SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
Proceedings
The 3rd
CMU Graduate Research Conference
November 23, 2012
รายงานการประชุม
การประชุมเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษา
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ ๓
๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
HS-91
Proceedings The 3
rd
CMU Graduate Research Conference
การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปัจจัยเสี่ยงและปริมาณการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรเชียงใหม่-ลาพูน
Risk Factors and Quantification of Salmonella Contamination in Swine Farms,
Chiang Mai-Lamphun
กิตติพงษ์กุมภาพงษ์*
ดนัย สินธุยะ*
ณัฐกานต์อวัยวานนท์**
ดวงพร พิชผล***
ภานุวัฒน์ แย้มสกุล****
ประภาส พัชนี****
คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ
ทาการศึกษาปัจจัยเสี่ยงและปริมาณการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร โดยเก็บตัวอย่างจากอุจจาระสุกร
แม่พันธุ์ พ่อพันธุ์และสุกรในช่วงอายุ 3, 8, 12, 18 และ 24 สัปดาห์ ตามลาดับ และตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสุกรมา
เพาะเชื้อในห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาโดยวิธีการทางจุลชีววิทยา ทาการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อหา
ปัจจัยเสี่ยง ปริมาณการปนเปื้อนและการกระจายตัวของเชื้อซัลโมเนลลา ผลการศึกษาพบความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาที่
ช่วงอายุ12 สัปดาห์ สูงสุดที่ความชุกเฉลี่ยร้อยละ 41.23 (40/97,95% CI: 31.44-51.03) และมีค่าเฉลี่ยปริมาณการปนเปื้อนที่
2.08 Log10MPN/g (95% CI: 1.47-3.38) ตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมพบว่ารองเท้าผู้ปฏิบัติงานใกล้ชิดสุกรมีความชุกเฉลี่ยสูงสุด
ที่ร้อยละ 36.84 (7/19, 95% CI: 15.15-58.53) และมีค่าเฉลี่ยของการปนเปื้อนที่ 2.45 Log10MPN/g (95% CI: 1.55-3.38)
ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มคือ การนาสุกรใหม่เข้ามาเลี้ยงภายในฟาร์ม P=0.004
(OR=12.83, 95% CI: 2.15-76.44) และการมีหรือเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นภายในฟาร์ม P=0.027 (OR=6.4, 95% CI: 1.33-30.60)
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ
คาสาคัญ: ปัจจัยเสี่ยง, เชื้อซัลโมเนลลา, การปนเปื้อน, ฟาร์มสุกร
Abstract
The purpose of this study was to determine risk factors, quantification and distribution of Salmonella
contamination in swine farms. Pigs’ fecal samples were collected from breeders and pigs aged 3, 8, 12, 18 and 24 weeks
respectively, as well as samples from farm environment. Then all samples were cultured in a laboratory for Salmonella
detection using conventional microbiological method. Data was subjected to statistical analysis in order to risk factors,
contamination quantification, and Salmonella distribution. The findings revealed that, on average, the highest Salmonella
prevalence was demonstrated in pigs aged 12 weeks at 41.23 percent. The average contamination quantification was at
2.08 Log10MPN/g (95% CI: 1.47-3.38). From the environment samples, boots were found to contain the highest average
prevalence at 36.84 (95% CI: 1.55-3.38). Risk factors affecting Salmonella contamination in pig farms were having other
animals in farm P=0.027 (OR=6.4, 95% CI: 1.33-30.60) and introducing of new pigs’ which is considered to be one of
the critical routes for transmission of Salmonella P=0.004 (OR=12.83, 95% CI: 2.15-76.44).
Keywords: Risk factors, Salmonella, Contamination, Swine farms
*
นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สัตวแพทย์คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: 541431010@cmu.ac.th
*
นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สัตวแพทย์คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: danai_ohm@hotmail.com
**
นักวิจัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: a.nattakarn@gmail.com
***
ผู้ช่วยศาสตราจารย์(ดร.) ภาควิชาชีวศาสตร์และสัตวแพทย์สาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: dpichpol@gmail.com
****
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: ninunu@gmail.com
****
ผู้ช่วยศาสตราจารย์(ดร.) ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: patprapas@gmail.com
HS-92
Proceedings The 3
rd
CMU Graduate Research Conference
การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทนา
ซัลโมเนลลาเป็นแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค
อาหารเป็นพิษ ซึ่งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขอย่าง
กว้างขวางในหลายประเทศทั่วโลก(1)
ความรุนแรงของ
เชื้อทาให้เกิดอาการอุจจาระร่วง ปวดท้อง คลื่นไส้
อาเจียนและอาจพบมีอาการไข้ขึ้นสูงในผู้ป่ วยที่มี
ภูมิคุ้มกันต่า เช่น เด็ก คนชรา หญิงตั้งครรภ์และผู้ป่วยที่มี
ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึ่งในปี พ.ศ. 2550 ที่ประเทศ
สหรัฐอเมริกามีการรายงานจานวนผู้ป่ วยจากการติด
เชื้อซัลโมเนลลาสูงถึง 17,883 ราย(2)
ขณะที่ประเทศ
แคนาดาพบว่าเชื้อซัลโมเนลลาเป็นสาเหตุสาคัญอันดับ
สองที่ก่อให้เกิดโรคทางเดินอาหารอักเสบเฉียบพลัน(3)
สาหรับประเทศไทยจากรายงานการสอบสวน
โรคอาหารเป็นพิษในปี พ.ศ. 2548 พบมีผู้ป่ วยด้วยโรค
อาหารเป็นพิษจานวนทั้งสิ้น140,949รายและพบว่าเชื้อซัล
โมเนลลาเป็นสาเหตุสาคัญอันดับสองที่ก่อให้เกิดโรค
ดังกล่าว(4)
และในปี พ.ศ. 2555 จากรายงานของสานัก
ระบาดวิทยากรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขพบว่ามี
ผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษที่เกิดจากเชื้อซัลโมเนลลาสูง
ถึง87,557ราย(5)
การติดต่อและการแพร่ระบาดของเชื้อซัล
โมเนลลาสู่คนเกิดจากการได้รับเชื้อที่ปนเปื้ อนอยู่ใน
สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการบริโภคอาหารที่
ปนเปื้ อนเชื้อ(6)
ซึ่งเกิดการปนเปื้ อนระหว่างกระบวนการ
ผลิตอาหารหรือการปนเปื้ อนจากกระบวนการจัดเก็บและ
ถนอมอาหารที่ไม่ถูกสุขอนามัย อาหารที่มักพบมีการ
ปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลาได้แก่เนื้อสัตว์น้านมดิบเนย
แข็งช็อคโกแล็ตพืชผักประเภทถั่วงอกธัญพืชและน้า(7)
เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ถือเป็นแหล่งที่
สาคัญในการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในอาหารเนื่องจาก
เชื้อซัลโมเนลลาเป็นแบคทีเรียที่เจริญเติบโตในทางเดิน
อาหารของสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคแทบทุกชนิด
โดยเฉพาะสุกรดังรายงานการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาใน
กระบวนการผลิตสุกร เริ่มตั้งแต่กระบวนการก่อนการเก็บ
เกี่ยวการปนเปื้อนมาในวัตถุดิบอาหารสัตว์การได้รับการ
ถ่ายทอดเชื้อซัลโมเนลลาจากแม่สู่ลูกสุกรขุน การติดต่อ
และแพร่กระจายเชื้อในระหว่างการเลี้ยงระดับฟาร์มระดับ
โรงฆ่าและชาแหละสุกรและกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว
เริ่มตั้งแต่ระดับโรงงานแปรรูป ระดับค้าปลีกจนถึง
ผู้บริโภค ซึ่งในประเทศไทยได้มีการรายงานความชุกของ
การพบเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรแม่พันธุ์สูงถึงร้อยละ 20(8)
ในสุกรขุนพบร้อยละ 12.3(9)
ในโรงฆ่าและชาแหละสุกร
พบร้อยละ28(10)
สาเหตุหลักของการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาเกิด
จากการแพร่กระจายของสิ่งปฏิกูลจากระบบทางเดินอาหาร
สุกร ซึ่งโดยทางทฤษฎีหากกระบวนการฆ่าและชาแหละ
สุกรตามมาตรฐานที่ดีจะไม่พบการปนเปื้อนของสิ่งปฏิกูล
จากระบบทางเดินอาหารดังกล่าวออกมาปนเปื้ อนในเนื้อ
สุกร แต่ในทางปฏิบัติกลับพบว่าการควบคุมกระบวนการ
ฆ่าและชาแหละสุกรไม่สามารถลดปริมาณการปนเปื้ อน
ของเชื้อซัลโมเนลลาได้จริงโดยจะเห็นได้จากผลการศึกษา
ดังกล่าวข้างต้น ที่ยังพบการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาใน
เนื้อสุกรหลังจากกระบวนการฆ่าและชาแหละสุกร
แม้ว่าเชื้อซัลโมเนลลาสามารถถูกทาลายลงได้
ด้วยความร้อนที่อุณหภูมิอย่างต่า 70 องศาเซลเซียส เมื่อ
ผ่านความร้อนในการปรุงอาหารตามปกติ แต่ก็ยังคงพบ
ปัญหาการติดเชื้อซัลโมเนลลาจากอาหารปรุงสุกได้ ทั้งนี้
อาจเนื่องจากการให้ความร้อนไม่เหมาะสม โดยปริมาณ
เชื้อซัลโมเนลลาที่คาดว่าจะทาให้ป่วยมีปริมาณค่อนข้างต่า
โดยอยู่ที่ประมาณ 101
-103
เซลล์ ขึ้นอยู่กับชนิดและสาย
พันธุ์ของเชื้อ ดังนั้นการควบคุมเชื้อซัลโมเนลลาในทุก
ขั้นตอนการผลิตสุกรจึงถือเป็นสิ่งจาเป็นและการควบคุม
ปริมาณการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรระดับฟาร์ม
จึงถือเป็ นการป้ องกันการนาเชื้อซัลโมเนลลาเข้าสู่
กระบวนการฆ่าและชาแหละสุกรเป็นการป้ องกันตั้งแต่ต้น
สายการผลิต ซึ่งจะส่งผลให้การปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลา
ในเนื้อสุกรที่จะส่งต่อไปยังผู้บริโภคนั้น มีความปลอดภัย
มากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อหา
ปัจจัยเสี่ยง ปริมาณการปนเปื้ อนและการกระจายตัวของ
เชื้อซัลโมเนลลาในสุกรระดับฟาร์ม ซึ่งผู้ปฏิบัติงานใน
ฟาร์มสุกรสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษานี้ไป
ประยุกต์เพื่อปรับใช้ในการควบคุมปริมาณการปนเปื้ อน
เชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรต่อไป
HS-93
Proceedings The 3
rd
CMU Graduate Research Conference
การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระเบียบวิธีวิจัย
ตัวอย่างและการเก็บตัวอย่าง
การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ทาการศึกษาแบบ
ภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) ในฟาร์มสุกรพื้นที่
จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาพูน ทาการหาปัจจัยเสี่ยง
ในการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรโดยใช้
แบบสอบถามสัมภาษณ์เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยตรง
จานวน 100 ฟาร์ม และเก็บตัวอย่างอุจจาระสุกรพ่อแม่
พันธุ์ สุกรก่อนหย่านม สุกรเล็ก สุกรรุ่นและสุกรขุน โดย
ตัวอย่างที่เก็บจากสุกรแต่ละกลุ่มจะเก็บรวมเป็นหนึ่ง
