SlideShare a Scribd company logo
1 of 64
Download to read offline
ความไม่แน่นอนของการวัด
(Uncertainty of Measurements)
สาหรับการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค
ARC-SPARK OES
1
Present by นพดล สาลีสี
วัตถุประสงค์
2
1. เพื่อสามารถระบุแหล่งที่มาของความไม่แน่นอนสาหรับการ
ทดสอบ Arc-Spark OES
2. เพื่อให้สามารถคานวณความไม่แน่นอนได้อย่างถูกต้อง
3. เพื่อขอการรับรองห้องปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐาน
ISO/IEC17025
4. เพื่อถ่ายทอดการค้นหา แหล่งที่มา รวมถึงการคานวณค่า
ความไม่แน่นอนของการทดสอบ Arc-Spark OES ให้กับ
ลูกค้าต่างๆได้
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
3
อ้างอิงตามมาตรฐาน M3003
1. Random Error: ความไม่แน่นอน Type A (Type A
uncertainty)
2. Systematics Error: ความไม่แน่นอน Type B (Type B
uncertainty)
3. Combined Standard Uncertainty: รวมค่าความไม่แน่นอน
ของ Type A และ Type B
4. Expanded Uncertainty การรายงานค่าความไม่แน่นอน
(Uncertainty) จะรายงานในรูปของการขยาย โดยคูณค่า Kp
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
4
อ้างอิงตามมาตรฐาน M3003
1. Random Error
การดาเนินการทดสอบซ้า ตั้งแต่ 2 ครั้งขึ้นไปใน
ตัวอย่างชิ้นเดียวกัน
เช่น การทดสอบตัวอย่างจากกระบวนการผลิต มีข้อกาหนดให้ทาซ้า
จานวน 3 จุด 3
21
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
5
การหาค่าความไม่แน่นอน Type A หาจากค่าที่วัดได้โดยการทดสอบซ้าเริ่มจาก
*การหาค่าเฉลี่ยของการวัด จากสมการ
เมื่อ x คือค่าที่วัดได้
n คือจานวนครั้งของการวัด
*หาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากสมการ
*หาค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของตัวกลาง หรือค่าความไม่แน่นอนมาตรฐาน จากสมการ
1
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
6
อ้างอิงตามมาตรฐาน M3003
2. System metric Error
ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 แหล่งดังนี้
2.1 Resolution: ค่าต่าสุดที่เครื่องสามารถอ่านได้ เช่น
0.00001%, 0.0001%, 0.01 ppm, 0.1 bpm เป็นต้น โดยสามารถ
แสดงผลเป็นเอกสารได้
* ค่า Resolution ของตัวเครื่องค่าความไม่แน่นอนจาก Resolution
หาได้จากสูตร
2
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
7
อ้างอิงตามมาตรฐาน M3003
2. System metric Error
ซึ่งมีอยู่ด้วยกัน 3 แหล่งดังนี้
2.2 ค่าจากเครื่องทดสอบ (STD Error จาก Calibration Curve):
ผลรวมทั้งหมดของค่า Error ที่ได้จาก เป็นต้น โดยสามารถแสดงผลเป็น
เอกสารได้
*โดยค่า Tolerance ได้จาก Error จาก Base curve =
**สาหรับเครื่องทดสอบ ARL ให้ใช้ค่า Standard Error of Estimate = Tolerance
3
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
8
“Standard Error of Estimate. The SEE expressesthe qualityof the correlation fit. By default, and
accordingto the system parameter MVR: Use n-k in SEE calculation, it uses the followingformula:
or
where
D is the differencebetween the certifiedconcentration and thecalculatedconcentration
n is the number of samples
k is the number of parametersto calculate (i.e. number of polynomial(s)a0, a1, a2, a3 accordingto the
degree of the base curve + number of alpha coefficientsto calculate(unfixed))n-k is called "degreesof
freedom". If the system parameteris set to No, the formula uses n-2 instead of n-k.
Note: The smaller the SEE value, the betterthe fit of results. As this represents a measureof
accuracyof the method, the analyst may use this to judge that the calibration being shown
meets the needs of the user.”
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
9
