นพ. เทอดศักดิ์ เดชคง
เอกสารประกอบการสอนวิชาการให้คาปรึกษาทางสุขภาพ.
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น
ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น

More Related Content

Similar to ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น

หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
Suphol Sutthiyutthasenee
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
yana54
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
bussaba_pupa
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
Kiw E D
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
05102500
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
chanhom357
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
supap6259
 

Similar to ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น (20)

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
หลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdfหลักการนำเสนอ.pdf
หลักการนำเสนอ.pdf
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
องค์ความรู้การบริการวิชาการโครงการ “คืนคลองสวยใส ให้ชุมชนของเรา”
 
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียนUnit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
Unit1-2_คุณธรรมของครูและนักเรียน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์บทความการคิดแก้ปัญหา  ลงสไรแชร์
บทความการคิดแก้ปัญหา ลงสไรแชร์
 
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียนบทบาทบริหารกิจการนักเรียน
บทบาทบริหารกิจการนักเรียน
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 

ความรู้เทคนิคทักษะค่าย ย่อเท่าที่จำเป็น

  • 2. 2 คานา เอกสารค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาเสพติดตามหลักสูตรค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ศูนย์ขวัญ แผ่นดิน ชุดนี้ สานักงาน ป.ป.ส. ได้ดาเนินการ เพิ่มเติมขยายองค์ความรู้ เพิ่มเติมให้กับวิทยากรฯ มีเนื้อหาสอดรับ กับการทางาน ประกอบไปด้วยองค์ความรู้ เทคนิค ทักษะที่จาเป็น เพื่อให้การดาเนินงานเปนนปปอย่างมีคุภาาพ มากยิ่งขึ้น รวมถึงเปนนการ และสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดาเนินงานจัดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ศูนย์ขวัญ แผ่นดิน ให้กับวิทยากรกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ สามารถดาเนินงานปรับเปลี่ยนทัศนคติ ตลอดจนพฤติกรรมของผู้ เสพยาเสพติดได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สานักงาน ป.ป.ส. ขอขอบคุณคณะวิทยากร หน่วยงานภาคีและผู้เกี่ยวข้องทุกท่านที่ได้สนับสนุนข้อมูล ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดีเสมอมา และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเนื้อหาหลักสูตรค่าย ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผู้เสพยาเสพติดที่เพิ่มเติมนี้ จะเป็นเครื่องมือที่ใช้ช่วยในการดาเนินงานให้กับหน่วยปฏิบัติใน พื้นที่ต่างๆ เป็นอย่างดี สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการปรับเปลี่ยนแนวคิด ทัศนคติ ตลอดจนพฤติกรรมของผู้เสพ ยาเสพติดให้สามารถ ลด ละ เลิกยาเสพติดได้ เพื่อนาคนดีกลับคืนสู่สังคม เป็นขวัญของครอบครัว สังคม และเป็น กาลังสาคัญในการพัฒนาประเทศชาติสืบไป สานักงาน ป.ป.ส.
  • 3. 3 สารบัญ หน้า กระบวนการให้คาปรึกษา(Counseling) 1 - 29 การให้คาแนะนาแบบสั้น 30 - 33 เทคนิควิธีการเฉพาะของการสร้างแรงจูงใจ 34 - 43 Active Learning 44 - 48 กระบวนการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) 49 - 51 การบาบัดความคิดและพฤติกรรม (CognitiveBehavior Therapy : CBT) 52 - 59
  • 4. 4 การให้คาปรึกษา (Counseling) ความหมายของการให้คาปรึกษา การให้คาปรึกษา (Counseling) หมายถึง กระบวนการให้ความช่วยเหลือแก่ บุคคลที่ประสบปัญหาต่าง ๆ โดยผู้ให้คาปรึกษาเป็นผู้ช่วย ใช้เทคนิคการสื่อสาร เพื่อแสวงหาวิธีการช่วยเหลือให้ ผู้รับคาปรึกษาเกิดความรู้ ความเข้าใจถึงสาเหตุของปัญหาตามความเป็นจริง สามารถใช้ศักยภาพของตนเองในการ คิด การตัดสินใจ และหาทางเลือกที่เหมาะสมสาหรับตนเอง ซึ่งผู้ให้คาปรึกษาจะไม่ใช้ความคิดของตัวเองเป็นหลัก หรือชักจูงแนะนาวิธีการแก้ปัญหา กระบวนการให้คาปรึกษาจะเกี่ยวข้องกับสิ่งสาคัญ ๓ ประการ คือ ๑. ผู้ให้คาปรึกษา (Counselor) ๒. ผู้มาขอรับคาปรึกษา (Counselee, Client) ๓. กระบวนการ (Process) ของการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้ให้คาปรึกษากับผู้มาขอรับคาปรึกษา ทาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงในตัวผู้มาขอรับคาปรึกษา การให้คาแนะนา (Advising) เป็นกระบวนการให้ความช่วยเหลือบุคคล ซึ่งผู้เป็นที่ปรึกษานั้นจะเป็นผู้ ประเมินข้อมูลทาความเข้าใจ และชี้แนะแนวทางเพื่อช่วยแก้ปัญหาโดยตรง เพราะฉะนั้นจะเน้นการให้ข้อเสนอแนะ และคาแนะนาแก่ผู้ที่มาขอรับคาปรึกษา การทาจิตบาบัด (Psychotherapy) เป็นวิธีการรักษาผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางจิตใจหรือมีพยาธิ สภาพทางจิตโดยอาศัยความสัมพันธ์ระหว่างผู้รักษาและผู้รับการรักษาด้วยกระบวนการทางจิตวิทยา ช่วยให้ผู้รับ การรักษาเกิดความเข้าใจปัญหา สาเหตุของปัญหา หรือเข้าใจตนเอง เพื่อที่ผู้รับการรักษาจะได้ปรับตัวได้ดีขึ้น ในทางปฏิบัติเป็นการยากที่จะแยกCounseling และ Psychotherapy ออกจากกันอย่างเด็ดขาด เพราะมีความ คาบเกี่ยวกันอยู่ การให้คาปรึกษาคืออะไร การให้คาปรึกษา เป็นกระบวนการที่ผู้ให้และผู้รับบริการปรึกษามีปฏิสัมพันธ์กันโดยผู้ให้คาปรึกษาใช้ คุณสมบัติส่วนตัว ความสามารถและทักษะต่างๆ กระตุ้นให้ผู้รับคาปรึกษาได้สารวจตัวเองมีความเข้าใจ ปัญหาที่แท้จริง (มีความเข้าใจสาเหตุ ความต้องการ) จนกระทั่งสามารถหาวิธีการแก้ปัญหาได้ด้วย ศักยภาพของตนเอง