ตัวอย่าง (Pool sample) เพื่อเป็นตัวแทนของกลุ่มสุกร
ภายในฟาร์มในการจาแนกสถานะการปนเปื้ อนเชื้อซัล
โมเนลลาของฟาร์มสุกรในแต่ละแห่ง
การหาปริมาณการปนเปื้อนและการกระจายตัว
ของเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร ทาการเก็บตัวอย่าง
จากฟาร์มสุกร 6 ฟาร์ม เป็นจานวนทั้งสิ้น 830 ตัวอย่าง
แบ่งเป็นตัวอย่างจากอุจจาระสุกร 642 ตัวอย่าง โดยเก็บ
ตัวอย่างอุจจาระสุกรในแต่ละช่วงอายุ (3, 8, 12, 18 และ
24 สัปดาห์) จากทวารหนักสุกรรายตัว (Individual) และ
ตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มได้แก่ น้าที่ให้สุกร
กิน อาหารและรางอาหาร พื้นโรงเรือน หัวก๊อกน้าที่ให้
สุกรกิน มือและรองเท้าบูทคนปฏิบัติงานใกล้ชิดกับตัว
สุกรเป็นจานวน 188 ตัวอย่าง
ในส่วนของตัวอย่างอาหารทาการเก็บตัวอย่าง
ปริมาณ 25 กรัม การเก็บตัวอย่างจากรางอาหาร พื้น
โรงเรือน หัวก๊อกน้าที่ให้สุกรกิน มือและรองเท้าของ
ผู้ปฏิบัติงานใกล้ชิดตัวสุกรภายในฟาร์ม ทาการเก็บโดย
ใช้วิธี Swab Technique ซึ่งจะใช้ก้านสาลีปลอดเชื้อเช็ด
บริเวณตัวอย่างเป็นพื้นที่ 100 ตารางเซนติเมตร อาหาร
สุกรทาการตรวจเพาะเชื้อเช่นเดียวกันกับตัวอย่างอุจจาระ
โดยตัวอย่างทั้งหมดจะถูกบรรจุลงในภาชนะปลอดเชื้อ
และปิดสนิทที่อุณหภูมิ 4-8 องศาเซลเซียส และทาการ
เพาะแยกเชื้อภายใน 24 ชั่วโมงในห้องปฏิบัติการ
หลังจากการเก็บตัวอย่างด้วยวิธีการทางจุลชีววิทยา
วิธีการทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Detection)
ตรวจหาปริมาณการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลา
โดยใช้วิธี Most Probable Number (MPN) ชนิด 3 หลอด
และทาการตรวจวิเคราะห์ตามมาตรฐาน ISO 6579:2002,
Amendment 1:2007, Annex D โดยการชั่งตัวอย่าง
ปริมาณ 25 กรัม ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Buffered
Peptone Water หรือ BPW 225 มิลลิลิตรหรืออัตราส่วน
1:10 แล้วตีผสมสารละลายให้เข้ากันด้วยเครื่อง
Stomacher เป็นเวลา 2 นาที บ่มในตู้ควบคุมอุณหภูมิ 37
องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นดูดสารละลาย
ตัวอย่างปริมาณ 100 ไมโครลิตร ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ
Modified Semi-solid Rappaport-Vassiliadis (MSRV)
แล้วนาไปบ่มที่อุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24
ชั่วโมง จากนั้นนาเชื้อที่ได้จาก MSRV ซึ่งมีลักษณะ
โคโลนีสีเทาขุ่นไปเพาะเลี้ยงต่อบนอาหารเลี้ยง Xylose
Lysine Deoycholate agar หรือ XLD agar และ Brilliant-
green Phenol-red Lactose Sucrode agar หรือ BPLS agar
บ่มในตู้ควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24
ชั่วโมง ส่วนตัวอย่างน้ากินสาหรับสุกรตวงน้าปริมาตร
100 มิลลิลิตรใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ BPW ที่มีความ
เข้มข้นสองเท่าหรืออัตราส่วน 1:10 และบ่มในตู้ควบคุม
อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้น
ดูดสารละลายตัวอย่างปริมาตร 100 ไมโครลิตรลงใน
อาหารเลี้ยงเชื้อ Rappaport-Vassiliadis หรือ RV broth 10
มิลลิลิตร และดูดสารละลายตัวอย่างปริมาตร 1 มิลลิลิตร
ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อTetrathionate หรือ TT broth 9
มิลลิลิตร เขย่าให้เข้ากันแล้วบ่มที่อุณหภูมิ 42 องศา
เซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง สาหรับ RV broth และบ่ม
ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24-48 ชั่วโมง
สาหรับ TT broth จากนั้นใช้ลวดเขี่ยเชื้อจุ่มลงอาหารเลี้ยง
เชื้อใน RV broth และ TT broth มาเพาะเลี้ยงต่อบน
อาหารเลี้ยงเชื้อ XLD agar และ BPLS agar และบ่มใน
ตู้ควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง
จากนั้นทาการพิสูจน์เชื้อซัลโมเนลลาโดยการทดสอบ
คุณสมบัติทางชีวเคมี ซึ่งเชื้อซัลโมเนลลาที่เพาะแยกได้
จะส่งไปยังศูนย์ซัลโมเนลลาและชิเจลลา ที่สถาบัน
HS-94
Proceedings The 3
rd
CMU Graduate Research Conference
การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อตรวจจาแนกชนิดซีโรทัยป์ และ
ความไวต่อยาต้านจุลชีพ
การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ (Statistical analysis)
ทาการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้เพื่อแสดงค่าความ
ชุกและค่าความชุกแบบช่วงทีระดับความเชื่อมั่น 95%
(95% Confident Interval) โดยใช้โปรแกรม PHStat 2.7
(Add-In for Microsoft Excel) จากนั้นทาการวิเคราะห์หา
ค่าความชุกของปริมาณการปนเปื้อนเชื้อเฉลี่ย (Average
Log10MPN/g) และลักษณะการกระจายตัวของการ
ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรที่ให้ผลบวกด้วย
โปรแกรม @Risk 5.5 (Palisade Corporation 798
Cascadilla Street Ithaca, New York 14850 U.S.A.)
เพื่อให้แสดงข้อมูลการกระจายตัวของความชุกและ
ปริมาณการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาเฉลี่ย การวิเคราะห์
ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงสัมพันธ์กับการปนเปื้ อนเชื้อซัล
โมเนลลาจากแบบสอบถามที่เก็บจากฟาร์มสุกร ทาการ
วิเคราะห์สถิติ Univariate โดยใช้โปรแกรม EpiInfoTM
7.1.0.6 (Centers for Disease Control and Prevention
(CDC) 1600 Clifton Rd. Atlanta, GA30333, U.S.A.)
ผลการวิจัยและอภิปรายผล
จากการศึกษาปัจจัยเสี่ยงภายในฟาร์ม เมื่อนา
ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ Univariate เพื่อ
หาค่า Chi-square และ Odd ratio ด้วยโปรแกรม
EpiInfoTM
7.1.0.6 พบว่ามี 6 ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการ
ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรอย่างมีนัยสาคัญ
ทางสถิติ (P<0.05) แสดงในตารางที่ 1
การมีบ่อน้ายาฆ่าเชื้อสาหรับจุ่มฆ่าเชื้อรองเท้า
ก่อนเข้าฟาร์มเป็ นปัจจัยป้ องกันความเสี่ยงในการ
ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร P=0.004
(OR=0.046, 95% CI: 0.004-0.049) ซึ่งสอดคล้องกับ
การศึกษาของ García-Feliz et al., (2009) ที่พบว่าระบบ
สุขอนามัยภายในฟาร์มมีส่วนช่วยลดปริมาณการ
ปนเปื้อนและการกระจายตัวของเชื้อซัลโมเนลลาภายใน
ฟาร์มได้ถึง 70 เปอร์เซ็นต์(11)
ทั้งนี้ผู้ปฏิบัติงานภายใน
ฟาร์มต้องใส่ใจและให้ความสาคัญกับการป้ องกันการ
แพร่กระจายของเชื้อเข้าสู่ฟาร์มโดยจัดให้มีบ่อน้ายาฆ่า
เชื้อสาหรับจุ่มฆ่าเชื้อรองเท้าก่อนเข้าฟาร์ม ในทุกฟาร์ม
และโรงเรือนควรมีรองเท้าสาหรับเปลี่ยนเข้าโรงเรือนใน
แต่ละโรงเรือน น้ายาฆ่าเชื้อควรเปลี่ยนเป็นประจา ซึ่ง
ปัจจัยป้ องกันดังกล่าวไม่เพียงแต่จะช่วยลดความเสี่ยงใน
การปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาเพียงอย่างเดียว แต่ยังจะ
ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการปนเปื้ อนและนาพาเชื้อชนิด
อื่นๆ เข้าสู่ฟาร์มได้อีกด้วย
การศึกษาของ Friendship (2012) ได้รายงานว่า
การบาบัดน้าก่อนนามาใช้ภายในฟาร์มและก่อนให้สุกร
กินช่วยลดความเสี่ยงต่อการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลา
ภายในฟาร์มและตัวสุกรได้ อีกทั้งยังช่วยลดการ
แพร่กระจายเชื้อชนิดอื่นด้วย(12)
ซึ่งสอดคล้องกับ
การศึกษาในครั้งนี้ที่พบว่า การบาบัดน้าก่อนนามาใช้
ภายในฟาร์มและก่อนให้สุกรกินช่วยลดปริมาณการ
ปนเปื้ อนและแพร่กระจายเชื้อซัลโมเนลลาลงได้อย่างมี
นัยสาคัญ P=0.02 (OR=0.011, 95% CI: 0.02-0.62)
การเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นหรือการปล่อยให้สัตว์
ชนิดอื่นเข้ามาภายในฟาร์มจากการศึกษาของ Julie
(2004) ได้รายงานว่าการเลี้ยงหรือปล่อยให้สัตว์ชนิดอื่น
เข้ามาอาศัยภายในฟาร์มเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่ก่อให้เกิด
การปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มและตัวสุกรได้
สูงถึง 50 เปอร์เซ็นต์(13)
และการศึกษาของ Davies et al.,
(1997) พบว่าการปล่อยให้แมวเข้ามาอาศัยภายในฟาร์ม
เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อบริเวณฟาร์ม
ได้อย่างมีนัยสาคัญยิ่ง P=0.001(14)
ซึ่งสอดคล้องกับ
การศึกษาครั้งนี้ที่พบว่าการเลี้ยงหรือการมีสัตว์ชนิดอื่น
อาศัยภายในฟาร์มถือเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดการ
ปนเปื้อนและแพร่กระจายเชื้อซัลโมเนลลามากกว่าฟาร์ม
ที่ไม่มีการเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นภายในฟาร์มถึง 6.4 เท่า
P=0.027 (OR=6.4, 95% CI: 1.33-30.6)
การกาจัดซากสุกรที่ตายภายนอกฟาร์มเป็น
ปัจจัยป้ องกันการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์ม
P=0.009 (OR=0.06, 95% CI: 0.007-0.62) เนื่องจากจะ
ช่วยลดการแพร่กระจายและวงจรการหมุนเวียนของเชื้อ
ภายในฟาร์มลงได้ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ
HS-95
Proceedings The 3
rd
CMU Graduate Research Conference
การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Friendship (2012) ที่พบว่าหากนาซากสุกรที่ตายแล้วไป
กาจัดภายนอกฟาร์มจะสามารถช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในการ
ปนเปื้ อนและแพร่กระจายเชื้อภายในฟาร์มได้และไม่
เฉพาะเพียงเชื้อซัลโมเนลลาอย่างเดียวแต่รวมถึงเชื้อชนิด
อื่นด้วย(12)
การนาสุกรจากฟาร์มอื่นที่อาจเป็นพาหะและ
ติดเชื้อเข้ามาเลี้ยงภายในฟาร์ม พบว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่
ก่อให้เกิดการปนเปื้ อนและติดเชื้อต่อตัวสุกรภายใน
ฟาร์มถึง 12 เท่าของฟาร์มที่ไม่มีการนาสุกรจากฟาร์มอื่น
เข้ามาเลี้ยงภายในฟาร์ม P=0.004 (OR=12.83, 95% CI:
2.15-76.44) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Friendship
(2012) ที่รายงานว่าไม่ควรนาสุกรจากฝูงอื่นเข้ามาเลี้ยง
ปะปนกับสุกรภายในฟาร์มเนื่องจากสุกรที่เป็นพาหะของ
เชื้อซัลโมเนลลามักจะไม่แสดงอาการและสามารถ
ถ่ายทอดเชื้อสู่สุกรและสิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มได้(12)
ในส่วนของการศึกษาความชุกและปริมาณการ
ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มพบว่าความชุก
ของการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาพบสูงสุดในสุกรช่วง
อายุ 12 สัปดาห์ ที่ร้อยละ 41.23 (40/97, 95% CI: 31.44-
51.03) และมีค่าเฉลี่ยการปนเปื้ อนอยู่ที่ 2.08
Log10MPN/g ดังแสดงในตารางที่ 2 ซึ่งให้ผลสอดคล้อง
กับการศึกษาของ García-Feliz et al.(2009) ที่พบค่าความ
ชุกของการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรขุนถึงร้อย
ละ 44(11)
ในส่วนของสิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มพบความ
ชุกของการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาบริเวณรองเท้า
ผู้ปฏิบัติงานใกล้ชิดตัวสุกรสูงสุดที่ร้อยละ 36.84 (7/19,
95% CI: 15.15-58.53) โดยมีค่าเฉลี่ยของการปนเปื้อนอยู่
ที่ 2.45 Log10MPN/g ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ
Dorn-In et al.(2009) ที่พบว่ารองเท้าที่ใส่สาหรับ
ปฏิบัติงานภายในฟาร์มเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญในการ
ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาและสามารถนาพาเชื้อเข้าสู่
ฟาร์มได้ถึงร้อยละ 38.6(15)
ในการศึกษาครั้งนี้ไม่พบการปนเปื้ อนจากมือ
ผู้ปฏิบัติงานภายในฟาร์ม ตัวอย่างน้าและอาหารสุกร
ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผู้ปฏิบัติงานมีการทาความสะอาดมือ
หลังจากเสร็จจากการทาความสะอาดฟาร์ม จึงทาให้ไม่
พบการปนเปื้อนบริเวณดังกล่าว สาหรับตัวอย่างน้าที่ไม่
พบการปนเปื้ อนเชื้อเนื่องจากเกษตรกรมีการบาบัดน้า
ก่อนนามาใช้และก่อนให้สุกรกิน สาหรับอาหารสุกร
สาเหตุที่ตรวจไม่พบเชื้ออาจเกิดจากการเก็บอาหารอย่าง
เป็นสัดส่วนในโรงเก็บ มีภาชนะใส่อาหารที่มีฝาปิ ด
มิดชิดและมีการป้ องการสัตว์อื่นเข้ามาในโรงเก็บอาหาร
จึงทาให้ไม่พบการปนเปื้อนในส่วนดังกล่าว
เมื่อนาตัวอย่างเชื้อบริสุทธิ์ที่เพาะแยกได้ใน
ห้องปฏิบัติการส่งตรวจเพื่อยืนยันชนิดของเชื้อและหา
ความไวต่อยาต้านจุลชีพที่ศูนย์ซัลโมเนลลาและชิเจลลา
สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ผล
การตรวจยืนยันซีโรทัยป์ ของเชื้อซัลโมเนลลาใน
การศึกษาครั้งนี้จานวน 104 ไอโซเลท พบ Salmonella
Rissen สูงสุดร้อยละ 34.6 รองลงมาเป็น Salmonella
Typhimurium และ Salmonella Anatum ในรูปที่ 1
การทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพพบว่า
เชื้อซัลโมเนลลามีความไวต่อยากลุ่ม Norfloxacin ร้อยละ
100 และพบว่าดื้อต่อยากลุ่ม Ampicillin (AMP) ร้อยละ
92.3 Streptomycin (S) ร้อยละ 88.46 และ Tetracycline
(TE) ร้อยละ 80.76 รูปที่ 2
สรุปผลการวิจัย
การศึกษาถึงปัจจัยเสี่ยง ปริมาณการปนเปื้ อนและ
การกระจายตัวของเชื้อซัลโมเนลลาครั้งนี้ พบรองเท้า
ผู้ปฏิบัติงานภายในฟาร์มสุกรเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญใน
การปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรและแพร่กระจาย
เชื้อภายในฟาร์ม ซึ่งนับว่าเป็นส่วนสาคัญอย่างมากใน
การจัดการและดูแลด้านความสะอาดในส่วนของ
สิ่งแวดล้อมภายในฟาร์ม ทั้งการควบคุมการเข้าออก
ฟาร์ม การควบคุมสัตว์อื่นภายในฟาร์ม ตลอดจนความ
ปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ซึ่งเกษตรกรผู้เลี้ยง
สุกรต้องตระหนักและนามาปฏิบัติภายในฟาร์ม ซึ่งจะ
ช่วยลดปัญหาและปัจจัยเสี่ยงของปริมาณการปนเปื้ อน
เชื้อภายในฟาร์มจากคน สัตว์และสิ่งแวดล้อมโดยรอบ
ของฟาร์มได้
HS-96
Proceedings The 3
rd
CMU Graduate Research Conference
การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กิตติกรรมประกาศ
คณะผู้วิจัยขอขอบคุณฝ่ายสนับสนุนการวิจัย
พัฒนาและวิศวกรรม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี
แห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการ
ดาเนินการวิจัยในครั้งนี้ (รหัสโครงการ P-10-10409)
ศูนย์ซัลโมเนลลาและชิเจลลากรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
กระทรวงสาธารณสุข ในการตรวจหาซีโรทัยป์ และ
ทดสอบความไวยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลา และ
ขอขอบคุณคณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตลอดจนบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการอานวยความสะดวก
ทาให้การศึกษาวิจัยครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
เอกสารอ้างอิง
1. Thorns CJ. Bacterial food-borne zoonoses.
Rev.Off. Int. Epizoot. 2000Apr; 19(1):226–39.
2. CDC. Preliminary FoodNet data on the incidence
of infection with pathogens transmitted commonly
through food-10 states, 2007. MMWR Morb.
Mortal. Wkly. Rep. 2008 Apr11; 57(14):366–70.
3. Thomas MK, Majowicz SE, Pollari F, Sockett PN.
Burden of acute gastrointestinal illness in Canada,
1999-2007: interim summary of NSAGI activities.
Can. Commun. Dis. Rep. 2008 May; 34(5):8–15.
4. Department of Epidemiology Ministry of Public
Health. Annual epidemiological surveillance
report 2005 [Internet]. 2012 [Updated 2005 Jan 1;
cited 2012 Jul 15]. Available from:
http://epid.moph.go.th/Annual/Annual48/Part1/An
nual_MenuPart1.html
5. Department of Epidemiology Ministry of Public
Health Annual epidemiological surveillance report
2012 [Internet]. 2012 [Updated 2012 May 31;cited
2012 Sep 24]. Available from:
http://www.boe.moph.go.th/boedb/d506_1/index.p
hp
6. Hedberg C. Food-related illness and death in the
United States. Emerging Infect. Dis. 1999 Dec;
5(6):840–2.
7. International Association of Milk. Procedures to
investigate foodborne illness. International
Association of Milk Food and Environmental
Sanitarians, Inc.; 1999.
8. Ruttayaporn Ngasaman. Prevalence of Salmonella
in breeder sows in Chiang Mai, [M.S.Thesis]:
Graduate School, Chiang Mai University ; Freie
Universitat Berlin; 2007.
9. Phengjai Sangvatanakul. Prevalence of Salmonella
in piglets and in the fattening period in Chiang
Mai, [M.S.Thesis]: Graduate School, Chiang Mai
University ; Freie Universitat Berlin; 2007.
10. Padungtod P, Kaneene JB. Salmonella in food
animals and humans in northern Thailand. Int. J.
Food Microbiol. 2006 May 1;108(3):346–54.
11. García-Feliz C, Carvajal A, Collazos JA, Rubio P.
Herd-level risk factors for faecal shedding of
Salmonella enterica in Spanish fattening pigs.
Prev. Vet. Med. 2009 Oct 1;91(2-4):130–6.
12. Friendship RM. Critical review of on–farm
intervention strategies against Salmonella
[Internet]. [Cited 2012 Sep 24]. Available from:
http://www.bpex.org.uk/R-and-D/R-and-D/On-
farm_intervention.aspx
13. Julie Funk WAG. Risk factors associated with
Salmonella prevalence of swine farms. J Swine
Health Prod. 2004 Feb16;2004(12):246–51.
14. Davies PR, Scott Hurd H, Funk JA, Fedorka-Cray
PJ, Jones FT. The role of contaminated feed in the
epidemiology and control of Salmonella enterica
in pork production. Foodborne Pathog. Dis.
2004;1(4):202–15.
15. Dorn-In S, Fries R, Padungtod P, Kyule MN,
Baumann MPO, Srikitjakarn L et al,. A cross-
sectional study of Salmonella in pre-slaughter pigs
in a productioncompartment of northern Thailand.
Prev. Vet. Med. 2009 Jan 1;88(1):15–23.
HS-97
Proceedings The 3
rd
CMU Graduate Research Conference
การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตารางที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรจากการวิเคราะห์สถิติชนิด Chi-square test (2
-test)
ปัจจัยที่มีผล
Statistical analysis
2
-test Simple logistic regression
P OR (95% CI)
การมีบ่อน้ายาฆ่าเชื้อจุ่มเท้าก่อนเข้าโรงเรือน 0.004 0.046 (0.004-0.047)
การบาบัดน้าก่อนนามาใช้ 0.029 0.13 (0.02-0.69)
การบาบัดน้าก่อนให้สุกรกิน 0.012 0.11 (0.02-0.62)
การเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นภายในฟาร์ม 0.027 6.4 (1.33-30.60)
การกาจัดซากสุกรภายนอกฟาร์ม 0.009 0.06 (0.007-0.62)
การนาสุกรอื่นที่เป็นพาหะของเชื้อเข้ามาเลี้ยงภายในฟาร์ม 0.004 12.83 (2.15-76.44)
ตารางที่ 2 ความชุก ปริมาณการปนเปื้อน และการกระจายตัวของเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร
หมายเหตุ 0หมายถึง ในการแจกแจงข้อมูลการกระจายตัวของปริมาณการปนเปื้อนเชื้อ (Log10 MPN/g) นั้นเลือกแบบการแจกแจงจากข้อมูลเท่าที่มีอยู่แล้ว
ทาบกับลักษณะการกระจายชนิดต่างๆโดยโปรแกรม @Risk (Fit distribution) มีข้อจากัดคือ ไม่สามารถแจกแจงข้อมูลในกรณีที่เป็นค่าซ้ากันและมีข้อมูล
น้อยกว่า 5 ค่าได้ซึ่งข้อมูลการกระจายตัวของเชื้อที่ระดับ MPN ในอาหาร น้า รางอาหารและมือผู้ปฏิบัติงานภายในฟาร์มเป็นค่าซ้ากันและมีข้อมูลน้อยกว่า 5
ค่าจึงไม่สามารถหาค่าการกระจายตัวได้
Type of sample
Prevalence
(%(n))
95% Confident
Interval
Average
Log10 MPN/g
95% Confident
Interval
Type of distribution
Feces Sow 23.75 (19/80) 14.42-33.07 2.07 1.44-4.04 "Normal"
Boar 22.58 (14/62) 12.17-32.98 2.36 1.47-3.38 "Normal"
3 weeks old 12.50 (10/80) 5.25-19.74 1.97 1.47-2.73 "Lognorm"
8 weeks old 17.89 (17/95) 10.18-25.60 1.69 1.47-1.92 "Lognorm"
12 weeks old 41.23 (40/97) 31.44-51.03 2.08 1.47-3.38 "Normal"
18 weeks old 25.00 (24/96) 16.33-33.66 2.02 1.47-2.80 "Normal"
24 weeks old 23.95 (23/96) 15.42-32.49 1.98 1.47-2.96 "Normal"
Environmental Feed 00.00 (0/19) 0 0 0 0
Water 00.00 (0/19) 0 0 0 0
Nipple 16.66 (5/30) 3.33-30.00 2.45 1.55-3.38 "Normal"
Feeder 13.33 (4/30) 1.16-25.49 2.45 - -
Floor 16.66 (5/30) 3.33-30.00 2.45 1.96-3.07 "Normal"
Workerhand 00.00 (0/19) 0 0 0 0
Workerboot 36.84 (7/19) 15.15-58.53 2.45 1.55-3.38 "Lognorm"
HS-98
Proceedings The 3
rd
CMU Graduate Research Conference
การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รูปที่ 1 เปอร์เซ็นต์ที่พบซัลโมเนลลาในแต่ละซีโรทัยป์
รูปที่ 2 การทดสอบความไวยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลา
34.61%
29.8 %
8.65 %
5.76 %
5.76 %
4.8 %
4.8 %
2.88 %
0.96 %
0.96 %
0.96 %
0 5 10 15 20 25 30 35 40
Salmonella Rissen
Salmonella Typhimurium
Salmonella Anatum
Salmonella Weltevereden
Salmonella I.4,5,12:I:-
Salmonella Panama
Salmonella Lexington
Salmonella Weltevereden var 15+
Salmonella Augustenborg
Salmonella Krefeld
Salmonella I.4,12:I:-
92.3 %
88.5 %
80.76%
45.19%
24 %
6.7 %
5.7 %
1.9 %
0.9 %
0
0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100
Ampicillin
Streptomycin
Tetracycline
Sulfamethoxazole-Trimethoprim
Chloramphenicol
Cefotaxime
Amoxicillin-clavulanic acid
Ciprofloxacin
Nalidixic acid
Norfloxacin