สามารถดูรายละเอียดใน Base curve แล้วดึงมาใช้ได้เลย
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
10
2.3 ใบรับรองของวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
โดยผลจะมีการแสดงในใบรับรองที่เป็น RM หรือ CRM เท่านั้น
*ค่าความไม่แน่นอนของ Reference Material ที่ใช้ ซึ่งระบุไว้ในใบรับรอง หาได้จากสูตร
Coverage Factor หรือ kp จะถูกระบุอยู่ในใบรับรอง โดย
- ความเชื่อมั่นที่ 95% ส่วนมากที่นิยมใช้กันคือ 2
- ความเชื่อมั่นที่ 99% ส่วนมากที่นิยมใช้กันคือ 3
ส่วนมากผู้ผลิต RM/CRM ที่ได้การรับรอง ISO/IEC 17034 ใบรับรองจะมีการระบุให้ไว้อยู้แล้ว
4
11
12
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
13
3. Combine Uncertainty
ค่าความไม่แน่นอนของการวัดรวม (Combined Standard Uncertainty, Uc(y)) คือค่า
รวมของ Standard Uncertainty จากทั้ง Type A evaluation และ Type B components
ทั้งหมด โดยทาการรวมค่าจากสมการ :
Type A Type B
5
แหล่งที่มาของความไม่แน่นอน สาหรับ Arc-Spark OES
14
4. Expanded Uncertainty
การรายงานค่าความไม่แน่นอน (Uncertainty) จะรายงานในรูปของ Expanded
Uncertainty, U ซึ่งจะหาได้จาก การคูณ combined uncertainty ด้วย coverage factor,
k ตามสูตรได้ดังนี้
*กรณีต้องการคานวนค่า k หรือ kp (Coverage Factor) โดยต้องหา Degree of freedom
ก่อนดังสูตรนี้
โดย
จากนั้นนาไปเปิดตาราง หรือกาหนดที่ความเชื่อมั่น 95% ให้ k = 2
6
15
Degrees of Freedom Fraction p in percent
() 68.27(a) 90 95 95.45(a) 99 99.73(a)
1 1.84 6.31 12.71 13.97 63.66 235.80
2 1.32 2.92 4.30 4.53 9.92 19.21
3 1.20 2.35 3.18 3.31 5.84 9.22
4 1.14 2.13 2.78 2.87 4.60 6.62
5 1.11 2.02 2.57 2.65 4.03 5.51
6 1.09 1.94 2.45 2.52 3.71 4.90
7 1.08 1.89 2.36 2.43 3.50 4.53
8 1.07 1.86 2.31 2.37 3.36 4.28
9 1.06 1.83 2.26 2.32 3.25 4.09
10 1.05 1.81 2.23 2.28 3.17 3.96
11 1.05 1.80 2.20 2.25 3.11 3.85
12 1.04 1.78 2.18 2.23 3.05 3.76
13 1.04 1.77 2.16 2.21 3.01 3.69
14 1.04 1.76 2.14 2.20 2.98 3.64
15 1.03 1.75 2.13 2.18 2.95 3.59
16 1.03 1.75 2.12 2.17 2.92 3.54
17 1.03 1.74 2.11 2.16 2.90 3.51
18 1.03 1.73 2.10 2.15 2.88 3.48
19 1.03 1.73 2.09 2.14 2.86 3.45
20 1.03 1.72 2.09 2.13 2.85 3.42
25 1.02 1.71 2.06 2.11 2.79 3.33
30 1.02 1.70 2.04 2.09 2.75 3.27
35 1.01 1.70 2.03 2.07 2.72 3.23
40 1.01 1.68 2.02 2.06 2.70 3.20
45 1.01 1.68 2.01 2.06 2.69 3.18
50 1.01 1.68 2.01 2.05 2.68 3.16
100 1.005 1.660 1.984 2.025 2.626 3.077
 1.000 1.645 1.960 2.000 2.576 3.000
ตัวอย่างการคานวณหาค่าความไม่แน่นอนสาหรับ Arc-Spark OES
16
พนักงานทดสอบเครื่อง ทาการวัดค่าส่วนผสมของ Cu ที่อยู่ใน Aluminum
Alloy โดยการทดสอบค่าซ้า จานวน 3 ครั้งโดยได้ผลการทดสอบมีดังนี้
- ครั้งที่ 1 ได้ผลเท่ากับ 1.5500%
- ครั้งที่ 2 ได้ผลเท่ากับ 1.5700%
- ครั้งที่ 3 ได้ผลเท่ากับ 1.5400%
จงรายงานผลการทดสอบพร้อมทั้งค่าความไม่แน่นอนของการวัด ที่ความเชื่อมั่น 95%
ตัวอย่างการคานวณหาค่าความไม่แน่นอนสาหรับ Arc-Spark OES
17
1. ทาการหาค่าความไม่แน่นอน Type A หาจากค่าที่วัดได้โดยการทดสอบซ้าเริ่มจาก
ตัวอย่างการคานวณหาค่าความไม่แน่นอนสาหรับ Arc-Spark OES
18
หาค่าความไม่แน่นอนจากค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Type A) ตามสมการที่ 1 ดังนี้
2. ทาการหาค่าความไม่แน่นอน Type B จากทั้ง 3 แหล่งดังนี้
- จาก Resolution โดยค่าที่แสดงผลได้ต่าสุดของเครื่อง Arc-Spark OES เท่ากับ 0.0001% ตามสมการ
ที่ 2 ดังนี้
- จาก Tolerance ของตัวเครื่อง โดยค่า SEE ของ Base Curve = 0.0628% ตามสมการที่ 3 ดังนี้
ตัวอย่างการคานวณหาค่าความไม่แน่นอนสาหรับ Arc-Spark OES
19
- จากความไม่แน่นอนของ RM/CRM (ที่ระดับความเชื่อมั่นที่ 95%) เมื่อใช้ SS-383 BJ ซึ่งรายงานผล