  • 5. 5 สรุป การให้คาปรึกษา เป็นการช่วยเหลือรูปแบบหนึ่ง ที่อาศัยความสัมพันธ์และการสื่อสาร ระหว่างผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับการ ปรึกษา เพื่อให้ผู้รับการปรึกษาเกิดความเข้าใจ ตนเอง เข้าใจปัญหา ได้ความรู้และทางเลือกในการแก้ปัญหานั้นอย่างเพียงพอมีสภาพ อารมณ์และจิตใจ ที่พร้อมจะคิดและตัดสินใจด้วยตัวเอง วัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา 1. เกิดแรงจูงใจที่จะให้ข้อมูล 2. เข้าใจและเห็นปัญหาของตนเอง 3. อยากแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง 4. ดาเนินการแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาตนเอง การให้คาปรึกษา เป็นขบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคลโดยอาศัยการสื่อสารแบบสองทางระหว่าง บุคคลหนึ่ง(ในฐานะผู้ให้การปรึกษา) ซึ่งทาหน้าที่เอื้ออานวยให้อีกฝ่ายหนึ่ง(ในฐานะผู้รับการปรึกษา) ได้ สารวจและทาความเข้าใจถึงสิ่งที่เป็นปัญหาและสามารถทาให้ผู้รับคาปรึกษาได้สารวจ และทาความ เข้าใจถึงสิ่งที่เป็นปัญหาและสามารถทาให้ผู้รับบริการปรึกษาแสวงหาหนทางแก้ไขปัญหาเหล่านั้นได้ด้วย ตนเอง การให้คาปรึกษา เป็นขบวนการให้การช่วยเหลือที่อาศัยสัมพันธภาพที่ดี ระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการโดย ผู้ให้บริการใช้เทคนิค และขั้นตอนต่าง ๆ ช่วยให้ผู้รับบริการเกิดการสารวจปัญหาของตนเอง รับรู้ เข้าใจ และร่วมมือกับผู้ให้บริการเพื่อดาเนินการแก้ไขปัญหานั้น
  • 6. 6 หลักการที่สาคัญในการให้คาปรึกษา เนื่องจากการให้คาปรึกษาเป็นกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่เป็นทั้งผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษา ต้องมี ระบบระเบียบ มีเทคนิควิธีในการเข้าใจ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ การช่วยเหลือ การวางแผน การตัดสินใจ การ เปลี่ยนแปลงในหลายด้านในตัวผู้รับคาปรึกษา ดังนั้นในการให้คาปรึกษาจึงจาเป็นต้องมีหลักการที่สาคัญ (สวัสดิ์ บรรเทิงสุข .2542) ดังนี้ 1. การให้คาปรึกษาตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่าผู้รับคาปรึกษาต้องการที่จะเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน 2. การให้คาปรึกษาตั้งอยู่บนพื้นฐานที่ว่าผู้ให้คาปรึกษาต้องได้รับการฝึกฝนเพื่อความชานาญงานมาก่อน 3. การให้คาปรึกษาเป็นการช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาสามารถพิจารณาตนเองได้ดีเช่นเดียวกับความสามารถในการ พิจารณาสิ่งแวดล้อมของตน จนเกิดการตัดสินใจได้ในที่สุด 4. การให้คาปรึกษา ยึดหลักความแตกต่างระหว่างบุคคล 5. การให้คาปรึกษาเป็นทั้งศาสตร์ (Science) และศิลปะ (Art) เป็นทั้งงานวิชาการ และวิชาชีพที่ต้องอาศัยการ ฝึกฝนจนชานาญมากกว่าการใช้สามัญสานึก 6. การให้คาปรึกษา เป็นความร่วมมืออันดีสาหรับผู้ให้คาปรึกษา และผู้รับคาปรึกษาในอันที่จะช่วยกันค้นหาปัญหา หรือทางออกที่เหมาะสมแท้จริงทั้งนี้โดยที่ต่างฝ่ายอาจจะไม่เข้าใจมาก่อนว่า “แท้ที่จริงแล้วความยากลาบากหรือ ปัญหาของสิ่งนั้นคืออะไร ซึ่งแตกต่างไปจากการสอนซึ่งผู้สอนรู้ข้อเท็จจริงมาก่อนหน้านี้แล้ว” 7. การให้คาปรึกษาเน้นถึงจรรยาบรรณ และบรรยากาศที่ปกปิดหรือความเป็นส่วนตัว เพื่อสนับสนุนการได้มาซึ่ง ข้อเท็จจริงสาหรับช่วยเหลือ และรักษาผลประโยชน์ของผู้รับคาปรึกษาเป็นสาคัญ 8. การให้คาปรึกษาจะเกิดขึ้นต่อเมื่อสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้คาปรึกษา และผู้รับคาปรึกษา มีระดับสูงมากพอที่ ผู้รับคาปรึกษาเต็มใจที่จะเปิดเผย ความรู้สึกที่แท้จริงของตน โดยไม่ปกปิดหรือซ่อนเร้น ประเภทของการให้คาปรึกษา การให้คาปรึกษาสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภทดังนี้ 1. การให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล (Individual Counseling) การให้คาปรึกษาจะเป็นการพบกัน ระหว่างผู้ให้คาปรึกษา 1 คน กับผู้ขอคาปรึกษา 1 คน โดยร่วมมือกัน การให้ คาปรึกษาแบบนี้มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้ผู้ขอรับคาปรึกษาให้สามารถเข้าใจตนเอง เข้าใจปัญหา และสามารถ แก้ไขปัญหาต่าง ๆ ได้ด้วยตนเอง
  • 7. 7 ลาดับขั้นของการให้คาปรึกษารายบุคคล กระบวนการให้คาปรึกษา อาจสรุปได้ 5 ขั้นตอนดังนี้คือ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพ ผู้ให้คาปรึกษาต้องทาให้ผู้รับคาปรึกษาเกิด ความอบอุ่น สบายใจ และ ไว้วางใจ ขั้นตอนที่ 2 สารวจปัญหาผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาได้สารวจปัญหาและปัจจัยต่างๆที่ทาให้เกิดปัญหา ด้วยตัวของเขาเอง ขั้นตอนที่ 3 เข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการ ผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาเข้าใจปัญหา สาเหตุ และ ความต้องการของตนเอง ขั้นตอนที่ 4 วางแผน แก้ปัญหา ผู้ให้คาปรึกษาช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาพิจารณาวิธี แก้ปัญหาและตัดสินใจเลือกสิ่งที่ จะปฏิบัติด้วยตนเอง ขั้นตอนที่ 5 ยุติการให้คาปรึกษา ผู้ให้คาปรึกษาย้าความเข้าใจที่เกิดขึ้นระหว่าง ที่ให้คาปรึกษา และช่วยให้ผู้รับ คาปรึกษา มีแรงจูงใจและกาลังใจ ที่จะแก้ปัญหาและพัฒนาตนเอง 2. การให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม (Group Counseling) ลาดับขั้นของการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม ขั้นที่ 1 ขั้นก่อตั้งกลุ่ม ในขั้นนี้สมาชิกที่เข้ากลุ่มยังไม่กล้าเปิดเผยตนเอง เพราะยังไม่ไว้วางใจในกลุ่ม ผู้ให้ คาปรึกษาจะต้องชี้แจงวัตถุประสงค์ของการให้คาปรึกษา และสร้างสัมพันธภาพที่ดี ให้เกิดขึ้นในกลุ่ม และต้อง ให้เวลาแก่สมาชิกกลุ่มพอสมควรอย่ารีบเร่ง ขั้นที่ 2 ขั้นการเปลี่ยนแปลงลักษณะของสมาชิก เป็นขั้นตอนต่อจากขั้นแรกกลุ่มเริ่มมีการเปลี่ยนแปลงและ พัฒนาการขึ้นบ้าง สมาชิกเริ่มรู้จักไว้วางใจกันแต่ก็ยังมีความวิตกกังวล มีความตึงเครียดอยู่บ้าง ผู้ให้ คาปรึกษาจะต้องพยายามชี้แจงให้สมาชิกกล้า อภิปรายปัญหาตัวเอง อย่างเปิดเผย ขั้นที่ 3 ขั้นดาเนินการ ขั้นนี้สัมพันธภาพระหว่างสมาชิกในกลุ่มจะดีขึ้นมาก กล้าเปิดเผยตนเอง อภิปราย ปัญหาตามความเป็นจริง ร่วมกันแก้ปัญหาของสมาชิก ทุกคนได้สารวจตัวเอง เข้าใจปัญหาและพร้อมจะ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตน ขั้นที่ 4 ขั้นยุติการให้คาปรึกษา เมื่อสมาชิกเข้าใจปัญหาอย่างกระจ่างแจ้ง รู้จักแก้และเลือกวิธีที่เหมาะสมกับ ตน นาไปปฏิบัติด้วยความพอใจ ไม่มีข้อข้องใจตกค้าง ก็ให้ยุติการให้คาปรึกษาแบบกลุ่มได้
