SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
1
การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
(Data Communications and Computer Network)
2
การสื่อสารข้อมูล (Data Communications)
การสื่อสารข้อมูล คือ การรับ-ส่ง โอน ย้ายหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลและสารสนเทศระหว่างอุปกรณ์
สื่อสารต่างๆ ผ่านสื่อนาข้อมูล
3
องค์ประกอบพื้นฐานของระบบสื่อสารข้อมูล
1. ผู้ส่งสาร (Sender)
2. ผู้รับสาร (Receiver)
3. สาร (Message)
4. สื่อกลาง (Media)
5. โปรโตคอล (Protocol) และซอฟต์แวร์ (Software)
4
การสื่อสารข้อมูล
ผู้ส่ง ผู้รับ
ขั้นตอน 1
ขั้นตอน 2
...
ขั้นตอน 1
ขั้นตอน 2
...
โปรโตคอล โปรโตคอล
ข้อมูล
ตัวกลาง
โปรโตคอล (Protocol)
โปรโตคอล (Protocol) คือ มาตรฐานหรือข้อตกลงเกี่ยวกับการสื่อสารข้อมูลใน
ระบบเครือข่าย ซึ่งครอบคลุมถึงวิธีการและรูปแบบการส่งข้อมูล จังหวะเวลาใน
การส่งข้อมูล ลาดับการรับส่งข้อมูล และวิธีจัดการป้องกันความผิดพลาดต่าง ๆ
โปรโตคอลเปรียบเสมือนภาษาที่ใช้สื่อสารในระบบเครือข่าย ดังนั้นถ้าใช้
โปรโตคอลที่ต่างกันก็จะคุยกันไม่รู้เรื่อง เช่น TCP/IP, POP3, HTTP เป็นต้น
๑ภ฿ @& g)
นายพูดอะไร
ไม่รู้เรื่อง
6
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
ชนิดของสัญญาณข้อมูลสามารถจาแนกได้เป็น 2 ชนิดคือ
1. สัญญาณแอนะล็อก (Analog Signal)
1 รอบระดับสัญญาณ
เวลา
เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง มีลักษณะเป็นคลื่นไซน์ (sine wave) โดยแต่ละคลื่นจะมีความถี่และความเข้ม
ของสัญญาณที่ต่างกัน เมื่อนาสัญญาณข้อมูลเหล่านี้มาผ่านอุปกรณ์รับสัญญาณและแปลงสัญญาณ ก็จะได้
ข้อมูลที่ต้องการได้ตัวอย่างการส่งข้อมูลที่มีสัญญาณแบบแอนาล็อกคือ การส่งข้อมูลผ่านระบบโทรศัพท์
เฮิร์ต (hertz:Hz) คือหน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบแอนาล็อก วิธีวัดความถี่จะนับจานวนรอบ
ของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที เช่น สัญญาณข้อมูลที่มีความถี่ 60 Hz หมายถึงใน 1 วินาที สัญญาณมี
การเปลี่ยนแปลงระดับสัญญาณ 60 รอบ (ขึ้นและลงนับเป็น 1 รอบ)
7
ชนิดของสัญญาณข้อมูล
2. สัญญาณดิจิทัล (Digital Signal)
1 รอบระดับสัญญาณ
เวลา
1 0 1 1 0 0 0 1
สัญญาณดิจิทัลเป็นสัญญาณแบบไม่ต่อเนื่อง รูปแบบของสัญญาณมีความเปลี่ยนแปลงที่ไม่ปะติดปะต่อ
อย่างสัญญาณแอนะล็อก ในการสื่อสารด้วยสัญญาณดิจิทัลข้อมูลในคอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นเลขฐานสอง (0,1)
Bit rate เป็นอัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิทัล วิธีวัดความเร็วจะนับจานวนบิตข้อมูลที่ส่งได้ในช่วง
ระยะเวลา 1 วินาที เช่น 14,400 bps(bits per second) หมายถึงมีความเร็วในการส่งข้อมูลจานวน 14,400
บิตในระยะเวลา 1 วินาที
8
โมเด็ม (Modulation Demondulation : Modem)
โมเด็มเป็นอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณดิจิทัลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก
เรียกขั้นตอนนี้ว่า modulation และทาหน้าที่แปลงสัญญาณแอนะล็อกให้เป็นสัญญาณดิจิทัลเพื่อ