Uncertainty เท่ากับ 0.06% สาหรับธาตุ Cu ตามสมการที่ 4 ดังนี้
3. ทาการ Combine ค่าความไม่แน่นอน Type A และ Type B ตามสมการที่ 5 ดังนี้
4. ทาการขยายโดย Explain Uncertainty โดยกาหนด k = 2 ที่ความเชื่อมั่น 95% ตามสมการที่ 6 ดังนี้
20
แบบฝึกหัดที่ 5
กาหนดให้เจ้าหน้าที่ทดสอบอลูมิเนียมอัลลอยที่ Method: Lab Accredit โดยทาการทดสอบ
ซ้าจานวน 3 ครั้ง มีผลการทดสอบของธาตุ Fe (Iron) ดังนี้
Run 1: 0.78561%
Run 2: 0.78405%
Run 3: 0.79001%
จงทาการรายงานผลการทดสอบพร้อมทั้งรายงานค่าความไม่แน่นอนของการวัดในครั้งนี้
หมายเหตุ
1. Resolution: 0.00001%
2. CRM ใบรับรอง SS-384 GT
3. Base Curve report for Fe channel
21
กาหนดให้เจ้าหน้าที่ทดสอบอลูมิเนียมอัลลอยที่ Method: Lab Accredit โดยทาการทดสอบ
ซ้าจานวน 3 ครั้ง มีผลการทดสอบของธาตุ Fe (Iron) ดังนี้
Run 1: 0.78561%, Run 2: 0.78405%, Run 3: 0.79001%
หาค่าเฉลี่ย
หาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
22
หาเบี่ยงเบนมาตรฐาน
หาความไม่แน่นอน Type A
23
Type A จากการทดสอบซ้า
สรุปผลสาหรับการคานวนค่าความไม่แน่นอน
สาหรับการทดสอบ Arc-Spark OES
24
1. เพื่อสามารถระบุแหล่งที่มาของความไม่แน่นอนสาหรับการ
ทดสอบ Arc-Spark OES
2. เพื่อให้สามารถคานวนความไม่แน่นอนได้อย่างถูกต้อง
3. เพื่อขอการรับรองห้องปฏิบัติการทดสอบตามมาตรฐาน
ISO/IEC17025
4. เพื่อถ่ายทอดการค้นหา แหล่งที่มา รวมถึงการคานวนค่า
ความไม่แน่นอนของการทดสอบ Arc-Spark OES ให้กับ
ลูกค้าต่างๆได้
P
P
P
P
การประกันคุณภาพ
สาหรับการทดสอบ Arc-Spark OES
ตามมาตรฐาน ISO/IEC17025
25
วัตถุประสงค์
26
1. เพื่อเข้าใจหลักการสาหรับการประกันคุณภาพสาหรับการ
ทดสอบ Arc-Spark OES
2. เพื่อให้เข้าใจหลักการควบคุมคุณภาพ Control Chart และ
การเปรียบเทียบผล
3. เพื่อถ่ายทอดและแนะนาการควบคุมคุณภาพภายในของการ
ทดสอบ Arc-Spark OES ให้กับลูกค้าต่างๆได้
การสร้างความมั่นใจในการใช้ได้ของผล
27
อ้างอิงถึงข้อกาหนด ISO17025:2017
7.7 การสร้างความมั่นใจในความใช้ได้ของผล
7.7.1 ห้องปฏิบัติการต้องมีขั้นตอนการดาเนินงานในการเฝ้าระวังความใช้ได้ของผล
ข้อมูลของผลการเฝ้าระวัง ต้องได้รับการบันทึกในลักษณะที่สามารถตรวจสอบแนวโน้ม
ได้ และถ้าทาได้ต้องนาเทคนิคทางสถิติมาใช้ในการ ทบทวนผล การเฝ้าระวังนี้จะต้อง
ได้รับการวางแผนและทบทวนและต้องรวมถึงสิ่งต่อไปนี้หรืออื่นๆที่เหมาะสม:
(ก) การใช้วัสดุอ้างอิงหรือวัสดุควบคุมคุณภาพ
(ข) การเลือกใช้เครื่องมืออื่น (Alternative Instrumentation) ที่ได้รับการสอบเทียบ
เพื่อให้ได้ผลที่สามารถสอบกลับได้
(ค) การตรวจสอบการทางานตามหน้าที่ของเครื่องมือทดสอบและเครื่องมือวัด
การสร้างความมั่นใจในการใช้ได้ของผล
28
(ง) การใช้มาตรฐานระดับใช้ตรวจสอบหรือใช้งาน (Check or Working standards)
พร้อมการทาแผนภูมิควบคุม (Control Charts) ถ้าสามารถทาได้
(จ) การตรวจสอบเครื่องมือวัดระหว่างการใช้งาน (Intermediate check)
(ฉ) การทดสอบซ้าโดยใช้วิธีเดิมหรือต่างวิธี
(ช) การทดสอบซ้าของตัวอย่างที่จัดเก็บไว้
(ซ) การหาสหสัมพันธ์ของผลที่ได้ สาหรับคุณลักษณะแตกต่างกันของตัวอย่าง
(ณ) ทบทวนผลที่รายงาน
(ญ) การเปรียบเทียบภายในห้องปฏิบัติการ (Intralaboratory comparisons)
(ฎ) การทดสอบตัวอย่างที่ผู้วิเคราะห์ไม่ทราบค่า (Blind sample)
การประกันคุณภาพภายใน
29
ทาการอ้างถึงมาตรฐานโดยการทา IQC (Internal Quality Control) เพื่อแสดง
Accuracy และ Precision ในการดาเนินการควบคุมกระบวนการนั้นๆ
โดยวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
- CRM (Certified Reference Material)
- RM (Reference Material)
- วัสดุอ้างอิงภายใน (Internal Standard) วัสดุอ้างอิงที่สร้างขึ้นเองที่อ้างอิงตาม
มาตรฐานหรือหลักการทางสถิติ เช่นตัวอย่างเดิม ตัวอย่าง Lot เดียวกัน หรือตัวอย่าง
บางส่วนที่แบ่งไว้