  • 8. 8 ขนาดของกลุ่ม ในการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม ขนาดของกลุ่มที่ดีที่สุดจะอยู่ระหว่าง 4-8 คน เพราะถ้ากลุ่มมีขนาดใหญ่เกินจานวน 8 คน การถ่ายโยงจะค่อย ๆอ่อนลงจนกระทั่งสมาชิกแทบ จะไม่มีความหมาย และแทบจะไม่มีความสัมพันธ์ต่อกัน และกัน กลุ่มทาหน้าที่เสมือนการรวมกลุ่มย่อยหลาย ๆกลุ่ม และผู้ให้คาปรึกษาจะมีความยากลาบากในการชักจูง ให้สมาชิกแต่ละคน สนใจกลุ่ม แต่ถ้ากลุ่มเป็นกลุ่มขนาดเล็กสมาชิก จะมีโอกาสสื่อความหมายซึ่งกันและกันได้อย่าง เต็มที่ แต่ถ้าขนาดของกลุ่มใหญ่ขึ้น สมาชิกจะได้รับประสบการณ์ตรงและมีส่วนร่วมในกลุ่มน้อยมาก สมาชิกจะ พัฒนาความสัมพันธ์ที่มีความหมายกับผู้นา ผู้พูด และผู้แสดงเท่านั้น และสมาชิกจะปฏิบัติหน้าที่เหมือนกับอยู่ใน ชั้นเรียน และคอยพึ่งพิงผู้นามากขึ้น ลักษณะของกลุ่มในการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม ในการให้คาปรึกษาแบบกลุ่ม ลักษณะของกลุ่มควรเป็นกลุ่มแบบปิด ( Closed Groups) หมายถึง เป็นกลุ่มที่ ประกอบด้วย สมาชิกที่เป็นคนเดิมตั้งแต่เริ่มต้น การให้คาปรึกษา จนกระทั่งถึงขั้นยุติการให้คาปรึกษา ไม่ควรเป็น กลุ่มแบบเปิด ( Opened Groups ) เพราะกลุ่มลักษณะนี้จะมีการเข้าออกของ สมาชิกกลุ่มอยู่ตลอดเวลา คือ สมาชิกเก่าออกไปสมาชิกใหม่เข้า มาแทนที่ ทาให้การให้คาปรึกษาขาดความต่อเนื่อง การที่กลุ่มจะมีพัฒนาการไป ถึง ขั้นการวางแผนแก้ปัญหา จะทาได้ยากและความรู้สึกปลอดภัยจะลดลง เพราะสมาชิกกลุ่มจะต้องคอยปรับตัว ต่อสถานการณ์ ที่มีสมาชิกใหม่เข้ามาอยู่ตลอดเวลา ทาให้เป็นอุปสรรคต่อการเจริญงอกงามของกลุ่มได้ รูปแบบการให้คาปรึกษาสามารถจาแนกได้ 3 แนวทาง คือ 1. การให้คาปรึกษาแบบนาทาง การให้คาปรึกษารูปแบบนี้จะยึดให้ผู้ศึกษาเป็นศูนย์กลาง โดยมีแนวทางเชื่อว่า การที่คนเราสามารถตัดสินใจเรื่องต่างๆ หรือแก้ไขได้อย่างมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อบุคคลนั้นรู้จักตนเองรู้ในขอบเขต ความสามารถ 2. การให้คาปรึกษาไมนาทาง การให้คาปรึกษาแบบนี้ยึดผู้มาขอรับการศึกษาเป็นศูนย์กลาง บุคคลมีความสามารถ ในการแก้ไขปัญหาด้วยตนเอง หากเขาได้ระบายความคับข้องใจ ความทุกข์ใจ ความตึงเครียดทางอารมณ์ต่างๆ ออกไป และมีความรู้จักและสามารถเข้าใจตนเอง 3. การให้คาปรึกษาแบบผสม ผู้ให้คาปรึกษามีอิสระที่จะใช้วิธีการหรือหลักการอะไรก็ได้ที่เห็นว่ามีความเหมาะสม กับลักษณะของผู้มาขอรับการศึกษาในแต่ละขณะ
  • 9. 9 ลักษณะเฉพาะของการให้บริการคาปรึกษา 1. เป็นกระบวนการที่มีขั้นตอนประกอบด้วยทักษะต่าง ๆ 2. เป็นบริการที่ต้องอยู่บนพื้นฐานสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับบริการ 3. เป็นบริการที่ช่วยให้ผู้รับบริการสามารถเปิดเผยความรู้สึก ความคิด อารมณ์ของตน 4. เป็นขบวนการที่เน้นอารมณ์ ความรู้สึกมากกว่าเนื้อหาความรู้ 5. เป็นกระบวนการเพื่อแก้ไขปัญหาทางจิต- สังคม ลดความทุกข์ใจ 6. เป็น Two – way communication. 7. เป็นกระบวนการและมีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง (มีลักษณะเป็นขั้นตอนย่อย ๆ แต่ละขั้นตอน มี วัตถุประสงค์แตกต่างกันออกไป แล้วนาขั้นตอนเหล่านั้นมาร้อยเรียงเข้าด้วยกัน เพื่อวัตถุประสงค์ หลักการ เดียวกัน) 8. เน้นการสื่อสารด้วยเจตคติที่ดี 9. เน้นผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง 10. เน้นปัจจุบัน 11. ไม่มีคาตอบสาเร็จรูปหรือตายตัว 12. ต้องมีการคัดกรองผู้รับบริการ หลักการสาคัญของการให้คาปรึกษา 1. ยึดเอาผู้มีปัญหาเป็นหลัก 2. เน้นที่อารมณ์ความรู้สึกของผู้มีปัญหา 3. เข้าใจและยอมรับในอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดของผู้มีปัญหา 4. ไม่ด่วนสรุป หรือตัดสินผู้มีปัญหา 5. เน้นที่ความเป็นจริงตามเหตุการณ์และสถานการณ์ 6. มีการโต้ตอบเป็นจริงตามเหตุการณ์และสถานการณ์ 7. ผู้มีปัญหาเกิดการเรียนรู้ด้วยเหตุของปัญหา และตัดสินใจเลือกทางแก้ไข ด้วยตนเอง
  • 10. 10 ระดับการให้คาปรึกษา Emotion Counsellor  Social Counsellor  Basic Counsellor  Refreshing Counsellor  Advance Counsellor  Experience Counsellor Professional Counsellor (นักจิตวิทยา)  Specific Counsellor (จิตแพทย์) คุณสมบัติของผู้ให้คาปรึกษา 1. ด้านความรู้ความสามารถ (Knowledge) เนื่องจากการให้คาปรึกษา แนะนา มีขอบข่ายกว้างขวาง ผู้ให้ คาปรึกษาจาเป็นต้องรู้หลักการและเทคนิคในการให้คาปรึกษา ระเบียบ ข้อบังคับ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การร้องทุกข์ การอุทธรณ์ ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของคน ความต้องการของ คนพฤติกรรมศาสตร์ แรงจูงใจ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อให้สามารถนามาใช้ในการให้คาปรึกษาแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา หรือผู้ ขอคาปรึกษาได้ 2. ด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human Relation) ตามแนวความคิดของมนุษยสัมพันธ์ เน้นในเรื่องความสาคัญ ของคน ไม่ว่าผู้นั้นจะเป็นใคร และเห็นว่าการเข้าใจคนจะช่วยให้การบริหารงานสาเร็จไปกว่าครึ่งหนึ่ง ดังนั้น ผู้ให้ คาปรึกษาจะต้องมีมนุษยสัมพันธ์ เพราะเป็นงานที่ต้องติดต่อกับคน เช่น ผู้บริหาร ผู้ใต้บังคับบัญชา รวมทั้ง บุคลากรอื่น ๆ ในหน่วยงาน การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ขอคาปรึกษาช่วยให้การให้คาปรึกษาเกิดความร่วมมือ ในการหาหนทางในการแก้ปัญหาด้วยกัน