คอมพิวเตอร์จะได้นาไปประมวลผล ขั้นตอนนี้เรียกว่า demodulation โดยปกติสายโทรศัพท์ถูก
ออกแบบมาเพื่อส่งสัญญาณแอนะล็อก แต่เนื่องจากการสื่อสารของคอมพิวเตอร์ใช้สัญญาณดิจิทัลจึง
จาเป็นต้องใช้โมเด็มในการแปลงสัญญาณความเร็วในการสื่อสารข้อมูลของโมเด็มวัดเป็นบิตต่อวินาที
(bit per second:bps)
9
ทิศทางการส่งข้อมูล (Transmission Mode)
การส่งข้อมูลของระบบคอมพิวเตอร์ สามารถจาแนกทิศทางการส่งข้อมูลได้เป็น 3 รูปแบบ
1. การส่งข้อมูลแบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission)
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีผู้ส่งข้อมูลทาหน้าที่ส่งข้อมูลเพียงอย่างเดียว ผู้รับก็ทาหน้าที่รับข้อมูลอย่าง
เดียว เช่น การฟังวิทยุจากสถานีส่งวิทยุการส่งสัญญาณโทรทัศน์จากสถานีโทรทัศน์ไปยังเครื่องรับ
โทรทัศน์
Simplex
Data
Collection
Device
10
ทิศทางการส่งข้อมูล (Transmission Mode)
2. การส่งข้อมูลแบบกึ่งทางคู่ (Half-Duplex Transmission)
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของผู้รับและผู้ส่ง โดยแต่ละฝ่ายสามารถเป็นทั้งผู้
ส่งและผู้รับ แต่จะต้องสลับหน้าที่กันทาหน้าที่เป็นผู้ส่งและผู้รับพร้อมกันทั้งสองฝ่ายไม่ได้ลักษณะ
การส่งข้อมูลประเภทนี้เช่น การใช้วิทยุสื่อสาร (Walky-Talky)
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
11
ทิศทางการส่งข้อมูล (Transmission Mode)
3. การส่งข้อมูลแบบสองทิศทาง (Full-Duplex Transmission)
เป็นการสื่อสารข้อมูลที่มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลของทั้งผู้ส่งและผู้รับ โดยทั้งสองฝ่ายสามารถเป็น
ผู้รับและผู้ส่งได้ในเวลาเดียวกัน สามารถส่งข้อมูลได้พร้อมกัน เช่น การใช้โทรศัพท์ ทั้งสองฝ่ายพูดได้
พร้อมกันในเวลาเดียวกัน
คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์
ประเภทของสื่อนาสัญญาณ
สามารถแบ่งสื่อกลางได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. สื่อกลางประเภทเหนี่ยวนา (Guided media) หรือ
ระบบใช้สาย (Wired System )
2. สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้(Unaided media)
หรือระบบไร้สาย (Wireless System)
1. สื่อกลางประเภทเหนี่ยวนา (Guided media) หรือ
ระบบใช้สาย (Wired System )
1.1 สายคู่พันเกลียว (Twisted-Pair Cable)
• เป็นสายที่มีราคาถูกที่สุด
• ประกอบด้วยสายทองแดงขนาดบาง (1 มิลลิเมตร)
• มีฉนวนหุ้ม 2 เส้น นามาพันกันเป็นเกลียว
• ใช้กันแพร่หลายในระบบโทรศัพท์
สายคู่พันเกลียว มี 2 ประเภท คือ
• ใช้เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ไปยังอุปกรณ์สื่อสาร
• มีความยาวไม่เกิน 100 เมตร
• มีจานวนสายบิดเกลียวภายใน 4 คู่
1. สายคู่พันเกลียวแบบไม่มีสิ่งห่อหุ้ม (Unshielded Twisted Pair – UTP)
• มีการนาสายคู่พันเกลียวมารวมอยู่
• มีการเพิ่มฉนวนป้องกันสัญญาณรบกวน
• ป้องกันสัญญาณรบกวนต่างๆ
• ใช้ในระยะทางไกลกว่าสาย UTP
2. สายคู่พันเกลียวแบบมีสิ่งห่อหุ้ม (Shielded Twisted Pair – STP)
• เป็นสายชีลด์ที่หุ้มส่วนของตัวนาไว้