***สิ่งที่สาคัญคือการสอบกลับได้ของการวัดทางมาตรวิทยา (ข้อกาหนด
ISO17025:2017 ข้อที่ 6.5 Metrology traceability)
การประกันคุณภาพภายใน
30
สำหรับกำรควบคุมคุณภำพบำงหน่วยงำนมีนโยบำยใช้ค่ำควำมไม่แน่นอน
(Uncertainty) ของ RM/CRM ไปกำหนดเป็นเกณฑ์ (Acceptant Criteria)
***กรณีนี้สำมำรถทำได้เฉพำะเครื่องวิเครำะห์ทดสอบมีควำมสำมำรถเทียบเท่ำหรือ
มำกกว่ำ เครื่องมือวิเครำะห์ทดสอบที่ให้ค่ำของ RM/CRM จึงจะใช้ผลค่ำควำมไม่
แน่นอนนำไปพิจำรณำกับค่ำกลำงได้ เพรำะถ้ำผู้นำ RM/CRM ไปใช้กับเครื่องวิเครำะห์
ทดสอบมีควำมสำมำรถต่ำกว่ำจะใช้ค่าความไม่แน่นอนนาไปพิจารณากับค่ากลางไม่ได้
31
กำรประกันคุณภำพภำยใน
32
ในการดาเนินการควบคุม เฝ้าระวัง ติดตามสภาวะต่างๆของเครื่องทดสอบสามารถใช้
เครื่องมือในและวิธีการควบคุมหลากหลายวิธีขึ้นอยู่กับทรัพยากรและความสามารถของ
องค์กร ซึ่งในปัจจุบันในหลายๆห้องทดสอบ หรือในการควบคุมกระบวนการนิยมใช้คือ
แผนภูมิควบคุม (Control Chart) โดยผู้คิดค้นคือ Mr.Walter A. Shewhart นักฟิสิก,
วิศวกร, นักสถิติชาวอเมริกา มีฉายาว่า “father of statistical quality control” หรือใน
อุตสาหกรรมยานยนต์รู้จักในส่วนของ Statistical process control (SPC)
แผนภูมิควบคุม
33
แผนภูมิควบคุมนี้มีลักษณะเป็นแผ่นกราฟที่เขียนขึ้นล่วงหน้าโดยใช้ข้อมูล
สมบัติข้อใดข้อหนึ่งของผลการทดสอบที่ต้องการจะควบคุม
แผนภูมิควบคุม จะทาให้ผู้ทาการทดสอบทราบว่าผลการวิเคราะห์ทดสอบอยู่
ภายใต้การควบคุมหรือไม่ และยังสามารถทราบถึงการเปลี่ยนแปลงหรือแนวโน้มของการ
วิเคราะห์ทดสอบ
แผนภูมิควบคุม
34
ประเภทของแผนภูมิควบคุมแบ่งได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ ดังนี้
1. Variable Control Charts คือข้อมูลจากหน่วยวัด เช่น การวัดความยาว
ปริมาณของโลหะที่ผสมอยู่เป็นต้น
2. Attributes Control Charts คือข้อมูลมาจากหน่วยนับ เช่น การนับจานวน
ของเสีย หรือชิ้นงานที่ชารุดเป็นต้น
ประกอบด้วย 3 เส้นหลักๆคือ
1. Center Line คือเส้นกลาง หรือเส้น
เป้าหมาย
2. UCL คือเส้นขอบเขตควบคุมค่าสูง
3. LCLC คือเส้นขอบเขตควบคุมค่าต่า
แผนภูมิควบคุม
35
แผนภูมิควบคุมนี้มีลักษณะเป็นแผ่นกราฟที่เขียนขึ้นล่วงหน้าโดยใช้ข้อมูล
สมบัติข้อใดข้อหนึ่งของผลการทดสอบที่ต้องการจะควบคุม
แผนภูมิควบคุม จะทาให้ผู้ทาการทดสอบทราบว่าผลการวิเคราะห์ทดสอบอยู่
ภายใต้การควบคุมหรือไม่ และยังสามารถทราบถึงการเปลี่ยนแปลงหรือแนวโน้มของการ
วิเคราะห์ทดสอบ
สมบัติของตัวอย่างที่ใช้ทาแผนภูมิความคุม
1. RM/CRM คือข้อมูลจากหน่วยวัด เช่น การวัดความยาว ปริมาณของโลหะที่ผสมอยู่
เป็นต้น
2. มีความเป็นเนื้อเดียวกัน
3. มีความเสถียร
แผนภูมิควบคุม Variable Control Charts
37
มีอยู่ด้วยกัน 4 แบบดังนี้
1. X-R Chart : แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและพิสัย
2. X-S Chart : แผนภูมิควบคุมค่าเฉลี่ยและและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
3. X-Moving Range Chart : แผนภูมิควบคุมค่าวัดแต่ละค่าและพิสัยเคลื่อนที่
4. Median-R Chart : แผนภูมิควบคุมค่ามัธยฐานและพิสัย
แผนภูมิควบคุมถึงแม้ว่าจะมีหลายชนิดก็ตาม แต่ก็มีหลักเกณฑ์เดียวกันคือเป็น
แผนภูมิควบคุม 3 คือเป็นแผนภูมควบคุมที่มีระยะเส้นขอบควบคุมสูงหรือต่าจากเส้น
กลางเท่ากับ 3
38
Ref. Statistical Process Control 2nd Edition in the APPENDIX E of AIAG handbook for IATF16949 core tools
39
Ref. Statistical Process Control 2nd Edition in the APPENDIX E of AIAG handbook for IATF16949 core tools
40
ตัวอย่างแผนภูมิควบคุม X-R
ห ้องปฏิบัติการทดสอบ ทาการวิเคราะห์ RM ชื่อ D12-F เพื่อทาการเก็บข ้อมูลในการคานวณ Control Chart ในการ
ควบคุมคุณภาพของเครื่อง Arc-Spark OES โดยได ้ผลการวิเคราะห์ทดสอบดังนี้
No Date Status RUN1 RUN2 RUN3 SD R
1 14-Sep CLEAN 0.88210 0.92794 1.09391 0.96798 0.11144 0.21181
2 14-Sep NO CLEAN 1.04280 1.05409 0.95120 1.01603 0.05643 0.10289