More Related Content

Viewers also liked

the problem with Unions
the problem with Unionsthe problem with Unions
the problem with Unions
The Solar Biz
 

Viewers also liked (12)

A nonisolated three port dc–dc converter and three-domain control method for ...
A nonisolated three port dc–dc converter and three-domain control method for ...A nonisolated three port dc–dc converter and three-domain control method for ...
A nonisolated three port dc–dc converter and three-domain control method for ...
 
Steve jobs
Steve jobsSteve jobs
Steve jobs
 
TEAM building
TEAM buildingTEAM building
TEAM building
 
Enplus insert a4_16syf
Enplus insert a4_16syfEnplus insert a4_16syf
Enplus insert a4_16syf
 
Xtian art forms
Xtian art formsXtian art forms
Xtian art forms
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
Berlin Gay Bars
Berlin Gay BarsBerlin Gay Bars
Berlin Gay Bars
 
0
00
0
 
Sete hábitos inteligentes cultivados por grandes inovadores
Sete hábitos inteligentes cultivados por grandes inovadoresSete hábitos inteligentes cultivados por grandes inovadores
Sete hábitos inteligentes cultivados por grandes inovadores
 
the problem with Unions
the problem with Unionsthe problem with Unions
the problem with Unions
 
Scalable keyword search on large rdf data
Scalable keyword search on large rdf dataScalable keyword search on large rdf data
Scalable keyword search on large rdf data
 
Incentive based data sharing in delay tolerant mobile networks
Incentive based data sharing in delay tolerant mobile networksIncentive based data sharing in delay tolerant mobile networks
Incentive based data sharing in delay tolerant mobile networks
 

บทความประชุมวิชาการบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

  • 1. Proceedings The 3rd CMU Graduate Research Conference November 23, 2012 รายงานการประชุม การประชุมเสนอผลงานวิจัย ระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ ๓ ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๕
  • 2. HS-91 Proceedings The 3 rd CMU Graduate Research Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปัจจัยเสี่ยงและปริมาณการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรเชียงใหม่-ลาพูน Risk Factors and Quantification of Salmonella Contamination in Swine Farms, Chiang Mai-Lamphun กิตติพงษ์กุมภาพงษ์* ดนัย สินธุยะ* ณัฐกานต์อวัยวานนท์** ดวงพร พิชผล*** ภานุวัฒน์ แย้มสกุล**** ประภาส พัชนี**** คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทคัดย่อ ทาการศึกษาปัจจัยเสี่ยงและปริมาณการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร โดยเก็บตัวอย่างจากอุจจาระสุกร แม่พันธุ์ พ่อพันธุ์และสุกรในช่วงอายุ 3, 8, 12, 18 และ 24 สัปดาห์ ตามลาดับ และตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมในฟาร์มสุกรมา เพาะเชื้อในห้องปฏิบัติการ เพื่อตรวจหาเชื้อซัลโมเนลลาโดยวิธีการทางจุลชีววิทยา ทาการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติเพื่อหา ปัจจัยเสี่ยง ปริมาณการปนเปื้อนและการกระจายตัวของเชื้อซัลโมเนลลา ผลการศึกษาพบความชุกของเชื้อซัลโมเนลลาที่ ช่วงอายุ12 สัปดาห์ สูงสุดที่ความชุกเฉลี่ยร้อยละ 41.23 (40/97,95% CI: 31.44-51.03) และมีค่าเฉลี่ยปริมาณการปนเปื้อนที่ 2.08 Log10MPN/g (95% CI: 1.47-3.38) ตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมพบว่ารองเท้าผู้ปฏิบัติงานใกล้ชิดสุกรมีความชุกเฉลี่ยสูงสุด ที่ร้อยละ 36.84 (7/19, 95% CI: 15.15-58.53) และมีค่าเฉลี่ยของการปนเปื้อนที่ 2.45 Log10MPN/g (95% CI: 1.55-3.38) ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มคือ การนาสุกรใหม่เข้ามาเลี้ยงภายในฟาร์ม P=0.004 (OR=12.83, 95% CI: 2.15-76.44) และการมีหรือเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นภายในฟาร์ม P=0.027 (OR=6.4, 95% CI: 1.33-30.60) อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ คาสาคัญ: ปัจจัยเสี่ยง, เชื้อซัลโมเนลลา, การปนเปื้อน, ฟาร์มสุกร Abstract The purpose of this study was to determine risk factors, quantification and distribution of Salmonella contamination in swine farms. Pigs’ fecal samples were collected from breeders and pigs aged 3, 8, 12, 18 and 24 weeks respectively, as well as samples from farm environment. Then all samples were cultured in a laboratory for Salmonella detection using conventional microbiological method. Data was subjected to statistical analysis in order to risk factors, contamination quantification, and Salmonella distribution. The findings revealed that, on average, the highest Salmonella prevalence was demonstrated in pigs aged 12 weeks at 41.23 percent. The average contamination quantification was at 2.08 Log10MPN/g (95% CI: 1.47-3.38). From the environment samples, boots were found to contain the highest average prevalence at 36.84 (95% CI: 1.55-3.38). Risk factors affecting Salmonella contamination in pig farms were having other animals in farm P=0.027 (OR=6.4, 95% CI: 1.33-30.60) and introducing of new pigs’ which is considered to be one of the critical routes for transmission of Salmonella P=0.004 (OR=12.83, 95% CI: 2.15-76.44). Keywords: Risk factors, Salmonella, Contamination, Swine farms * นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สัตวแพทย์คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: 541431010@cmu.ac.th * นักศึกษาสาขาวิทยาศาสตร์สัตวแพทย์คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: danai_ohm@hotmail.com ** นักวิจัย คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: a.nattakarn@gmail.com *** ผู้ช่วยศาสตราจารย์(ดร.) ภาควิชาชีวศาสตร์และสัตวแพทย์สาธารณสุข คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: dpichpol@gmail.com **** ผู้ช่วยศาสตราจารย์ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: ninunu@gmail.com **** ผู้ช่วยศาสตราจารย์(ดร.) ภาควิชาคลินิกสัตว์บริโภค คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ e-mail address: patprapas@gmail.com
  • 3. HS-92 Proceedings The 3 rd CMU Graduate Research Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ บทนา ซัลโมเนลลาเป็นแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค อาหารเป็นพิษ ซึ่งเป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขอย่าง กว้างขวางในหลายประเทศทั่วโลก(1) ความรุนแรงของ เชื้อทาให้เกิดอาการอุจจาระร่วง ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียนและอาจพบมีอาการไข้ขึ้นสูงในผู้ป่ วยที่มี ภูมิคุ้มกันต่า เช่น เด็ก คนชรา หญิงตั้งครรภ์และผู้ป่วยที่มี ภูมิคุ้มกันบกพร่อง ซึ่งในปี พ.ศ. 2550 ที่ประเทศ สหรัฐอเมริกามีการรายงานจานวนผู้ป่ วยจากการติด เชื้อซัลโมเนลลาสูงถึง 17,883 ราย(2) ขณะที่ประเทศ แคนาดาพบว่าเชื้อซัลโมเนลลาเป็นสาเหตุสาคัญอันดับ สองที่ก่อให้เกิดโรคทางเดินอาหารอักเสบเฉียบพลัน(3) สาหรับประเทศไทยจากรายงานการสอบสวน โรคอาหารเป็นพิษในปี พ.ศ. 2548 พบมีผู้ป่ วยด้วยโรค อาหารเป็นพิษจานวนทั้งสิ้น140,949รายและพบว่าเชื้อซัล โมเนลลาเป็นสาเหตุสาคัญอันดับสองที่ก่อให้เกิดโรค ดังกล่าว(4) และในปี พ.ศ. 2555 จากรายงานของสานัก ระบาดวิทยากรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขพบว่ามี ผู้ป่วยด้วยโรคอาหารเป็นพิษที่เกิดจากเชื้อซัลโมเนลลาสูง ถึง87,557ราย(5) การติดต่อและการแพร่ระบาดของเชื้อซัล โมเนลลาสู่คนเกิดจากการได้รับเชื้อที่ปนเปื้ อนอยู่ใน สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการบริโภคอาหารที่ ปนเปื้ อนเชื้อ(6) ซึ่งเกิดการปนเปื้ อนระหว่างกระบวนการ ผลิตอาหารหรือการปนเปื้ อนจากกระบวนการจัดเก็บและ ถนอมอาหารที่ไม่ถูกสุขอนามัย อาหารที่มักพบมีการ ปนเปื้อนของเชื้อซัลโมเนลลาได้แก่เนื้อสัตว์น้านมดิบเนย แข็งช็อคโกแล็ตพืชผักประเภทถั่วงอกธัญพืชและน้า(7) เนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ถือเป็นแหล่งที่ สาคัญในการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาในอาหารเนื่องจาก เชื้อซัลโมเนลลาเป็นแบคทีเรียที่เจริญเติบโตในทางเดิน อาหารของสัตว์ที่เลี้ยงเพื่อการบริโภคแทบทุกชนิด โดยเฉพาะสุกรดังรายงานการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาใน กระบวนการผลิตสุกร เริ่มตั้งแต่กระบวนการก่อนการเก็บ เกี่ยวการปนเปื้อนมาในวัตถุดิบอาหารสัตว์การได้รับการ ถ่ายทอดเชื้อซัลโมเนลลาจากแม่สู่ลูกสุกรขุน การติดต่อ และแพร่กระจายเชื้อในระหว่างการเลี้ยงระดับฟาร์มระดับ โรงฆ่าและชาแหละสุกรและกระบวนการหลังการเก็บเกี่ยว เริ่มตั้งแต่ระดับโรงงานแปรรูป ระดับค้าปลีกจนถึง ผู้บริโภค ซึ่งในประเทศไทยได้มีการรายงานความชุกของ การพบเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรแม่พันธุ์สูงถึงร้อยละ 20(8) ในสุกรขุนพบร้อยละ 12.3(9) ในโรงฆ่าและชาแหละสุกร พบร้อยละ28(10) สาเหตุหลักของการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาเกิด จากการแพร่กระจายของสิ่งปฏิกูลจากระบบทางเดินอาหาร สุกร ซึ่งโดยทางทฤษฎีหากกระบวนการฆ่าและชาแหละ สุกรตามมาตรฐานที่ดีจะไม่พบการปนเปื้อนของสิ่งปฏิกูล จากระบบทางเดินอาหารดังกล่าวออกมาปนเปื้ อนในเนื้อ สุกร แต่ในทางปฏิบัติกลับพบว่าการควบคุมกระบวนการ ฆ่าและชาแหละสุกรไม่สามารถลดปริมาณการปนเปื้ อน ของเชื้อซัลโมเนลลาได้จริงโดยจะเห็นได้จากผลการศึกษา ดังกล่าวข้างต้น ที่ยังพบการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาใน เนื้อสุกรหลังจากกระบวนการฆ่าและชาแหละสุกร แม้ว่าเชื้อซัลโมเนลลาสามารถถูกทาลายลงได้ ด้วยความร้อนที่อุณหภูมิอย่างต่า 70 องศาเซลเซียส เมื่อ ผ่านความร้อนในการปรุงอาหารตามปกติ แต่ก็ยังคงพบ ปัญหาการติดเชื้อซัลโมเนลลาจากอาหารปรุงสุกได้ ทั้งนี้ อาจเนื่องจากการให้ความร้อนไม่เหมาะสม โดยปริมาณ เชื้อซัลโมเนลลาที่คาดว่าจะทาให้ป่วยมีปริมาณค่อนข้างต่า โดยอยู่ที่ประมาณ 101 -103 เซลล์ ขึ้นอยู่กับชนิดและสาย พันธุ์ของเชื้อ ดังนั้นการควบคุมเชื้อซัลโมเนลลาในทุก ขั้นตอนการผลิตสุกรจึงถือเป็นสิ่งจาเป็นและการควบคุม ปริมาณการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรระดับฟาร์ม จึงถือเป็ นการป้ องกันการนาเชื้อซัลโมเนลลาเข้าสู่ กระบวนการฆ่าและชาแหละสุกรเป็นการป้ องกันตั้งแต่ต้น สายการผลิต ซึ่งจะส่งผลให้การปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลา ในเนื้อสุกรที่จะส่งต่อไปยังผู้บริโภคนั้น มีความปลอดภัย มากยิ่งขึ้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้เพื่อหา ปัจจัยเสี่ยง ปริมาณการปนเปื้ อนและการกระจายตัวของ เชื้อซัลโมเนลลาในสุกรระดับฟาร์ม ซึ่งผู้ปฏิบัติงานใน ฟาร์มสุกรสามารถนาความรู้ที่ได้จากการศึกษานี้ไป ประยุกต์เพื่อปรับใช้ในการควบคุมปริมาณการปนเปื้ อน เชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรต่อไป
  • 4. HS-93 Proceedings The 3 rd CMU Graduate Research Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ระเบียบวิธีวิจัย ตัวอย่างและการเก็บตัวอย่าง การศึกษาวิจัยในครั้งนี้ทาการศึกษาแบบ ภาคตัดขวาง (Cross-sectional study) ในฟาร์มสุกรพื้นที่ จังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดลาพูน ทาการหาปัจจัยเสี่ยง ในการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรโดยใช้ แบบสอบถามสัมภาษณ์เกษตรกรผู้เลี้ยงสุกรโดยตรง จานวน 100 ฟาร์ม และเก็บตัวอย่างอุจจาระสุกรพ่อแม่ พันธุ์ สุกรก่อนหย่านม สุกรเล็ก สุกรรุ่นและสุกรขุน โดย ตัวอย่างที่เก็บจากสุกรแต่ละกลุ่มจะเก็บรวมเป็นหนึ่ง ตัวอย่าง (Pool sample) เพื่อเป็นตัวแทนของกลุ่มสุกร ภายในฟาร์มในการจาแนกสถานะการปนเปื้ อนเชื้อซัล โมเนลลาของฟาร์มสุกรในแต่ละแห่ง การหาปริมาณการปนเปื้อนและการกระจายตัว ของเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร ทาการเก็บตัวอย่าง จากฟาร์มสุกร 6 ฟาร์ม เป็นจานวนทั้งสิ้น 830 ตัวอย่าง แบ่งเป็นตัวอย่างจากอุจจาระสุกร 642 ตัวอย่าง โดยเก็บ ตัวอย่างอุจจาระสุกรในแต่ละช่วงอายุ (3, 8, 12, 18 และ 24 สัปดาห์) จากทวารหนักสุกรรายตัว (Individual) และ ตัวอย่างจากสิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มได้แก่ น้าที่ให้สุกร กิน อาหารและรางอาหาร พื้นโรงเรือน หัวก๊อกน้าที่ให้ สุกรกิน มือและรองเท้าบูทคนปฏิบัติงานใกล้ชิดกับตัว สุกรเป็นจานวน 188 ตัวอย่าง ในส่วนของตัวอย่างอาหารทาการเก็บตัวอย่าง ปริมาณ 25 กรัม การเก็บตัวอย่างจากรางอาหาร พื้น โรงเรือน หัวก๊อกน้าที่ให้สุกรกิน มือและรองเท้าของ ผู้ปฏิบัติงานใกล้ชิดตัวสุกรภายในฟาร์ม ทาการเก็บโดย ใช้วิธี Swab Technique ซึ่งจะใช้ก้านสาลีปลอดเชื้อเช็ด บริเวณตัวอย่างเป็นพื้นที่ 100 ตารางเซนติเมตร อาหาร สุกรทาการตรวจเพาะเชื้อเช่นเดียวกันกับตัวอย่างอุจจาระ โดยตัวอย่างทั้งหมดจะถูกบรรจุลงในภาชนะปลอดเชื้อ และปิดสนิทที่อุณหภูมิ 4-8 องศาเซลเซียส และทาการ เพาะแยกเชื้อภายใน 24 ชั่วโมงในห้องปฏิบัติการ หลังจากการเก็บตัวอย่างด้วยวิธีการทางจุลชีววิทยา วิธีการทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory Detection) ตรวจหาปริมาณการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลา โดยใช้วิธี Most Probable Number (MPN) ชนิด 3 หลอด และทาการตรวจวิเคราะห์ตามมาตรฐาน ISO 6579:2002, Amendment 1:2007, Annex D โดยการชั่งตัวอย่าง ปริมาณ 25 กรัม ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Buffered Peptone Water หรือ BPW 225 มิลลิลิตรหรืออัตราส่วน 1:10 แล้วตีผสมสารละลายให้เข้ากันด้วยเครื่อง Stomacher เป็นเวลา 2 นาที บ่มในตู้ควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นดูดสารละลาย ตัวอย่างปริมาณ 100 ไมโครลิตร ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ Modified Semi-solid Rappaport-Vassiliadis (MSRV) แล้วนาไปบ่มที่อุณหภูมิ 42 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นนาเชื้อที่ได้จาก MSRV ซึ่งมีลักษณะ โคโลนีสีเทาขุ่นไปเพาะเลี้ยงต่อบนอาหารเลี้ยง Xylose Lysine Deoycholate agar หรือ XLD agar และ Brilliant- green Phenol-red Lactose Sucrode agar หรือ BPLS agar บ่มในตู้ควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง ส่วนตัวอย่างน้ากินสาหรับสุกรตวงน้าปริมาตร 100 มิลลิลิตรใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อ BPW ที่มีความ เข้มข้นสองเท่าหรืออัตราส่วน 1:10 และบ่มในตู้ควบคุม อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้น ดูดสารละลายตัวอย่างปริมาตร 100 ไมโครลิตรลงใน อาหารเลี้ยงเชื้อ Rappaport-Vassiliadis หรือ RV broth 10 มิลลิลิตร และดูดสารละลายตัวอย่างปริมาตร 1 มิลลิลิตร ใส่ลงในอาหารเลี้ยงเชื้อTetrathionate หรือ TT broth 9 มิลลิลิตร เขย่าให้เข้ากันแล้วบ่มที่อุณหภูมิ 42 องศา เซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง สาหรับ RV broth และบ่ม ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24-48 ชั่วโมง สาหรับ TT broth จากนั้นใช้ลวดเขี่ยเชื้อจุ่มลงอาหารเลี้ยง เชื้อใน RV broth และ TT broth มาเพาะเลี้ยงต่อบน อาหารเลี้ยงเชื้อ XLD agar และ BPLS agar และบ่มใน ตู้ควบคุมอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง จากนั้นทาการพิสูจน์เชื้อซัลโมเนลลาโดยการทดสอบ คุณสมบัติทางชีวเคมี ซึ่งเชื้อซัลโมเนลลาที่เพาะแยกได้ จะส่งไปยังศูนย์ซัลโมเนลลาและชิเจลลา ที่สถาบัน
  • 5. HS-94 Proceedings The 3 rd CMU Graduate Research Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาศาสตร์สุขภาพ เพื่อตรวจจาแนกชนิดซีโรทัยป์ และ ความไวต่อยาต้านจุลชีพ การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ (Statistical analysis) ทาการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้เพื่อแสดงค่าความ ชุกและค่าความชุกแบบช่วงทีระดับความเชื่อมั่น 95% (95% Confident Interval) โดยใช้โปรแกรม PHStat 2.7 (Add-In for Microsoft Excel) จากนั้นทาการวิเคราะห์หา ค่าความชุกของปริมาณการปนเปื้อนเชื้อเฉลี่ย (Average Log10MPN/g) และลักษณะการกระจายตัวของการ ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรที่ให้ผลบวกด้วย โปรแกรม @Risk 5.5 (Palisade Corporation 798 Cascadilla Street Ithaca, New York 14850 U.S.A.) เพื่อให้แสดงข้อมูลการกระจายตัวของความชุกและ ปริมาณการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาเฉลี่ย การวิเคราะห์ ข้อมูลปัจจัยเสี่ยงสัมพันธ์กับการปนเปื้ อนเชื้อซัล โมเนลลาจากแบบสอบถามที่เก็บจากฟาร์มสุกร ทาการ วิเคราะห์สถิติ Univariate โดยใช้โปรแกรม EpiInfoTM 7.1.0.6 (Centers for Disease Control and Prevention (CDC) 1600 Clifton Rd. Atlanta, GA30333, U.S.A.) ผลการวิจัยและอภิปรายผล จากการศึกษาปัจจัยเสี่ยงภายในฟาร์ม เมื่อนา ข้อมูลที่ได้จากแบบสอบถามมาวิเคราะห์ Univariate เพื่อ หาค่า Chi-square และ Odd ratio ด้วยโปรแกรม EpiInfoTM 7.1.0.6 พบว่ามี 6 ปัจจัยหลักที่มีผลต่อการ ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรอย่างมีนัยสาคัญ ทางสถิติ (P<0.05) แสดงในตารางที่ 1 การมีบ่อน้ายาฆ่าเชื้อสาหรับจุ่มฆ่าเชื้อรองเท้า ก่อนเข้าฟาร์มเป็ นปัจจัยป้ องกันความเสี่ยงในการ ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร P=0.004 (OR=0.046, 95% CI: 0.004-0.049) ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาของ García-Feliz et al., (2009) ที่พบว่าระบบ สุขอนามัยภายในฟาร์มมีส่วนช่วยลดปริมาณการ ปนเปื้อนและการกระจายตัวของเชื้อซัลโมเนลลาภายใน ฟาร์มได้ถึง 70 เปอร์เซ็นต์(11) ทั้งนี้ผู้ปฏิบัติงานภายใน ฟาร์มต้องใส่ใจและให้ความสาคัญกับการป้ องกันการ แพร่กระจายของเชื้อเข้าสู่ฟาร์มโดยจัดให้มีบ่อน้ายาฆ่า เชื้อสาหรับจุ่มฆ่าเชื้อรองเท้าก่อนเข้าฟาร์ม ในทุกฟาร์ม และโรงเรือนควรมีรองเท้าสาหรับเปลี่ยนเข้าโรงเรือนใน แต่ละโรงเรือน น้ายาฆ่าเชื้อควรเปลี่ยนเป็นประจา ซึ่ง ปัจจัยป้ องกันดังกล่าวไม่เพียงแต่จะช่วยลดความเสี่ยงใน การปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาเพียงอย่างเดียว แต่ยังจะ ช่วยลดปัจจัยเสี่ยงต่อการปนเปื้ อนและนาพาเชื้อชนิด อื่นๆ เข้าสู่ฟาร์มได้อีกด้วย การศึกษาของ Friendship (2012) ได้รายงานว่า การบาบัดน้าก่อนนามาใช้ภายในฟาร์มและก่อนให้สุกร กินช่วยลดความเสี่ยงต่อการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลา ภายในฟาร์มและตัวสุกรได้ อีกทั้งยังช่วยลดการ แพร่กระจายเชื้อชนิดอื่นด้วย(12) ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาในครั้งนี้ที่พบว่า การบาบัดน้าก่อนนามาใช้ ภายในฟาร์มและก่อนให้สุกรกินช่วยลดปริมาณการ ปนเปื้ อนและแพร่กระจายเชื้อซัลโมเนลลาลงได้อย่างมี นัยสาคัญ P=0.02 (OR=0.011, 95% CI: 0.02-0.62) การเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นหรือการปล่อยให้สัตว์ ชนิดอื่นเข้ามาภายในฟาร์มจากการศึกษาของ Julie (2004) ได้รายงานว่าการเลี้ยงหรือปล่อยให้สัตว์ชนิดอื่น เข้ามาอาศัยภายในฟาร์มเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญที่ก่อให้เกิด การปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มและตัวสุกรได้ สูงถึง 50 เปอร์เซ็นต์(13) และการศึกษาของ Davies et al., (1997) พบว่าการปล่อยให้แมวเข้ามาอาศัยภายในฟาร์ม เป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อบริเวณฟาร์ม ได้อย่างมีนัยสาคัญยิ่ง P=0.001(14) ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาครั้งนี้ที่พบว่าการเลี้ยงหรือการมีสัตว์ชนิดอื่น อาศัยภายในฟาร์มถือเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ทาให้เกิดการ ปนเปื้อนและแพร่กระจายเชื้อซัลโมเนลลามากกว่าฟาร์ม ที่ไม่มีการเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นภายในฟาร์มถึง 6.4 เท่า P=0.027 (OR=6.4, 95% CI: 1.33-30.6) การกาจัดซากสุกรที่ตายภายนอกฟาร์มเป็น ปัจจัยป้ องกันการปนเปื้อนเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์ม P=0.009 (OR=0.06, 95% CI: 0.007-0.62) เนื่องจากจะ ช่วยลดการแพร่กระจายและวงจรการหมุนเวียนของเชื้อ ภายในฟาร์มลงได้ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ
  • 6. HS-95 Proceedings The 3 rd CMU Graduate Research Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ Friendship (2012) ที่พบว่าหากนาซากสุกรที่ตายแล้วไป กาจัดภายนอกฟาร์มจะสามารถช่วยลดปัจจัยเสี่ยงในการ ปนเปื้ อนและแพร่กระจายเชื้อภายในฟาร์มได้และไม่ เฉพาะเพียงเชื้อซัลโมเนลลาอย่างเดียวแต่รวมถึงเชื้อชนิด อื่นด้วย(12) การนาสุกรจากฟาร์มอื่นที่อาจเป็นพาหะและ ติดเชื้อเข้ามาเลี้ยงภายในฟาร์ม พบว่าเป็นปัจจัยเสี่ยงที่ ก่อให้เกิดการปนเปื้ อนและติดเชื้อต่อตัวสุกรภายใน ฟาร์มถึง 12 เท่าของฟาร์มที่ไม่มีการนาสุกรจากฟาร์มอื่น เข้ามาเลี้ยงภายในฟาร์ม P=0.004 (OR=12.83, 95% CI: 2.15-76.44) ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Friendship (2012) ที่รายงานว่าไม่ควรนาสุกรจากฝูงอื่นเข้ามาเลี้ยง ปะปนกับสุกรภายในฟาร์มเนื่องจากสุกรที่เป็นพาหะของ เชื้อซัลโมเนลลามักจะไม่แสดงอาการและสามารถ ถ่ายทอดเชื้อสู่สุกรและสิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มได้(12) ในส่วนของการศึกษาความชุกและปริมาณการ ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาภายในฟาร์มพบว่าความชุก ของการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาพบสูงสุดในสุกรช่วง อายุ 12 สัปดาห์ ที่ร้อยละ 41.23 (40/97, 95% CI: 31.44- 51.03) และมีค่าเฉลี่ยการปนเปื้ อนอยู่ที่ 2.08 Log10MPN/g ดังแสดงในตารางที่ 2 ซึ่งให้ผลสอดคล้อง กับการศึกษาของ García-Feliz et al.(2009) ที่พบค่าความ ชุกของการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรขุนถึงร้อย ละ 44(11) ในส่วนของสิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มพบความ ชุกของการปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาบริเวณรองเท้า ผู้ปฏิบัติงานใกล้ชิดตัวสุกรสูงสุดที่ร้อยละ 36.84 (7/19, 95% CI: 15.15-58.53) โดยมีค่าเฉลี่ยของการปนเปื้อนอยู่ ที่ 2.45 Log10MPN/g ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Dorn-In et al.(2009) ที่พบว่ารองเท้าที่ใส่สาหรับ ปฏิบัติงานภายในฟาร์มเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญในการ ปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาและสามารถนาพาเชื้อเข้าสู่ ฟาร์มได้ถึงร้อยละ 38.6(15) ในการศึกษาครั้งนี้ไม่พบการปนเปื้ อนจากมือ ผู้ปฏิบัติงานภายในฟาร์ม ตัวอย่างน้าและอาหารสุกร ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผู้ปฏิบัติงานมีการทาความสะอาดมือ หลังจากเสร็จจากการทาความสะอาดฟาร์ม จึงทาให้ไม่ พบการปนเปื้อนบริเวณดังกล่าว สาหรับตัวอย่างน้าที่ไม่ พบการปนเปื้ อนเชื้อเนื่องจากเกษตรกรมีการบาบัดน้า ก่อนนามาใช้และก่อนให้สุกรกิน สาหรับอาหารสุกร สาเหตุที่ตรวจไม่พบเชื้ออาจเกิดจากการเก็บอาหารอย่าง เป็นสัดส่วนในโรงเก็บ มีภาชนะใส่อาหารที่มีฝาปิ ด มิดชิดและมีการป้ องการสัตว์อื่นเข้ามาในโรงเก็บอาหาร จึงทาให้ไม่พบการปนเปื้อนในส่วนดังกล่าว เมื่อนาตัวอย่างเชื้อบริสุทธิ์ที่เพาะแยกได้ใน ห้องปฏิบัติการส่งตรวจเพื่อยืนยันชนิดของเชื้อและหา ความไวต่อยาต้านจุลชีพที่ศูนย์ซัลโมเนลลาและชิเจลลา สถาบันวิทยาศาสตร์สุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข ผล การตรวจยืนยันซีโรทัยป์ ของเชื้อซัลโมเนลลาใน การศึกษาครั้งนี้จานวน 104 ไอโซเลท พบ Salmonella Rissen สูงสุดร้อยละ 34.6 รองลงมาเป็น Salmonella Typhimurium และ Salmonella Anatum ในรูปที่ 1 การทดสอบความไวต่อยาต้านจุลชีพพบว่า เชื้อซัลโมเนลลามีความไวต่อยากลุ่ม Norfloxacin ร้อยละ 100 และพบว่าดื้อต่อยากลุ่ม Ampicillin (AMP) ร้อยละ 92.3 Streptomycin (S) ร้อยละ 88.46 และ Tetracycline (TE) ร้อยละ 80.76 รูปที่ 2 สรุปผลการวิจัย การศึกษาถึงปัจจัยเสี่ยง ปริมาณการปนเปื้ อนและ การกระจายตัวของเชื้อซัลโมเนลลาครั้งนี้ พบรองเท้า ผู้ปฏิบัติงานภายในฟาร์มสุกรเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สาคัญใน การปนเปื้ อนเชื้อซัลโมเนลลาในสุกรและแพร่กระจาย เชื้อภายในฟาร์ม ซึ่งนับว่าเป็นส่วนสาคัญอย่างมากใน การจัดการและดูแลด้านความสะอาดในส่วนของ สิ่งแวดล้อมภายในฟาร์ม ทั้งการควบคุมการเข้าออก ฟาร์ม การควบคุมสัตว์อื่นภายในฟาร์ม ตลอดจนความ ปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) ซึ่งเกษตรกรผู้เลี้ยง สุกรต้องตระหนักและนามาปฏิบัติภายในฟาร์ม ซึ่งจะ ช่วยลดปัญหาและปัจจัยเสี่ยงของปริมาณการปนเปื้ อน เชื้อภายในฟาร์มจากคน สัตว์และสิ่งแวดล้อมโดยรอบ ของฟาร์มได้