• มีภูมิต้านทานต่อสัญญาณรบกวนได้ดี
• เหมาะสาหรับใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมหรือที่มีสัญญาณรบกวนมาก
1.2 สายโคแอกเซียล ( Coaxial Cable)
1.3 สายใยแก้วนาแสง (Fiber optic cable)
• วัสดุที่ใช้ทาเส้นใยแก้วนาแสงมักเป็นสารประกอบประเภท
ซิลิก้า หรือ ซิลิกอนไดออกไซด์( SIO2 ) ซึ่งก็คือ แก้วบริสุทธิ์
นั่นเอง
2. มัลติโหมด
เส้นใยแก้วนาแสงมี 2 แบบ
1. ซิงเกิลโหมด
• เป็นการใช้ตัวนาแสงที่บีบลาแสง
ให้พุ่งตรงไปตามท่อแก้ว
• เป็นเส้นใยแก้วนาแสงที่มีลักษณะ
การกระจายแสงออกด้านข้างได้
• การใช้เส้นใยแก้วนาแสงจาเป็นต้องมีอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่รับและส่ง
สัญญาณแสง
• อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ในการส่งสัญญาณแสงหรือเป็นแหล่งกาเนิดแสงคือ
LED หรือเลเซอร์ไดโอด
• อุปกรณ์ส่งแสงนี้ทาหน้าที่เปลี่ยนคลื่นไฟฟ้าให้เป็นคลื่นแสง
• อุปกรณ์รับแสงและเปลี่ยนกลับมาเป็นสัญญาณไฟฟ้า คือโฟโต้ไดโอด
ตัวส่งแสงและรับแสง
อุปกรณ์ตัวรับและตัวส่งแสงนี้มักทามาสาเร็จเป็นโมดูล โดยเฉพาะ
เชื่อมต่อเข้ากับสัญญาณข้อมูลที่เป็นไฟฟ้าได้โดยตรง และทาให้สะดวก
ต่อการใช้งาน
โครงสร้างของเส้นใยแก้วนาแสง
ข้อดี ของเส้นใยแก้วนาแสง
- ความสามารถในการรับส่งข้อมูลข่าวสาร
- กาลังสูญเสียต่า
- คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้
- น้าหนักเบา
- ขนาดเล็ก
- มีความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สิน
- มีความปลอดภัยในเรื่องข้อมูลสูงกว่า
- แตกหักได้ง่าย
- เส้นใยแก้วนาแสงมีราคาแพง
- เส้นใยแก้วนาแสงยังไม่สามารถใช้กับเครื่องที่ตั้งโต๊ะได้
ข้อเสีย ของเส้นใยแก้วนาแสง
• เป็นระบบที่ไม่ใช้สายสัญญาณเป็นตัวนาข้อมูล เช่น ระบบไมโครเวฟ
ระบบดาวเทียม ระบบอินฟราเรด ระบบคลื่นวิทยุ
• ความพิเศษของการใช้สื่อประเภทกระจายคลื่น คือ ความ
สะดวกสบายในเรื่องสถานที่ตั้งและสามารถติดตั้งได้อย่างรวดเร็ว
2. สื่อกลางที่กาหนดเส้นทางไม่ได้ (Unaided media) หรือ
ระบบไร้สาย (Wireless System)
ระบบไมโครเวฟ ( Microwave )
• ใช้วิธีส่งสัญญาณที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุเป็น
ทอดๆ จากสถานีหนึ่งไปยังอีกสถานีหนึ่ง
• อาจเรียกสัญญาณของไมโครเวฟว่า สัญญาณ
แบบเส้นสายตา ( Line of Sight )
• สัญญาณของไมโครเวฟ จะเดินทางเป็นเส้นตรง
• การตั้งสถานีทวนสัญญาณนั้น ส่วนใหญ่จะนิยม
ตั้งในพื้นที่สูงๆ
การทางานของไมโครเวฟภาคพื้นดิน
การทางานของไมโครเวฟเชื่อมต่อผ่านดาวเทียม
สัญญาณ Up-link สัญญาณ Down-link
ระบบดาวเทียม ( Satellite System )
เครือข่ายสื่อสารภาคพื้นดินส่วนประกอบหลักของระบบสื่อสาร
ดาวเทียม ได้แก่
• ดาวเทียม (Satellite หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า Spacecraft)
• สถานีควบคุมภาคพื้นดิน (Telemetry Tracking and Command
หรือ TT&C)
• สถานีเชื่อมต่อเครือข่ายสื่อสารภาคพื้นดิน (Earth Station หรือ
Gateway)
ข้อดีของระบบดาวเทียม
• ใช้เวลาในการติดตั้งน้อย
• สามารถติดต่อได้กับทุกตาแหน่งที่อยู่ในพื้นที่ ให้บริการของ