  • 11. 11 3. ด้านจริยธรรม (Ethics) ผู้ให้คาปรึกษาแนะนาต้องรับรู้ปัญหาต่าง ๆ ของบุคคลอื่นเป็นจานวนมาก ซึ่งใน การปฏิบัติงานผู้ให้คาปรึกษาแนะนาจาเป็นต้องรักษาความลับของผู้ขอคาปรึกษา และการให้คาปรึกษาก็ต้องตั้งอยู่ บนพื้นฐานของหลักวิชาการไม่นาเรื่องส่วนตัวมาเกี่ยวข้อง ต้องวางตัวเป็นกลางอยู่บนหลักการและเหตุผล โดยมี จรรยาบรรณทางวิชาชีพ การปฏิบัติอย่างยุติธรรมโดยทั่วหน้ากันไม่ว่าผู้ขอคาปรึกษาจะเป็นใคร มีพฤติกรรมเช่นไร ซึ่งจะทาให้ผู้ขอคาปรึกษารู้สึกปลอดภัยและเต็มใจเปิดเผยข้อมูลสาคัญ ๆ แก่ผู้ให้คาปรึกษา 1. เป็นผู้ที่มีความรู้ด้านการให้บริการคาปรึกษา 2. เป็นผู้ที่มีความเชื่อมั่น บุคลิกมั่นคง สามารถควบคุมอารมณ์ รับฟังปัญหาและการระบายความในใจของผู้มารับ บริการได้ 3. เป็นผู้ที่ผู้รับบริการยอมรับและให้ความเชื่อถือ 4. เป็นผู้ที่มีความสามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้รับบริการ โดยการวางตัวเป็นกันเองได้ 5. เป็นผู้มีความเสียสละ อดทน ตั้งใจที่จะแก้ปัญหาให้ผู้มารับบริการ 6. เป็นผู้ได้รับมอบหมาย 7. มีทัศนคติที่ดี - ไม่ลาเอียง/ไม่มีอคติ - ไม่เข้มงวดในระเบียบแบบแผน (เป็นกันเองและยืดหยุ่นตามสมควร) - ไม่บังคับผู้รับบริการให้ทาตาม - ส่งเสริมกาลังใจ ไม่ทาลายคุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ และเกียรติภูมิ - มีความเห็นอกเห็นใจและเข้าใจผู้อื่น - ไม่ตาหนิ ติเตียนผู้รับบริการ - ไม่คอยจับผิด - ไม่เอาค่านิยมส่วนตัวหรือมาตรฐานทางศีลธรรมไปตัดสินหรือโกรธผู้รับบริการ - มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพไม่แพร่งพรายเรื่องราวต่าง ๆให้ผู้อื่นรู้เว้นแต่ในสายงานที่จะช่วยเหลือ ผู้รับบริการ คุณสมบัติของผู้ให้บริการคาปรึกษา @ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับขบวนการให้คาปรึกษา @ มีทัศนคติที่ดี @ มีทักษะการติดต่อสื่อสารที่ดี @ สามารถประยุกต์ใช้เทคนิคในการให้คาปรึกษาได้ @ ไม่เอาตัวเองเป็นศูนย์กลาง
  • 12. 12 คุณสมบัติที่ผู้ให้การปรึกษาควรมี _______ 1. มีจิตใจที่ต้องการจะช่วยเหลือผู้อื่น ช่วยเหลือสังคม _______ 2 ยอมรับและให้โอกาสแก่คนทุกคนโดยไม่แบ่งแยก _______ 3. เชื่อในศักยภาพของคนและเชื่อว่าทุกคนอยากเป็นคนดี _______ 4. เคารพความคิดและความรู้สึกของผู้อื่น _______ 5. เข้าใจคน เข้าใจชีวิต รู้จักให้อภัย _______ 6. ไวต่อความรู้สึก ความต้องการและปฏิกิริยาของผู้อื่น _______ 7. จริงใจต่อคนทุกคน รวมทั้งตัวเอง _______ 8. รู้จักเชื่อมั่นและรู้สึกในคุณค่าของตนเอง _______ 9. มีความรับผิดชอบ รักษาสัญญา _______ 10. สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ _______ 11. มองโลกในแง่ดี _______ 12. มีอารมณ์ขัน _______ 13. ยืดหยุ่น _______ 14. อดทน _______ 15. มองและคิดลึก ละเอียด กว้างขวาง ( perspective ) _______ 16. เที่ยงตรง ยุติธรรม ไม่ลาเอียง _______ 17. มีจริยธรรม (รักษาความลับ) _______ 18. มีพรหมวิหาร 4 (เมตตา กรุณา มุติตา อุเบกขา) _______ 19. ฉลาด มีไหวพริบ _______ 20. มีความรู้ ประสบการณ์ในการให้คาปรึกษา และพัฒนาตนเองตลอดเวลา
  • 13. 13  มาเพื่อระบาย  มาเพื่อขอข้อมูล  มาเพื่อต้องการพึ่งพา ข้อพึงระวัง ในกระบวนการให้คาปรึกษา สิ่งที่พึงระวังไม่ให้เกิดคือ การมี อคติ อคติ หมายถึง ความลาเอียง มี 4 อย่าง 1. ลาเอียงเพราะ รัก 2. ลาเอียงเพราะ โกรธ 3. ลาเอียงเพราะ เขลา 4. ลาเอียงเพราะ กลัว การเกิดอคติ 1. ขัดต่อความเชื่อส่วนตัว ขัดต่ออุดมคติ ขัดต่อศีลธรรมในใจ 2. เป็นเรื่องที่ถูกใจ/ไม่ถูกใจ 3. การเลี้ยงดู ผลของอคติต่อการให้คาปรึกษา 1. ไม่ก่อให้เกิดการเรียนรู้ 2. สะกัดกั้นความรู้สึกเป็นกลาง ทั้งต่อตัวผู้รับบริการและปัญหา(ทาให้การมองปัญหาผิดพลาด) ลักษณะของการมารับคาปรึกษา 1. กาย 2. จิต 3. สังคม 4. เศรษฐกิจ 5. ชีวิตครอบครัว 6. ชีวิตการงาน 7. ชีวิตส่วนตัว 8. ชีวิตสังคม ด้านต่าง ๆของการมารับคาปรึกษา 1. ตัวเราเอง 2. ใครก็ได้ที่เราเป็นกลางไม่ได้(ผู้ที่มีหัวอกเดียวกัน) 3. ผู้ป่วยโรคจิต/ปัญญาอ่อน 4. เด็กที่ยังมองไม่เห็นนามธรรม(ยังไม่มีวุฒิภาวะ พร้อม) บุคคลที่เราให้คาปรึกษาไม่ได้คือ Bias (อคติ) เกิดได้ทั้งต่อบุคคล เรื่องราว สถานที่
  • 14. 14 วิธีลบล้างอคติ 1. รู้จักตนเอง เข้าใจตนเอง 2. มองคนอื่นในแง่ดี ให้เกียรติ ให้โอกาส 3. เดินทางสายกลาง 4. เอาใจเขามาใส่ใจเรา(ไม่ใช่เอาใจเราไปใส่ใจเขา) 5. เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์(มีคนดีและคนไม่ดีปะปนกันไป) 6. มีใจเป็นพรหม (พรหมวิหาร 4) (เมตตา กรุณา มุติตา อุเบกขา) กระบวนการให้คาปรึกษาประกอบไปด้วยขั้นตอนต่าง ๆ 5 ขั้นตอน ดังนี้คือ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ เป็นการเริ่มการสนทนาด้วยบรรยากาศที่อบอุ่น มีไมตรี ยิ้มแย้มแจ่มใส ผู้ให้บริการคาปรึกษาจะทักทาย เรื่องทั่ว ๆ ไปเพื่อให้ผู้รับบริการคาปรึกษาเกิดความสบายใจ ผ่อนคลาย ลดความตื่นเต้นและความอึดอัดใจ ทาให้ ผู้รับการปรึกษา สามารถเริ่มเล่าเรื่องความไม่สบายใจโดยไม่ลาบากใจ ด้วยการต้อนรับตามมารยาทสังคมนั้น แล้วแต่ทักษะของแต่ละคน และควรมีการตกลงบริการ เพื่อสร้างความเข้าใจให้กับผู้รับบริการทราบถึง วัตถุประสงค์ของการบริการคาปรึกษาและบทบาทของทั้งผู้ให้และผู้รับคาปรึกษา ขั้นตอนที่ 2 การสารวจปัญหา ขั้นตอนนี้ลงลึกสู่จิตใจผู้รับบริการมากกว่าขั้นตอนแรก เพื่อดูว่าสิ่งใดเป็นข้อสงสัย ความยากลาบาก ปัญหาเป็นปัญหาด้านใด มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับบริการสารวจรู้ปัญหาของตัวเอง รู้ว่าอะไรเป็นปัญหาอะไรไม่ เป็นปัญหา ขั้นตอนที่ 3 เข้าใจปัญหา เข้าใจสาเหตุ เข้าใจความต้องการ เป็นการช่วยให้ผู้รับบริการเข้าใจปัญหา สาเหตุ ความต้องการของตนเอง ให้ผู้รับบริการสามารถ เปลี่ยนแปลงแก้ปัญหาของเขาได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องใช้ทักษะต่าง ๆ เพื่อเอื้ออานวยและ กระตุ้นให้ผู้รับบริการคาปรึกษาใช้ศักยภาพของตนที่มีอยู่สารวจปัญหา ความต้องการของตนเอง ซึ้งขั้นตอนนี้จะ ใช้ระยะเวลามากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับพื้นฐาน สติปัญญา ความสามารถและลักษณะนิสัยของผู้รับการปรึกษาด้วย องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา
  • 15. 15 ขั้นตอนที่ 4 การวางแผนแก้ปัญหาและการนาไปปฏิบัติ เป็นขั้นตอนที่ทาให้ผู้รับบริการคาปรึกษารู้เป้าหมายและวิธีการแก้ปัญหาที่เหมาะสมกับตัวเองและลงมือ ปฏิบัติให้เกิดพฤติกรรมใหม่ โดยผู้ให้บริการคาปรึกษาคอยให้การสนับสนุน ให้กาลังใจ ผู้ให้บริการคาปรึกษาต้องไม่ เร่งรีบและด่วนตัดสินใจ จัดการปัญหาของผู้รับการปรึกษาเสียเองทั้งหมด ควรให้ผู้รับบริการคาปรึกษาได้ พิจารณา ความเหมาะสมและหาทางแก้ไขปัญหาด้วยวิธีที่ดีที่สุดของตัวเอง ขั้นตอนที่ 5 การยุติกระบวนการให้คาปรึกษา เป็นขั้นตอนที่ผู้ให้บริการคาปรึกษา ให้สัญญาณแก่ผู้รับบริการได้รู้ตัวก่อนว่าหมดเวลาของการให้ คาปรึกษาแล้วและเปิดโอกาสให้ผู้รับการปรึกษาได้สรุปสิ่งต่าง ๆ ที่ได้พบกันในครั้งนี้ หากผู้รับบริการคาปรึกษา สรุปยังไม่ครบ ผู้ใบริการคาปรึกษาสามารถช่วยได้ พร้อมกันนี้ควรให้กาลังใจในการปฏิบัติแก้ไขปัญหาในกรณีที่ จาเป็นต้องส่งต่อให้ไปพบกับผู้เชี่ยวชาญอื่น ๆ จะต้องทาความเข้าใจกับผู้รับบริการอย่างชัดเจน แต่ถ้าไม่มีการส่ง ต่อผู้ให้บริการคาปรึกษาควรเปิดโอกาสให้ผู้รับการปรึกษาทราบว่าสามารถพบได้ในครั้งต่อไปเมื่อไหร่ พร้อมนัด หมายวัน เวลา ที่เหมาะสม ก่อนจากกันควรชวนสนทนาเล็กน้อยในเรื่องทั่ว ๆ ไปและกล่าวคาอาลา ขั้นตอนที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพและตกลงบริการ วัตถุประสงค์ เป็นการสร้างสัมพันธภาพที่ดีระหว่างผู้ให้บริการคาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษา(เพื่อให้เกิดความ ร่วมมือ) 1. First Impression (สีหน้าแรกพบ) 2. Small talk (กล่าวทักทาย/กล่าวต้อนรับ)(คุยเรื่องทั่ว ๆไป) 3. ตกลงบริการ (สรุปประเด็นที่จะพูดคุยกัน) (ตกลงเรื่องเวลา) องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา เราเป็นฝ่าย เข้าไปหาเขา เขาเป็นฝ่ายเข้ามา หาเรา - น้องมีเรื่องอะไรที่อยากคุยกับพี่มั้ย - น้องมีเรื่องไม่สบายใจอะไรที่พี่พอจะช่วยเหลือได้บ้างมั้ย - สังเกตดูท่าทางของน้องแล้ว รู้สึกไม่สบายใจเลย มีอะไรในใจพอที่จะเล่าให้พี่ฟังได้บ้างมั้ย พี่ ยินดีรับฟัง ถ้าช่วยอะไรได้พี่จะช่วยเต็มที่ - สรุปแล้วเรื่องนี้เป็นเรื่องที่เราจะคุยกันใช่มั้ย - น้องพอจะมีเวลาซัก…………..นาทีมั้ย
  • 16. 16 - ต้อนรับ ทักทาย เห็นถึงการมา - ยิ้มแย้มแจ่มใส ยินดีที่ได้เจอ ไม่เบื่อ - ทาให้เขารู้สึกสบายใจ ไม่เครียด ที่จะคุยกับเรา - แนะนาตัวเอง (เพื่อเป็นการให้เกียรติเขา) - ถามชื่อเขา - พูดคุยเรื่องทั่วๆไป (social conversation) - สังเกต (จากท่าทาง สีหน้า แววตา น้าเสียง) (ดูอารมณ์ ดูความรู้สึก) ขั้นตอนที่ 2 สารวจปัญหา วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้รับบริการคาปรึกษาเล่าเรื่อง/เล่าปัญหาและปัจจัยต่าง ๆที่เกี่ยวข้องเพื่อให้เขาได้เห็นถึง สาเหตุของปัญหา การสร้างสัมพันธภาพ องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา ใช้คาถามเปิด ให้เขาเล่าเรื่อง ใช้คาถาม กระตุ้นให้พูด - ลองเล่าให้พี่ฟังซิว่าเรื่องนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร - พี่อยากให้น้องเล่า/พูดออกมาเท่าที่น้องเล่า/พูดได้ แต่ถ้าการพูดคุยของเราในวันนี้/ครั้งนี้ น้องเล่า/ พูดออกมาน้อย ไม่เป็นความจริง พี่ก็จะช่วยน้องได้ไม่เต็มที่ เราอาจมองกันคนละประเด็น มอง สาเหตุของปัญหาผิด ซึ่งก็จะทาให้การช่วยเหลือผิดตามไปด้วย/ ไม่ตรงกับความต้องการของน้อง น้องไม่ต้องห่วงนะ เรื่องที่เล่ารับรองพี่จะเก็บไว้เป็นความลับ
  • 17. 17 ขั้นตอนที่ 3 เข้าใจปัญหา เข้าใจสาเหตุ เข้าใจความต้องการ วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้รับบริการคาปรึกษา เกิดความชัดเจนในตนเอง และเข้าใจถึงปัญหานานัปการ ที่กาลัง เผชิญอยู่ (เข้าใจถึงสาเหตุ และเข้าใจถึงความต้องการ) องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา รู้ให้ได้ว่า ปัญหาอยู่ที่ไหน 1. อารมณ์ 2. ความเชื่อ 3. ทักษะ 4. การสื่อสาร ถ้ามีหลายปัญหา เอาปัญหาที่เร่งด่วน / ปัญหาที่เป็นปัญหาหลักขึ้นมาพูดคุยก่อน ปัญหาถ้าเกิดจากพื้นฐานของคน ๆ นั้นเองจะแก้ไข ถ้าไปเกี่ยวกับบุคคลที่ 2 บุคคลที่ 3 สิ่งแวดล้อม จะแก้ได้ยาก
  • 18. 18 ขั้นตอนที่ 4 วางแผนแก้ไข วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นการวางแผนแก้ไขปัญหาร่วมกันระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการคาปรึกษา องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา - พิจารณาทางออก (แต่ละวิธีมีข้อดีข้อเสียอย่างไร) - ตัดสินใจเลือก (เลือกทางออกที่เป็นไปได้สุด) - สิ่งที่ต้องปฏิบัติต่อไป (ให้ผู้รับบริการสรุปให้เราฟัง) การวางแผนแก้ไขเปลี่ยนได้ 3 ทาง 1. เปลี่ยนสถานะการณ์ 2. เปลี่ยนพฤติกรรม 3. เปลี่ยนแนวคิด เทคนิคการถาม - เคยคิดหรือทาหรือหาทางแก้ไขเรื่องนี้บ้างหรือไม่/อย่างไร
  • 19. 19 ขั้นตอนที่ 5 ยุติบริการ วัตถุประสงค์ เป็นการสรุปและยุติการปรึกษาเพื่อย้าถึงความรู้ ความเข้าใจที่เกิดขึ้นระหว่างการให้คาปรึกษา และให้ผู้รับคาปรึกษาได้แรงจูงใจและกาลังใจในการพัฒนาตนเอง องค์ประกอบของกระบวนการให้คาปรึกษา ยุติเฉพาะครั้ง - มีทางแก้ไขไปทดลองปฏิบัตินัดหมายมาพบ  ให้คาปรึกษาเพิ่มเติม  ประเมินผล มาบอกถึงความก้าวหน้า ยุติCase /ปิด Case - ในกรณีช่วยตัวเองได้/แก้ปัญหาได้/อยู่รอดได้ด้วยตนเอง - ส่งสัญญาณว่าหมดเวลาแล้ว เช่นดูนาฬิกา - เอาละเราคุยกันมานาน …….. นาทีแล้วคุณคงได้แนวทางบ้างหากกลับไปคราวนี้คุณยัง เกิดความไม่สบายใจอีกอยากกลับมาพูดคุยกันใหม่อีกก็ได้ - สรุปวันนี้เราคุยกันเรื่อง…………….โดยจากการคุยกันเรื่อง…………..ของคุณมีสาเหตุมา จาก……………..โดยคุณต้องการ………………ซึ่งเราได้หาทางร่วมกัน คือ……………………………… - น้องรู้สึกอย่างไรบ้าง คิดว่าจะทาได้มั้ย เอาใจช่วยนะ หลาย ๆคนมาด้วยอาการหนักใจ อย่างน้อง แต่พอเขาได้ลองใช้ศักยภาพของตัวเองลองทาดู เขาก็ทาได้พี่ก็คิดว่าน้องต้อง ทาได้แน่นอน
  • 20. 20 การฟัง - Ladder การทวนความ - ทวนทุกคาพูด/ทวนเฉพาะส่วนที่สาคัญ/ทวนแบบสรุปความ การสะท้อนความรู้สึก - จากคาพูด/จากพฤติกรรม การสรุปความ - ผู้ให้คาปรึกษาสรุป/ผู้รับคาปรึกษาสรุป/ทั้งผู้ให้และผู้รับคาปรึกษาช่วยกันสรุป การตั้งคาถาม - ปลายเปิด/ปลายปิด การเลือกประเด็น - เลือกจากจุดที่สนใจ (เน้นปัจจุบัน/เน้นตัวผู้รับบริการคาปรึกษา/เน้นประเด็นที่ผู้รับ บริการพูดเอง) การตีความ - เปิดการอธิบายพฤติกรรม ความคิด ความรู้สึก ที่มาจากตัวผู้รับบริการคาปรึกษา เพื่อ ยืนยันความถูกต้อง การให้กาลังใจ - ด้วยคาพูด/ท่าทาง การให้ข้อมูล/คาแนะนา - เพื่อให้เขารับรู้มากขึ้น(เพื่อตัดสินใจด้วยตัวเขาเอง)/ ชี้แจงให้ปฏิบัติ การพิจารณาทางเลือก - พิจารณาข้อดี ข้อเสียให้รอบคอบ (ผลต่ออารมณ์ความรู้สึกของตนเอง/สุขภาพ/ เศรษฐกิจ/สังคม/กฎหมาย/ศีลธรรม) การเงียบ - ของผู้ให้คาปรึกษา เป็นการให้กาลังใจและให้โอกาสเขาได้พูด - ของผู้รับคาปรึกษา เงียบเพื่อคิด เพื่อพักเมื่อพูดจบ/ต่อต้าน ปฏิเสธ ตาหนิ การปิด Case - ยุติบริการ/ปิดชั่วคราว การติดตามเรื่อง - โดยใช้คาพูด คาถาม ที่สอดคล้องที่จะให้เขาสนทนาในเรื่องที่เขาพูดต่อไป การสังเกตุ - ทาให้เขาเข้าใจผู้รับคาปรึกษามากขึ้น สังเกตภาษากาย/ภาษาพูด(น้าเสียง ถ้อยคา) เทคนิคต่าง ๆในขบวนการให้คาปรึกษา
  • 21. 21 ทักษะการปรึกษาสามารถจาแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเบื้องต้นและกลุ่มเบื้องลึก กลุ่มเบื้องต้น มีจุดประสงค์เพื่อสร้างความเข้าใจในปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นกับผู้รับการปรึกษาทักษะย่อยที่ใช้ ได้แก่ การฟัง การตั้งคาถามเปิด-ปิด การทบทวนคาพูด การสะท้อนความรู้ การทาให้กระจ่าง และการสรุป กลุ่มเบื้องลึก มีจุดประสงค์เพื่อส่งเสริมกระบวนการให้การปรึกษาบรรลุเป้าประสงค์ ซึ่งประกอบด้วยการทาให้ผู้รับ การปรึกษามีความเข้าใจปัญหาและตนเองมากขึ้น ทักษะที่ใช้คือการท้าทายและการแปลความ การสร้างสัมพันธภาพ ตกลงบริการปรึกษา สารวจปัญหา ยุติบริการคาปรึกษา วางแผนแก้ไขปัญหา - การทักทาย - การพูดคุย - การใส่ใจ - การเปิดประเด็น - การตกลงบริการ - การฟัง - การทวนความ - การถาม - การเงียบ - การสรุปความ - การสะท้อนความรู้สึก - การติดตามเรื่อง ทาความเข้าใจปัญหาสาเหตุความต้องการ - การสรุปความ - Focusing (การเลือกประเด็น) - Clarification (การพิสูจน์ความถูกต้องของ ข้อมูล) - การปิดCase - การยุติบริการ - การให้กาลังใจ - การสรุปความ - การส่งต่อ - การติดตาม - การให้ข้อมูล - การแนะนา - การให้กาลังใจ - การพิจารณาทางเลือก
  • 22. 22 เทคนิคการให้คาปรึกษา ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องฝึกการใช้เทคนิคการให้คาปรึกษา เพื่อให้คาปรึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.การเริ่มต้นให้คาปรึกษา (Opening the interview) ในระยะแรกผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษา อาจยังมีความรู้สึกใหม่ต่อกัน ผู้ให้คาปรึกษาต้องสร้าง บรรยากาศที่ ดี (Rapport) ให้รู้สึกผ่อนคลาย อบอุ่น เป็นกันเองและใช้คาถามเริ่มต้นการสนทนา ด้วยการทักทายด้วยเรื่อง ทั่วๆไปก่อน เช่น “สวัสดี” “เชิญนั่งค่ะ” “คุณมีอะไรให้ช่วยเหลือบ้าง” “มากับใครค่ะ” 2.การตั้งคาถาม (Questioning) การตั้งคาถามเพื่อให้ผู้รับคาปรึกษารู้และยอมรับตนเอง ควรเป็นคาถามลักษณะกลางๆและเป็นคาถามปลายเปิด นอกจากผู้รับคาปรึกษามีปัญหาที่ไม่สามารถพูดได้หรือมีข้อจากัดในการพูด ลักษณะคาถามปลายเปิด เช่น “ลอง เล่าให้ฟังถึงอาการของคุณ” “อะไรที่คุณคิดว่าเป็นปัญหาขณะนี้” “คุณต้องการให้พยาบาลช่วยเหลือคุณอย่างไร” “คุณมีอาการนี้ตั้งแต่เมื่อไหร่” 3.การซักถามตรงๆ (Probing) เป็นการตั้งคาถามตรงที่ปัญหาเพื่อถามข้อมูล จะใช้ได้ผลดีในกรณีผู้รับคาปรึกษาเลี่ยงกล่าวถึงจุดสาคัญของปัญหา แต่จะต้องระมัดระวังไม่ใช้ฟุ่มเฟือย จะทาให้สัมพันธภาพล้มเหลวได้ เช่น“สิ่งที่ทาให้คุณเครียดขณะนี้คือเรื่อง...” “เพื่อนที่คุณพูดถึงคือแฟนของคุณ” 4.การเสนอแนะ (Suggestion) ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องหาวิธีการที่ส่งเสริมให้ผู้รับคาปรึกษารู้จักนาตนเอง มีวินัยในตนเองและจัดการด้วยตนเอง มากกว่าการเสนอปัญหาให้โดยตรง เช่น “จากอาการที่คุณเล่าคุณเคยคิดจะไปตรวจดูบ้างไหม” “คุณมีน้าหนักตัว ค่อนข้างมากคุณคิดจะควบคุมอาหารบ้างไหม” “คุณต้องการกาลังใจจากครอบครัวหรือจากบุคคลอื่นๆ” 5.การตีความหมาย (Interpretation) การแปลความหมายหรือการตีความของเนื้อหาคาพูดหรือพฤติกรรมที่ผู้รับคาปรึกษาแสดงออกโดยการบอกถึงสิ่งที่ กาลังเกิดขึ้นในขณะนั้น เพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับให้ผู้รับคาปรึกษาทราบแต่ควรใช้เทคนิคนี้อย่างระมัดระวัง ซึ่ง อาจจะแปลความหมายผิดไป แล้วผู้รับบริการอาจไม่ยอมรับก็ได้ ตัวอย่างเทคนิคนี้ เช่น ผู้รับคาปรึกษา : ต้องมีคนคอยบอกว่าหนูต้องเรียนอะไร ใส่เสื้อตัวไหน เหมือนกับว่าหนูอยากตัดสินใจเองแต่หนูทา ไม่ได้ หนูอยู่ ม.6 แล้ว แต่ยังเลือกสาขาเรียนต่อยังไม่ได้ ผู้ให้คาปรึกษา : เป็นไปได้ไหมว่า คุณไม่เคยฝึกตัดสินใจด้วยตนเองและต้องคอยให้มีคนช่วยตัดสินใจให้
  • 23. 23 6.การเงียบและการฟัง (Silence and Listening) ความเงียบจะช่วยให้ผู้ให้คาปรึกษาและ ผู้รับคาปรึกษามีโอกาสรวบรวมความคิด ทบทวนสิ่งที่พูดมาแล้วและคิดที่ จะพูดต่อไป อาจใช้ความเงียบเพื่อให้โอกาสผู้รับคาปรึกษาแสดงอารมณ์ออกมา และหลังจากที่ใช้ความเงียบแล้ว ผู้ให้คาปรึกษาพูดว่า “คุณรู้สึกอย่างไร” เพื่อช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาพิจารณาตนเองอีกครั้ง การฟังอย่างตั้งใจ (Active listening) โดยสนใจทั้งคาพูดและพฤติกรรม ตลอดจนความสอดคล้องของเนื้อหาคาพูดและพฤติกรรม โดยปราศจากการโต้แย้ง วิพากษ์วิจารณ์ ตัดสินหรือมีอคติพฤติกรรมที่บ่งชี้ถึงการฟังอย่างตั้งใจ ได้แก่ การประสาน สายตา การนั่งโน้มตัวไปข้างหน้า การพยักหน้า หรือใช้คาพูดที่บ่งบอกว่ารับรู้ เช่น ค่ะ ครับ อึมม์… เป็นต้น ลักษณะของการฟังอย่างตั้งใจ ได้แก่ การประสานสายตาผู้รับคาปรึกษา โดยไม่จ้องมากไป การพยักหน้า การยิ้ม รับ การมาพบตรงเวลานัดหมาย การตั้งใจฟังโดยไม่พูดสอดแทรกการตั้งคาถามหรือเปลี่ยนประเด็น 7.การให้ความกระจ่าง (Clarification) เป็นเทคนิคที่ผู้ให้คาปรึกษาพยายามสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของผู้รับคาปรึกษา โดยสรุปคาพูดเรื่องราวและสิ่งที่ สังเกตได้ให้ผู้รับคาปรึกษากระจ่างและเข้าใจในปัญหาของเขา เช่น ผู้รับคาปรึกษา : สุขภาพตอนนี้ย่าแย่เหลือเกิน ผู้ให้คาปรึกษา : คุณอธิบายเพิ่มเติมว่าสุขภาพตอนนี้ย่าแย่เป็นอย่างไร 8.