  • 7. HS-96 Proceedings The 3 rd CMU Graduate Research Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กิตติกรรมประกาศ คณะผู้วิจัยขอขอบคุณฝ่ายสนับสนุนการวิจัย พัฒนาและวิศวกรรม ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยี แห่งชาติ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการ ดาเนินการวิจัยในครั้งนี้ (รหัสโครงการ P-10-10409) ศูนย์ซัลโมเนลลาและชิเจลลากรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ในการตรวจหาซีโรทัยป์ และ ทดสอบความไวยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลา และ ขอขอบคุณคณะสัตวแพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตลอดจนบุคลากรที่เกี่ยวข้องในการอานวยความสะดวก ทาให้การศึกษาวิจัยครั้งนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี เอกสารอ้างอิง 1. Thorns CJ. Bacterial food-borne zoonoses. Rev.Off. Int. Epizoot. 2000Apr; 19(1):226–39. 2. CDC. Preliminary FoodNet data on the incidence of infection with pathogens transmitted commonly through food-10 states, 2007. MMWR Morb. Mortal. Wkly. Rep. 2008 Apr11; 57(14):366–70. 3. Thomas MK, Majowicz SE, Pollari F, Sockett PN. Burden of acute gastrointestinal illness in Canada, 1999-2007: interim summary of NSAGI activities. Can. Commun. Dis. Rep. 2008 May; 34(5):8–15. 4. Department of Epidemiology Ministry of Public Health. Annual epidemiological surveillance report 2005 [Internet]. 2012 [Updated 2005 Jan 1; cited 2012 Jul 15]. Available from: http://epid.moph.go.th/Annual/Annual48/Part1/An nual_MenuPart1.html 5. Department of Epidemiology Ministry of Public Health Annual epidemiological surveillance report 2012 [Internet]. 2012 [Updated 2012 May 31;cited 2012 Sep 24]. Available from: http://www.boe.moph.go.th/boedb/d506_1/index.p hp 6. Hedberg C. Food-related illness and death in the United States. Emerging Infect. Dis. 1999 Dec; 5(6):840–2. 7. International Association of Milk. Procedures to investigate foodborne illness. International Association of Milk Food and Environmental Sanitarians, Inc.; 1999. 8. Ruttayaporn Ngasaman. Prevalence of Salmonella in breeder sows in Chiang Mai, [M.S.Thesis]: Graduate School, Chiang Mai University ; Freie Universitat Berlin; 2007. 9. Phengjai Sangvatanakul. Prevalence of Salmonella in piglets and in the fattening period in Chiang Mai, [M.S.Thesis]: Graduate School, Chiang Mai University ; Freie Universitat Berlin; 2007. 10. Padungtod P, Kaneene JB. Salmonella in food animals and humans in northern Thailand. Int. J. Food Microbiol. 2006 May 1;108(3):346–54. 11. García-Feliz C, Carvajal A, Collazos JA, Rubio P. Herd-level risk factors for faecal shedding of Salmonella enterica in Spanish fattening pigs. Prev. Vet. Med. 2009 Oct 1;91(2-4):130–6. 12. Friendship RM. Critical review of on–farm intervention strategies against Salmonella [Internet]. [Cited 2012 Sep 24]. Available from: http://www.bpex.org.uk/R-and-D/R-and-D/On- farm_intervention.aspx 13. Julie Funk WAG. Risk factors associated with Salmonella prevalence of swine farms. J Swine Health Prod. 2004 Feb16;2004(12):246–51. 14. Davies PR, Scott Hurd H, Funk JA, Fedorka-Cray PJ, Jones FT. The role of contaminated feed in the epidemiology and control of Salmonella enterica in pork production. Foodborne Pathog. Dis. 2004;1(4):202–15. 15. Dorn-In S, Fries R, Padungtod P, Kyule MN, Baumann MPO, Srikitjakarn L et al,. A cross- sectional study of Salmonella in pre-slaughter pigs in a productioncompartment of northern Thailand. Prev. Vet. Med. 2009 Jan 1;88(1):15–23.
  • 8. HS-97 Proceedings The 3 rd CMU Graduate Research Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ตารางที่ 1 ปัจจัยที่มีผลต่อการติดเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกรจากการวิเคราะห์สถิติชนิด Chi-square test (2 -test) ปัจจัยที่มีผล Statistical analysis 2 -test Simple logistic regression P OR (95% CI) การมีบ่อน้ายาฆ่าเชื้อจุ่มเท้าก่อนเข้าโรงเรือน 0.004 0.046 (0.004-0.047) การบาบัดน้าก่อนนามาใช้ 0.029 0.13 (0.02-0.69) การบาบัดน้าก่อนให้สุกรกิน 0.012 0.11 (0.02-0.62) การเลี้ยงสัตว์ชนิดอื่นภายในฟาร์ม 0.027 6.4 (1.33-30.60) การกาจัดซากสุกรภายนอกฟาร์ม 0.009 0.06 (0.007-0.62) การนาสุกรอื่นที่เป็นพาหะของเชื้อเข้ามาเลี้ยงภายในฟาร์ม 0.004 12.83 (2.15-76.44) ตารางที่ 2 ความชุก ปริมาณการปนเปื้อน และการกระจายตัวของเชื้อซัลโมเนลลาในฟาร์มสุกร หมายเหตุ 0หมายถึง ในการแจกแจงข้อมูลการกระจายตัวของปริมาณการปนเปื้อนเชื้อ (Log10 MPN/g) นั้นเลือกแบบการแจกแจงจากข้อมูลเท่าที่มีอยู่แล้ว ทาบกับลักษณะการกระจายชนิดต่างๆโดยโปรแกรม @Risk (Fit distribution) มีข้อจากัดคือ ไม่สามารถแจกแจงข้อมูลในกรณีที่เป็นค่าซ้ากันและมีข้อมูล น้อยกว่า 5 ค่าได้ซึ่งข้อมูลการกระจายตัวของเชื้อที่ระดับ MPN ในอาหาร น้า รางอาหารและมือผู้ปฏิบัติงานภายในฟาร์มเป็นค่าซ้ากันและมีข้อมูลน้อยกว่า 5 ค่าจึงไม่สามารถหาค่าการกระจายตัวได้ Type of sample Prevalence (%(n)) 95% Confident Interval Average Log10 MPN/g 95% Confident Interval Type of distribution Feces Sow 23.75 (19/80) 14.42-33.07 2.07 1.44-4.04 "Normal" Boar 22.58 (14/62) 12.17-32.98 2.36 1.47-3.38 "Normal" 3 weeks old 12.50 (10/80) 5.25-19.74 1.97 1.47-2.73 "Lognorm" 8 weeks old 17.89 (17/95) 10.18-25.60 1.69 1.47-1.92 "Lognorm" 12 weeks old 41.23 (40/97) 31.44-51.03 2.08 1.47-3.38 "Normal" 18 weeks old 25.00 (24/96) 16.33-33.66 2.02 1.47-2.80 "Normal" 24 weeks old 23.95 (23/96) 15.42-32.49 1.98 1.47-2.96 "Normal" Environmental Feed 00.00 (0/19) 0 0 0 0 Water 00.00 (0/19) 0 0 0 0 Nipple 16.66 (5/30) 3.33-30.00 2.45 1.55-3.38 "Normal" Feeder 13.33 (4/30) 1.16-25.49 2.45 - - Floor 16.66 (5/30) 3.33-30.00 2.45 1.96-3.07 "Normal" Workerhand 00.00 (0/19) 0 0 0 0 Workerboot 36.84 (7/19) 15.15-58.53 2.45 1.55-3.38 "Lognorm"
  • 9. HS-98 Proceedings The 3 rd CMU Graduate Research Conference การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ครั้งที่ 3 วันที่ 23 พฤศจิกายน 2555 ณ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ รูปที่ 1 เปอร์เซ็นต์ที่พบซัลโมเนลลาในแต่ละซีโรทัยป์ รูปที่ 2 การทดสอบความไวยาต้านจุลชีพของเชื้อซัลโมเนลลา 34.61% 29.8 % 8.65 % 5.76 % 5.76 % 4.8 % 4.8 % 2.88 % 0.96 % 0.96 % 0.96 % 0 5 10 15 20 25 30 35 40 Salmonella Rissen Salmonella Typhimurium Salmonella Anatum Salmonella Weltevereden Salmonella I.4,5,12:I:- Salmonella Panama Salmonella Lexington Salmonella Weltevereden var 15+ Salmonella Augustenborg Salmonella Krefeld Salmonella I.4,12:I:- 92.3 % 88.5 % 80.76% 45.19% 24 % 6.7 % 5.7 % 1.9 % 0.9 % 0 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 Ampicillin Streptomycin Tetracycline Sulfamethoxazole-Trimethoprim Chloramphenicol Cefotaxime Amoxicillin-clavulanic acid Ciprofloxacin Nalidixic acid Norfloxacin