ดาวเทียม
• ไม่มีสัญญาณรบกวน (Noise) เนื่องจากเป็นการส่งที่ความถี่สูงมาก
• ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งต่อจุดคงที่
ข้อเสียของระบบดาวเทียม
• ความปลอดภัยของข้อมูลต่า
• สัญญาณที่รับ-ส่ง มี Propagation Delay
• ราคาลงทุนเริ่มต้นค่อนข้างสูง
• ความแปรปรวนของอากาศมีผลทาให้สัญญาณผิดเพื้ยนจากปกติได้
เปรียบเทียบการทางานของดาวเทียมกับไมโครเวฟ
ไมโครเวฟ ดาวเทียม
• สามาราถใช้ได้กับสถานีที่สามารถ
มองเห็นกันเท่านั้น
• ทางานแบบอาศัยสถานีต่าง ๆ เป็น
ตัวกลางในการส่งผ่านไปยังปลายทาง
• ต้องติดตั้งสถานีทั้งหมดตลอดเส้นทาง
ก่อนจึงสามารถใช้งานได้
• ระบบจะถูกรบกวนจากสภาพอากาศ
ไม่ดี
• สามารถใช้ได้กับทุกสถานีที่สามารถ
มองเห็นดาวเทียมได้
• หากมีสถานีใดเสียหายก็จะใช้ไม่ได้
เฉพาะสถานีนั้นเท่านั้น
• การติดตั้งจานดาวเทียมสามารถทาได้
ง่ายและรวดเร็ว
• ระบบจะถูกรบกวนจากสภาพอากาศ
ไม่ดี
ระบบอินฟราเรด (Infrared Transmission)
• ใช้เทคโนโลยีเช่นเดียวกับ Remote control
• ต้องใช้งานเป็นเส้นตรงระหว่างเครื่องรับและเครื่องส่ง
• มีระยะทางรับส่งที่ไม่ไกล
• ปัจจุบันมีการนามาใช้เป็นระบบเครือข่ายระยะใกล้ๆ
โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Transmission)
• โทรศัพท์เคลื่อนที่ (Cellular Transmission) จะอาศัยการส่ง
สัญญาณของโทรศัพท์เคลื่อนที่ในการส่งผ่านข้อมูล
• อุปกรณ์ชนิดนี้เป็นการสื่อสารสัญญาณเรียง ข้อมูล โดยใช้
คลื่นวิทยุในการสื่อสารกับเสาอากาศวิทยุในขอบเขตของพื้นที่
ที่กาหนดเรียกว่า เซล สัญญาณ cellular จะเดินทางจากเซลหนึ่งไปยัง
อีกเซลหนึ่ง
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Lan : WLAN )
• Wireless LAN หรือ ระบบเครือข่ายไร้สาย หรือระบบเครือข่าย WI-FI
(Wireless Fidelity)
• ใช้คลื่นวิทยุในการเชื่อมต่อเครือข่ายแทนสายสัญญาณ
• พัฒนาจากสถาบันวิศวกรไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ ( Institute of
Electrical and Electronics Engineering (IEEE) )
• มาตราฐาน IEEE 802.11
ระบบเครือข่ายไร้สาย (Wireless Lan : WLAN )
ข้อดีของ Wireless LAN
• สะดวกไม่ต้องการเจาะกาแพงหรือเดินสาย LAN
• เชื่อมต่ออุปกรณ์ไร้สายต่าง ๆ เข้ากับระบบเครือข่ายได้อย่างคล่องตัว
• ผู้ใช้งานตามบ้านเรือนที่พัก สามารถแชร์การใช้งานอินเทอร์เน็ตร่วมกันได้
• ผู้ใช้งานภายในองค์กร สามารถนามาใช้เพื่อเพิ่มผลิตผลของการทางานของ
พนักงาน ลดค่าใช้จ่ายของการวางสายนาสัญญาณ ใช้ขยายขอบเขตการใช้งาน
เครือข่ายเดิมให้มีความยืดหยุ่น
เครื่องมือ/อุปกรณ์ สาหรับ Wireless LAN
• สถานีฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless Access Point)
• อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
• การ์ดเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Card )
• อุปกรณ์เชื่อมโยงอื่น ๆ
สถานีฐานเครือข่ายไร้สาย (Wireless Access Point)
• เป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อและรับ-ส่งข้อมูลของสถานีงาน