การแสดงความเห็นชอบ (Approval) เป็นเทคนิคที่ส่งเสริมสนับสนุนหรือให้กาลังใจแก่ผู้รับคาปรึกษาในการคิดและตัดสินใจ เช่น “การที่คุณได้ทาตามที่ พยาบาลแนะนาเป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว” ถ้าผู้ให้คาปรึกษาไม่เห็นด้วยจะต้องวางตัวเป็นกลางและใช้วิธีอื่นต่อไป เช่น การเสนอแนะ เป็นต้น 9.การให้ความมั่นใจ (Assurance) เป็นการให้ความมั่นใจแก่ผู้รับคาปรึกษาในการเลือกและตัดสินใจในเรื่องราวของตน เช่น “การที่คุณตัดสินใจการ ควบคุมอาหารจะทาให้น้าหนักดีขึ้น” “หากคุณปฏิบัติตัวตามที่บอกอาการของคุณจะทุเลาลง” 10.การย้าให้เกิดความมั่นใจ (Reassurance) เป็นการย้าและให้กาลังใจแก่ผู้รับคาปรึกษา เพื่อลดความเครียดความกังวลใจ เช่น “น่าจะเป็นการดี ถ้าคุณรู้ สาเหตุของเรื่องนี้คุณคงสบายใจขึ้น” 11.การสะท้อนความรู้สึก (Reflection of feeling) เป็นการทาความเข้าใจข้อความหรือคาพูดของผู้รับคาปรึกษา การช่วยให้ผู้รับคาปรึกษาตระหนักในความรู้สึกของ ตน เช่น “คุณรู้สึกท้อแท้ที่ประสบความล้มเหลวในชีวิตแต่งงาน” “คุณสบายใจเมื่อรับทราบผลการตรวจเลือด”
  • 24. 24 12.การสังเกต (Observation) เป็นการสังเกตพฤติกรรม น้าเสียง สีหน้า ท่าทาง ในขณะสนทนา จะช่วยให้ผู้ให้คาปรึกษาสามารถเข้าใจความรู้สึก และอารมณ์ของผู้รับคาปรึกษา ซึ่งจะช่วยให้เข้าใจปัญหาของผู้รับคาปรึกษาเร็วขึ้น 13.การแนะนา ( Advising) เป็นการให้คาชี้แนะโดยตรงเพื่อช่วยแก้ปัญหาโดยอาศัยความรู้ ทักษะและประสบการณ์ของผู้ให้คาปรึกษาเอง เช่น “คุณควรจะบอกอาการของคุณให้สามีทราบเพื่อจะได้ช่วยเหลือคุณได้”“คุณควรปรึกษาแพทย์เฉพาะทางดูก่อน นะ” 14.การกระตุ้นให้กาลังใจ (Encouragement) มักใช้กับผู้ที่ขาดความมั่นใจว่าจะทากิจกรรมต่างๆได้ อาจยกตัวอย่างหรือสถานการณ์ที่เขาเคยทาได้สาเร็จ ประกอบ เช่น “จากการทางานที่ผ่านมา ฉันคิดว่าคุณต้องทาได้” “ผลการตรวจไขมันในเลือดเมื่อเดือนมกราคม คุณสามารถควบคุมระดับเลือดได้และครั้งต่อไปดิฉันคิดว่าคุณสามารถควบคุมได้อีก” 15.การท้าทาย (Challenge) เป็นวิธีการที่ค่อนข้างเสี่ยง ผู้ให้คาปรึกษาจะต้องมั่นใจในสัมพันธภาพระหว่างผู้ให้คาปรึกษาและผู้รับคาปรึกษาเป็น อย่างดีแล้ว เช่น “คุณเคยบอกว่าจะออกกาลังกายหลายครั้งแล้ว แต่คุณยังไม่เริ่มทาเลย” “คุณไม่สนใจดูแลลูก ของคุณ แล้วคุณจะแก้ปัญหาลูกคุณได้หรือ” 16.การให้ข้อมูล (Giving information) การให้ข้อมูลสามารถกระทาได้เมื่อผู้รับคาปรึกษา เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เช่น การปฐมนิเทศการรับการ รักษาในหอผู้ป่วย การแนะนาตัวของผู้ให้คาปรึกษา รวมทั้งเป้าหมายที่เข้ามาพูดคุยกับผู้รับคาปรึกษา การให้ การปรึกษา หากมีการเปลี่ยนแปลง ต้องแจ้งให้ผู้รับคาปรึกษาล่วงหน้า ผู้ให้คาปรึกษาควรเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ เนื้อหาที่ผู้รับคาปรึกษาพูด การละเทศะและบุคคล ตลอดจนพื้นฐานทางสังคม เพื่อให้การใช้เทคนิคมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลสูงสุด
  • 25. 25 1. ประวัติส่วนตัวทั่วไป ครอบครัว ความสัมพันธ์ พฤติกรรมเสี่ยง บุคลิกภาพทั่วไป 2. ปัญหาที่นามา(Presenting Problem) 3. ปัญหาที่แท้จริง (Underlying Problem or Real Problem ) 4. สาเหตุของปัญหา และความต้องการในการแก้ปัญหา 5. การวางแผนแก้ไขปัญหา ศักยภาพในการแก้ไขปัญหา ปัจจัยเกื้อหนุน และแรงจูงใจ 6. แนวทางการช่วยเหลือ การนัดครั้งต่อไป 7. ความก้าวหน้าในการแก้ปัญหา 8. ข้อสังเกตของผู้ให้บริการคาปรึกษาต่อผู้รับคาปรึกษาในแต่ละครั้ง 1. เป็นหลักฐานการต่อเรื่องติด 2. เป็นกรณีศึกษา (Case study) 3. เพื่อประโยชน์ในการส่งต่อ (Refer case) 4. เพื่อประโยชน์ในการวิจัยหรือเก็บข้อมูล ความสาเร็จของขบวนการให้คาปรึกษา 1. สามารถทาให้ผู้รับบริการคาปรึกษาเข้าใจปัญหาและเข้าใจตนเอง 2. ปรึกษาจบโดยมีแนวทางแก้ไขปัญหาที่เห็นดีด้วยกันทั้งสองฝ่าย 3. ผู้รับบริการคาปรึกษา สามารถเปลี่ยนพฤติกรรม/แนวคิด/สถานการณ์ ไปในแนวทางที่ดีขึ้น(เนื่องจากเข้าใจ ตนเองและเข้าใจปัญหา) 4. ผู้รับบริการคาปรึกษา สามารถเลี่ยงการเกิดปัญหาซ้า 5. ผู้รับบริการคาปรึกษาพึงพอใจในผลการปรึกษา/ขบวนการให้คาปรึกษา 6. ผู้รับบริการคาปรึกษา และผู้ให้บริการคาปรึกษามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน (ยังคงติดต่อกับผู้ให้บริการคาปรึกษา เป็นครั้งคราว หรือพาผู้ประสบปัญหาอื่น ๆมาพบผู้ให้คาปรึกษา เป็นต้น) ปัจจัยที่ทาให้คาปรึกษาไม่ประสบความสาเร็จ 1. เหตุการณ์ 2. สภาพแวดล้อม 3. ตัวผู้รับบริการคาปรึกษาเอง การบันทึกคาปรึกษา ประโยชน์ของการบันทึก การประเมินผลคาปรึกษา
  • 26. 26 พูดอย่างไรเรียกว่าพูดดี 1. พูดตรง ๆไม่บวกอารมณ์(ไม่ดีเข้าไป) 2. พูดอย่างเปิดเผย ไม่มีจุดมุ่งหมายแอบแฝง 3. อย่าพูดลงความเห็นตายตัว ก่อนมีหลักฐานที่แน่นอน 4. อย่าพูดทานองว่าตัวเองอยู่เหนือใครสูงกว่าใคร 5. อย่าพูดให้เกิดความเสียหาย 4 ประการ - เสียหน้า - เสียใจ - เสียความรู้สึก - เสียหาย การพูด สาเหตุของการพูดไม่เพราะ 1. ปากมันเคย 2. มีทัศนคติไม่ค่อยดีต่อคนที่อยากพูดด้วย 3. โดนด่า/โดนว่าก่อน 4. นิสัยถาวร 5. มีอาการทางประสาท 6. ขาดการอบรม
  • 27. 27 การฟังอย่างใส่ใจ (Ladder) L = Look = มองประสานสายตา ตั้งใจฟัง มีสติและพยายามจับประเด็นสาคัญในปัญหาของผู้รับการ ช่วยเหลือ A = Ask = ซักถามในจุดที่ส่งสัยในประเด็นปัญหาและแกะรอยตามประเด็นปัญหาของผู้รับการ ช่วยเหลือ D = Don’Interrupt = ไม่แทรกหรือขัดจังหวะถ้าในกรณีผู้รับการช่วยเหลือพูดวกวน พูดมากให้ใช้การ สรุปประเด็นปัญหาเป็นช่วง ๆเพื่อให้เกิดความเข้าใจ D = Don’t change the subject = ไม่เปลี่ยนเรื่องให้แกะรอยตามประเด็นปัญหาของผู้รับการ ช่วยเหลือไปในแต่ละประเด็น ไม่เปลี่ยนเรื่องไปมา E = Emotion = ใส่ใจการแสดงออกทางอารมณ์ของผู้รับการช่วยเหลือทั้งภาษาพูดและ ภาษาท่าทาง R = Response = แสดงสีหน้าท่าที ท่าทางตอบสนอง การฟัง เทคนิคการฟัง 1. ฟังเรื่องราวที่แสดงความรู้สึก - ต่อเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น - ต่อตนเองเมื่อเกี่ยวข้อง - ต่อบุคคลเมื่ออยู่ในเหตุการณ์ เทคนิคการฟัง ฟังด้วยหู = ได้ยิน ฟังด้วยตา = รู้ถึงสภาพอารมณ์ในขณะนั้น ฟังด้วยใจ = รู้ถึงสภาพความรู้สึกในขณะนั้น