3 15-Sep CLEAN 1.05947 0.95501 0.98263 0.99904 0.05412 0.10445
4 15-Sep NO CLEAN 1.02830 0.92502 0.92943 0.96092 0.05840 0.10328
5 16-Sep CLEAN 0.99956 0.98620 0.96433 0.98336 0.01779 0.03524
6 16-Sep NO CLEAN 1.02470 0.93903 1.03640 1.00004 0.05316 0.09737
7 17-Sep CLEAN 1.03896 0.92012 1.11459 1.02456 0.09804 0.19448
8 18-Sep CLEAN 0.97331 0.99228 0.94504 0.97021 0.02377 0.04724
9 18-Sep NO CLEAN 0.96174 0.97240 0.89886 0.94433 0.03974 0.07354
10 19-Sep CLEAN 1.03650 1.09420 1.03680 1.05583 0.03322 0.05770
0.99223 0.05461 0.10280
จานวน Sub Group = 3
41
จงคานวนหาค่าควบคุม
CLX = 0.992 %
CLR = 0.1028 %
ละ
A2 = 1.023 D3 = 0.000 D4 = 2.574
UCLX = 1.0974 %
LCLX = 0.8871 %
UCLR = 0.2646 %
LCLR = 0.0000 %
42
แบบฝึกหัดที่ 6
การสร้างความมั่นใจ
ในการใช้ได้ของผล
43
การสร้างความมั่นใจในการใช้ได้ของผล
44
อ้างอิงถึงข้อกาหนด ISO17025:2017
7.7 การสร้างความมั่นใจในความใช้ได้ของผล
7.7.2 ห้องปฏิบัติการต้องเฝ้าระวังความสามารถ โดยการเปรียบเทียบผลกับ
ห้องปฏิบัติการอื่น ถ้ามีและเหมาะสม การเฝ้าระวังนี้ต้องมีการวางแผน ทบทวน และต้อง
รวมถึงหนึ่งหรือสองวิธีต่อไปนี้ หรืออื่นๆที่เหมาะสม
(ก) การเข้าร่วมการทดสอบความชานาญ:
หมายเหตุ ISO 17043 มีข้อมูลเพิ่มเติมสาหรับการทดสอบความชานาญที่เป็นไปตาม
ข้อกาหนด ISO17043 ถือว่าเป็นผู้ให้บริการที่มีความสามารถ
ข) การเข้าร่วมในการเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการนอกเหนือจากการทดสอบ
ความขานาญ
45
สาหรับห้องปฏิบัติการที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน ISO17025 ต้องดาเนินการเข้าร่วม
กิจกรรมการระวังนี้ต้องมีการวางแผน ทบทวน และต้องรวมถึงหนึ่งหรือสองวิธีต่อไปนี้
หรืออื่นๆที่เหมาะสม
(ก) การเข้าร่วมการทดสอบความชานาญ:
หมายเหตุ ISO 17043 มีข้อมูลเพิ่มเติมสาหรับการทดสอบความชานาญที่เป็นไปตาม
ข้อกาหนด ISO17043 ถือว่าเป็นผู้ให้บริการที่มีความสามารถ
ข) การเข้าร่วมในการเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการนอกเหนือจากการทดสอบ
ความขานาญ
การสร้างความมั่นใจในการใช้ได้ของผล
46
สาหรับการทดสอบ Arc-Spark OES มีอยู่ด้วยกันดังนี้
1. กำรทวนสอบกรำฟมำตรฐำนโดยวัสดุอ้ำงอิงมำตรฐำน (Calibration
curve verify by RM/CRM)
2. กำรเปรียบเทียบผลระหว่ำงห้องปฏิบัติกำร (Inter-laboratory
Comparison)
3. กำรทดสอบควำมชำนำญ (Proficiency Testing)
การทวนสอบกราฟมาตรฐานโดยวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
การเทียบ CRM ก่อนวิเคราะห์งานจริง
47
ตัวอย่ำงที่ทรำบปริมำณกำรผสมของธำตุแล้ว
ค่ำควำมต่ำงที่เกิดจำกเส้น
ตรวจปริมำณ
ความเข้มแสง
ค่าวิเคราะห์
Y
X
ตัวอย่ำง มำตรฐำน
ค่ำมำตรฐำน
ปริมำณ
กำรผสม
อยู่ของธำตุ
การทวนสอบกราฟมาตรฐานโดยวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
ช่วงการใช้งาน (Working Range) ทาการทวนสอบโดย CRM
โดยการเช็คด้วย CRM 3 จุด ค่า ต่า,กลาง,สูง แต่ละกลุ่ม Alloy เพื่อดูความสัมพันธ์ของ
ค่า ต่า,กลาง,สูง
48
Concentration
Intensity
1000 4800 7200
0.05
0.30
0.50
0.44
0.10
Low
Point
Medium
Point
High
point
การทวนสอบกราฟมาตรฐานโดยวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
- การทดสอบความถูกต้อง (Accuracy & Precision)
49
- การทดสอบความเอนเอียง (Bias) “Accuracy Test”
*** หาค่าคืนกลับเฉลี่ยของการวัด (Recovery)
50Reference : การขอรับรองระบบ ISO/IEC17025 (ห้องปฏิบัติการSpectrometer) โดย ดร. วันดี ลือสายวงศ์
: ค่ำควำมเข้มข้นของธำตุที่ต้องกำรวัด ที่วัดได้จำกวัสดุอ้ำงอิง
: ค่ำควำมเข้มข้นของธำตุจำกวัสดุอ้ำงอิงรับรอง
“กำหนดค่ำ 100 ± 5%”
การทวนสอบกราฟมาตรฐานโดยวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
Range Low :SAX-544 F Mid :SAX-543 C High :SS-383 BJ