• ทุกสถานีงานจะต้องอยู่ภายในรัศมีการใช้งานของ Access Point
• รัศมีใช้งานอยู่ระหว่าง 30 – 90 เมตร
การ์ดเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN Card )
• อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่เชื่อมต่ออุปกรณ์ไร้สาย (Wireless device) เข้ากับ
Access Point ผ่านเคลื่อนวิทยุ
• ควบคุมการรับ-ส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ไร้สาย (Wireless device)
กับเครือข่ายไร้สาย (Wireless LAN)
มาตรฐาน Wireless LAN
• อยู่ภายใต้มาตรฐาน IEEE 802.11
• กาหนดโดยสถาบันวิศวกรไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์: (Institute of
Electrical and Electronics Engineering (IEEE))
• กาหนดให้อุปกรณ์รับ-ส่งข้อมูลที่ความเร็ว 1, 2, 5, 11 และ 54 Mbps
• สื่อกลางที่ใช้ได้แก่ คลื่นวิทยุที่ความถี่สาธารณะ 2.4 GHz, 5 GHz
ประเทศไทยใช้คลื่นวิทยุที่ความถี่ 2.4 GHz
มาตรฐาน Wireless LAN แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
IEEE802.11a
• เข้าถึงข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุด 54 Mbps
• ที่คลื่นความถี่วิทยุ 5 GHz
IEEE802.11b
• เข้าถึงข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุด 11 Mbps
• ที่คลื่นความถี่วิทยุ 2.4 GHz
IEEE802.11g
• เข้าถึงข้อมูลได้ด้วยความเร็วสูงสุด 54 Mbps
• ที่คลื่นความถี่วิทยุ 2.4 GHz
IEEE 802.11n เป็นมาตรฐานของเครือข่ายไร้สายที่คาดหมายกัน
ว่า จะเข้ามาแทนที่มาตรฐาน IEEE 802.11a, IEEE 802.11b และ
IEEE 802.11g ที่ใช้งานกันอยู่ในปัจจุบัน โดยให้อัตราความเร็ว
ในการรับส่งข้อมูลในระดับ 100 เมกะบิตต่อวินาที
ที่นี้หลายๆคนคงสงสัยว่า Pre-802.11n นี่ดีกว่า 802.11g
43
44
45
หลักเกณฑ์ในการเลือกสื่อกลาง
 อัตราเร็วในการส่งผ่านข้อมูล (Transmission rate)
 ระยะทาง (Distance)
 ค่าใช้จ่าย (Cost)
 ความสะดวกในการติดตั้ง (Easy of install)
 ความทนทานต่อสภาพแวดล้อม (Resistance to
environmental conditions)
ความหมายของเครือข่าย (Network)
เครือข่าย หรือ เน็ตเวิร์ก (Network) คือ ระบบที่มีคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่
2 เครื่องขึ้นไปเชื่อมต่อกัน โดยใช้สื่อกลาง และสามารถสื่อสารข้อมูล
กันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งทาให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่อง
สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลซึ่งกันและได้และใช้ทรัพยากรที่อยู่ใน
เครือข่ายร่วมกันได้และทาให้ประหยัดค่าใช้จ่ายได้เป็นจานวนมาก
เช่น เว็บ อีเมล FTP
ความสาคัญและประโยชน์ของระบบเครือข่าย
 สามารถใช้อุปกรณ์ร่วมกัน (Peripheral sharing )
 การใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน (Software sharing)
 การใช้ข้อมูลร่วมกัน (File sharing)
 การสื่อสารระหว่างบุคคล ( Electronic communication )
 ค่าใช้จ่าย (Cost )
 การบริหารเครือข่าย (Network Management )
 ระบบรักษาความปลอดภัย (Security system)
 เสถียรภาพของระบบ ( Stability )
 การสารองข้อมูล (Back up )