  • 28. 28 Motivation Counseling : การปรึกษาแบบสร้างแรงจูงใจ เป็นความยากโดยธรรมชาติ ...ที่จะทาให้คนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ถ้าไม่ได้มาจากความตัองการของเขาเอง...ความ น่าสนใจของ Motivation Counseling คือ สามารถตอบโจทย์ กลุ่มที่ต้องการปรับพฤติกรรมได้ การให้คาปรึกษา แบบนี้เป็นทางออกที่ดี เพราะมีหลักการในการพิจารณา 8 ข้อ ที่จะจูงใจพวกเขาสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีกว่า..นั่นคือ หลักการ A B C D E F G H ...จาง่ายเพราะเรียงกันมาเลย ..ผู้ให้คาปรึกษาควรจะ.. A= avice แนะนา ชัดเจน ชี้ให้เห็นทิศทางการเปลี่ยนแปลง และเห็นอันตรายหากยังคงกระทาแบบเดิม B= barrier ลดอุปสรรค หรือกาจัดอุปสรรคในตัวเขา C= Choices พร้อมทั้งเสนอทางเลือก ให้เขาเปลี่ยนแปลงด้วยตนเอง D= desire เพิ่มเติมความต้องการ (รอให้เขาสนใจอยากรู้จริงๆ) E = empathy เห็นอกเห็นใจ F = feedback วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ ว่าพฤติกรรมที่เป็นอยู่เสี่ยงอย่างไร G= goal เน้นเป้าหมายชัดเจน ขอเวลา..ความมั่นใจ H = help ช่วยเหลืออย่างกระตือรือร้น เป็นอันว่า...เสร็จพิธี..สาหรับผู้ที่จะให้คาปรึกษาแบบนี้....อาจสับสนเล็กน้อยว่า..ผู้ให้คาปรึกษาที่ดีมักไม่นาทาง.. ผู้รับคาปรึกษาต้องตัดสินใจเอง..แต่..แบบสร้างแรงจูงใจนี้..กลับด้านเล็กน้อยคือเราต้องสร้างต้องเน้น ต้อง motivate เพื่อเป็นแรงจูงใจ..ให้เขาเหล่านั้นก้าวเดิน..
  • 29. 29 แบบบันทึกกระบวนการให้คาปรึกษา ขั้นตอนที่ 1.สร้างสัมพันธภาพ ขั้นที่ 5. ยุติบริการ ตกลงบริการ ขั้นตอนที่ 2. สารวจปัญหา ขั้นที่ 4. วางแผนแก้ไข ขั้นตอนที่ 3.หาเหตุแห่งปัญหา ทาความเข้าใจ 1 10 ความรู้ อารมณ์ความรู้สึก การปฎิบัติ
  • 30. 30 ลักษณะของปัญหา เทคนิคในการแก้ปัญหา 1. ขาดความรู้ การให้ข้อมูล 2. ปัญหาด้านอารมณ์ความรู้สึก การให้กาลังใจ / การสนับสนุน (Support) 3. ปัญหาในการปฏิบัติ - ไม่สามารถตัดสินใจเลือก สร้างและร่วมพิจารณาทางเลือกและ ทางปฏิบัติได้ผลที่ตามมา - ไม่รู้แนวปฏิบัติ การเสนอแนะ - ขาดทักษะในการสื่อสาร การฝึกทักษะ
  • 31. 31 แบบประเมินปัญหาด้านสังคมจิตใจ 1. คุณมีปัญหาหนักใจกลุ้มใจหรือไม่อย่างไร  ไม่มี  มี  ไม่มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิต  มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตแต่สามารถแก้ไขเองได้  มีผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตมากและต้องการความช่วยเหลือ  มีผลกระทบรุนแรงไม่สามารถทนต่อไปได้ 2. ให้ระบุปัญหาที่มีผลกระทบต่อตัวท่านมากที่สุด ( ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ ) 2.1 ปัญหาเกี่ยวกับการทางาน 2.2 ปัญหาเกี่ยวกับการศึกษาเล่าเรียน 2.3 ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ 2.4 ปัญหาเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมทางสังคม 2.5 ปัญหาเกี่ยวกับที่อยู่อาศัย 2.6 ปัญหาเกี่ยวกับเศรษฐกิจและฐานะ 2.7 ปัญหาสัมพันธภาพกับครอบครัว 2.8 ปัญหาของสมาชิกในครอบครัว 2.9 อื่น ๆ 3. ท่านต้องการใช้บริการปรึกษาเพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าวหรือไม่  ต้องการ  ไม่ต้องการ 4. ความช่วยเหลืออื่น ๆ ที่ท่านต้องการ .............................................................................................................................................................................................................. ..............................................................................................................................................................................................................
  • 32. 32 อ้างอิง ดวงมณี จงรักษ์, 2549. ทฤษฎีการให้การปรึกษาและจิตบาบัดเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ ส.ส.ท. นิรันดร์ จุลทรัพย์. 2539. เอกสารคาสอนวิชาการแนะแนวเบื้องต้น. โครงการบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยศรีนคริ นทรวิโรฒ ภาคใต้. วัชรี ทรัพย์มี. 2531. การแนะแนวในโรงเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วัชรี ทรัพย์มี. 2549. ทฤษฎีให้บริการปรึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. จินตนา สิงขรอาจ. การให้คาปรึกษา (Counselling) : จิตเวชศาสตร์สาหรับนักศึกษาแพทย์ ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2546 ;329-336 ณัทธร พิทยรัตน์เสถียร. Counseling : ตาราจิตเวชเด็กและวัยรุ่น เล่ม 2 ชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น. 2550;249-254 นงพงา ลิ้มสุวรรณ. การให้คาแนะนาปรึกษา : จิตเวชศาสตร์รามาธิบดี พิมพ์ครั้งที่ 2 ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะ แพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล. 2548 ;381-392 ปริชวัน จันทรฺศิริ. การให้คาปรึกษา : ทักษะการสื่อสารเพื่อความเป็นเลิศด้านบริการทางการแพทย์ ศูนย์ฝึกอบรม ทักษะการสื่อสาร ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2551 ;13-24 มัฏฐวรรณ ลี้ยุทธานนท์. (2553). เอกสารประกอบการสอนวิชาการให้คาปรึกษาทางสุขภาพ. สุราษฎร์ธานี: วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี เอกสารประกอบการสอนเรื่อง การให้การปรึกษา (Counseling) ของดร.วัจนินทร์ โรหิตสุข ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล. 2544 เอกสารเรื่อง การให้คาปรึกษา (Counseling) ของจิราภา เวคะวนิชย์ นักจิตวิทยา หน่วยจิตเวชเด็ก ภาควิชากุมาร เวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล เอกสารเรื่อง Counseling technique สาหรับแพทย์ประจาบ้านและนักศึกษาแพทย์ โดยกลุ่มงานกุมารเวช ศาสตร์ เอกสาร นพ. เทอดศักดิ์ เดชคง เอกสารประกอบการสอนวิชาการให้คาปรึกษาทางสุขภาพ.