CRM Raw Data Recovery Raw Data Recovery Raw Data Recovery
Cert. 1.92 2.28 2.51
1 1.9090 0.9943 2.2718 0.9964 2.4870 0.9908
2 1.9181 0.9990 2.3040 1.0105 2.5044 0.9978
3 1.9139 0.9968 2.3190 1.0171 2.5020 0.9968
4 1.9042 0.9918 2.2971 1.0075 2.5272 1.0069
5 1.8965 0.9878 2.2715 0.9963 2.5124 1.0010
6 1.9116 0.9956 2.2713 0.9962 2.4964 0.9946
7 1.9139 0.9968 2.2748 0.9977 2.4792 0.9877
8 1.9165 0.9982 2.3040 1.0105 2.4765 0.9867
9 1.9031 0.9912 2.2898 1.0043 2.4776 0.9871
10 1.9007 0.9899 2.2969 1.0074 2.5013 0.9965
Max 1.9181 2.319 2.5272
Min 1.8965 2.2713 2.4765
Mean 1.9088 0.9941 2.2900 1.0044 2.4964 0.9946
SD 0.0073 0.0169 0.0165
SDRecovery 0.0058
%Recovery 99.41 100.44 99.46
Accuracy Test: การคานวณหาค่า Recovery ของ Cu
51
Precision Test
- การทดสอบความเที่ยงตรง (Precision)
ใช้ข้อมูล %RSD (Percentage Relative Standard Deviation) ของข้อมูลอย่างน้อย 10 ซ้าในการ
ประมวลผล
52
Range Low Conc. Mid Conc. High Conc.
CRM SAX-544 F SAX-543 C SS-383 BJ
Cert. 1.92 2.28 2.51
Uc(x) ±0.04 ±0.05 ±0.06
1 1.9090 2.2718 2.4870
2 1.9181 2.3040 2.5044
3 1.9139 2.3190 2.5020
4 1.9042 2.2971 2.5272
5 1.8965 2.2715 2.5124
6 1.9116 2.2713 2.4964
7 1.9139 2.2748 2.4792
8 1.9165 2.3040 2.4765
9 1.9031 2.2898 2.4776
10 1.9007 2.2969 2.5013
Mean 1.9088 2.2900 2.4964
SD 0.0073 0.0169 0.0165
%RSD 0.3811 0.7401 0.6620
ทดสอบช่วงการใช้งานของ Cu
Precision ของ
Range Cu
1.92 – 2.51
เท่ากับ 0.7401%
- การทดสอบความเที่ยงตรง (Precision)
Relative Standard Deviation Limit
ที่มา JIS H 1305 : 2005 Method for Optical Emission Spectrochemical analysis of
Aluminium and Aluminium Alloy
53
Percentage Content Upper Limit of Relative
of Component Standard Deviation
Under 0.01 3
0.01 - 0.1 2
Over 0.1 1
Precision ของ
Range Cu
1.92 – 2.51
เท่ากับ 0.7401%
การทวนสอบกราฟมาตรฐานโดยวัสดุอ้างอิงมาตรฐาน
54
การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ (Inter-Laboratory Comparison)
การเปรียบเทียบผลการวัดระหว่างห้องปฏิบัติการเป็นการ ประเมินและ
ทดสอบความสามารถในการวัดเพื่อ แสดงขีดความสามารถทางเทคนิคของ
ห้องปฏิบัติการที่เข้าร่วม โครงการ การประเมินความสามารถด้วยการจัดให้มี
การทาการวัด มาตรฐานการวัดเดียวกัน ณ จุดที่ทาการวัดเดียวกัน (หรือ
ตัวอย่าง Lot เดียวกันที่มีการพิสูตรความเป็นเนื้อเดียวกันแล้ว) โดย
ห้องปฏิบัติการตั้งแต่สองห้องปฏิบัติการขึ้นไป ภายใต้สภาวะการที่กาหนดไว้
ล่วงหน้า
****โดยสามารถใช้หลักการประเมินผลทางสถิติต่างๆได้ เช่น สถิติในการทดสอบ
สมมติฐาน (t-test, ANOVA etc.) สถิติในการประเมินต่างๆ (Z-Score, En Score etc.) เป็นต้น
55
การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ (Inter-Laboratory Comparison)
การเปรียบเทียบผลการทดสอบกับค่าอ้างอิง
Degree of Freedom = n -1
: ผลการทดสอบของ Lab นั้นๆ
µ : ค่าเฉลี่ยของกิจกรรมการเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ
S : ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกิจกรรมการเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ
tCal ≥ tCri สรุปว่าผลของห้องปฏิบัติการเราแตกต่างจากห้องปฏิบัติการอื่น
tCal < tCri สรุปว่าผลของห้องปฏิบัติการเราไม่แตกต่างจากห้องปฏิบัติการอื่น
*****นาค่าที่ได้ไปเปรียบเทียบกับตาราง T-Distribution เพื่อหา tcri
การประเมินการเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการโดยวิธี t-test (กรณีมี 2 ห้องปฏิบัติการ)
56
การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ (Inter-Laboratory Comparison)
ค่าเฉลี่ย
ผลรวมของข้อมูล
SS T = SS B + SS W
N
T
n
T
SS
k
j j
j
B
2
1
2