More Related Content

What's hot

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Wanphen Wirojcharoenwong
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)วิทยาลัยเทคนิคสุโขทัย
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายSisaketwittayalai School
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1อรยา ม่วงมนตรี
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407Pitchayut Wongsriphuak
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์Kalib Karn
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2อรยา ม่วงมนตรี
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4Chutikan Mint
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ดุลยวัต วิไลพันธุ์
 

What's hot (17)

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย(Data communication and networking system)
 
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่ายหน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
หน่วยที่ 4 อุปกรณ์เครือข่าย
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
คลื่นวิทยุ(กฤตัชญ์ หัตถกร)407
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2
 
แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4แบบฝึกหัดบทที่ 4
แบบฝึกหัดบทที่ 4
 
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
การสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

Similar to Unit1

การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!Nattha Nganpakamongkhol
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์Por Oraya
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์jzturbo
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksChangnoi Etc
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and networkNittaya Intarat
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารMrpopovic Popovic
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3SO Good
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลtumetr1
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารBeauso English
 

Similar to Unit1 (20)

Computer 1
Computer 1Computer 1
Computer 1
 
การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!การสื่อสารข้อมูล!!
การสื่อสารข้อมูล!!
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Supichaya
SupichayaSupichaya
Supichaya
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 8 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Ch4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networksCh4 communication and computer networks
Ch4 communication and computer networks
 
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 8 ตัวกลางในการสื่อสาร
 
Communication Concept 3
Communication Concept 3Communication Concept 3
Communication Concept 3
 
Ch4 communication and network
Ch4 communication and networkCh4 communication and network
Ch4 communication and network
 
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสารเทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
เทอม 1 คาบ 9 สื่อกลางในการสื่อสาร
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูลความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
ความรู้พื้นฐานของระบบการสื่อสารข้อมูล
 
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสารบทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
บทที่ 3 หลักการแนวคิดในการสื่อสาร
 
Lan 01
Lan 01Lan 01
Lan 01
 
Computer comunication
Computer comunicationComputer comunication
Computer comunication
 

Unit1