 
   














k
j j
j
k
j
nj
i
ijW
n
T
xSS
1
2
1 1
2
การประเมินการเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการโดยวิธี ANOVA (กรณีมีตั้งแต่ 2 ห้องปฏิบัติการข้้นไป)
57
การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ (Inter-Laboratory Comparison)
SS T = SS B + SS W
F = MS B / MS W
การประเมินผล
Fcal < Fcri : ผลของการเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการ "ไม่แตกต่างกัน"
Fcal ≥ Fcri : ผลของการเปรียบเทียบระหว่างห้องปฏิบัติการ "แตกต่างกัน"
หมายเหตุ
N : จำนวนข้อมูลทั้งหมด SSB : ผลรวมกำลังสองของผลต่ำงของค่ำเฉลี่ย
k : จำนวนกลุ่ม ของกลุ่ม Xj กับค่ำเฉลี่ยรวม
SST : ผลรวมกาลังสองของผลต่างทุกข้อมูล Xij กับค่าเฉลี่ย
SSW : ผลรวมกาลังสองของผลต่างข้อมูลภายในกลุ่ม Xij
กับค่าเฉลี่ยของทุกกลุ่ม
   









j jj i
ijW
n
xSS
11 1
การประเมินการเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการโดยวิธี ANOVA (กรณีมีตั้งแต่ 2 ห้องปฏิบัติการข้้นไป)
58
การเปรียบเทียบผลระหว่างห้องปฏิบัติการ (Inter-Laboratory Comparison)
ด้วยวิธี Z-Score (กรณีมีตั้งแต่ 10 ห้องปฏิบัติการข้้นไป)
c : ผลการทดสอบของ Lab นั้นๆ
m: ค่าเฉลี่ยของกิจกรรมการเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ
S : ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานของกิจกรรมการเปรียบเทียบผลการทดสอบระหว่างห้องปฏิบัติการ
IZI ≤ 2 สรุปว่าผลของห้องปฏิบัติการเราไม่แตกต่างจากห้องปฏิบัติการอื่น
2 IZI  3 ยังสรุปไม่ได้
IZI ≥ 3 สรุปว่าผลของห้องปฏิบัติการเราแตกต่างจากห้องปฏิบัติการอื่น
59
การทดสอบความชานาญ (Proficiency Testing)
การทดสอบความชานาญ (Proficiency Testing) หรือที่เรียกสั้นๆ ว่า PT
เป็นเทคนิคหนึ่งของการประกันคุณภาพสาหรับการทดสอบของห้องปฏิบัติการ
ช่วยให้ห้องปฏิบัติการสามารถทวนสอบได้ว่า เทคนิคการทดสอบที่ดาเนินการ
ยังคงเหมาะสม ผลการทดสอบยังคงความน่าเชื่อถือไว้ได้ เป็นการสร้างความ
มั่นใจให้กับลูกค้าของห้องปฏิบัติการ อีกทั้งยังเป็นหนึ่งในข้อกาหนดของระบบ
คุณภาพห้องปฏิบัติการตามมาตรฐาน ISO/IEC 17025
เกณฑ์การประเมินผลการทดสอบความชานาญ
1. โปรแกรมการทดสอบเชิงปริมาณ (Quantitative) ใช้ค่า Robust Z-Score ของกลุ่มผู้เข้าร่วมทดสอบ
ความชานาญโดยมีเกณฑ์ดังนี้
· ถ้า lZl ≤ 2.00 แสดงว่าผลการทดสอบนั้นยอมรับได้(Satisfactory)
· ถ้า 2.00 < lZl < 3.00 แสดงว่าผลการทดสอบนั้นน่าสงสัย (Questionable)
· ถ้า lZl ≥ 3.00 แสดงว่าผลการทดสอบนั้นยอมรับไม่ได้(Unsatisfactory)
2. โปรแกรมการทดสอบเชิงคุณภาพ (Qualitative)
· ถ้าได้ผลการทดสอบตรงกับค่า Assigned value แสดงว่า "ผ่าน"
· ถ้าได้ผลการทดสอบไม่ตรงกับค่า Assigned value แสดงว่า "ไม่ผ่าน"
60
การทดสอบความชานาญ (Proficiency Testing)
- ลงทะเบียนขอใช้บริการกับหน่วยงานที่ให้บริการ
โดยทั่วไปเป็นหน่วยงานระดับนานาชาติหรือหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง
ISO17043 ถือว่ามีความสามารถในการจัด PT
61
การทดสอบความชานาญ (Proficiency Testing)
62
การทดสอบความชานาญ (Proficiency Testing)
63
การทดสอบความชานาญ (Proficiency Testing)
64
Mr.Noppadol Saleesee (นายนพดล สาลีสี)
Freelance: Lead Assessors & Trainer ISO 9001,
ISO14001, ISO45001, IATF16949 and Management system
consult
Mobile: 0945507427
Line ID: psycho
Email: keng431psycho@gmail.com

More Related Content

What's hot

ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกพื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกReed Tradex
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติAon Narinchoti
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsDr.Woravith Chansuvarn
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tJaturapad Pratoom
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptxkhwanchaipawasan2
 
ส่วนประกอบของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
ส่วนประกอบของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกส่วนประกอบของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
ส่วนประกอบของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกNirundorn Sunophak
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)Naynui Cybernet
 
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]คมสันต์ วงศ์กาฬสินธุ์
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 
บทที่ 2 องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (1)
บทที่ 2 องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (1)บทที่ 2 องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (1)
บทที่ 2 องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (1)ศิริพร ขอพรกลาง
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...Kruthai Kidsdee
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4krunuy5
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊สPhysciences Physciences
 

What's hot (20)

ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติกพื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
พื้นฐานและเทคนิคการปรับแก้ไขงานฉีดพลาสติก
 
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
ตารางฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
พันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bondsพันธะเคมี - Chemical bonds
พันธะเคมี - Chemical bonds
 
ตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง tตารางการแจกแจง t
ตารางการแจกแจง t
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
13 มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรงแบบชันต์.pptx
 
1 4
1 41 4
1 4
 
ส่วนประกอบของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
ส่วนประกอบของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติกส่วนประกอบของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
ส่วนประกอบของแม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
 
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
หน่วยที่ 3 สมบัติทางกลของโลหะ(ใช้สอน)
 
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
บทที่ 2 องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (1)
บทที่ 2 องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (1)บทที่ 2 องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (1)
บทที่ 2 องค์ประกอบที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน (1)
 
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
วิชาศิลปะ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลกแห่งกา...
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
10ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
 

ความไม่แน่นอนของการวัด (Uncertainty of Measurements) สำหรับการวิเคราะห์ด้วยเทคนิค ARC-SPARK OES