SlideShare a Scribd company logo
1 of 61
Download to read offline
สตอรี่บอรด




              กฤตยา ศรีริ
                            1
เขียนสตอรี่บอรดไปทําไม?
• เพราะการทําสตอรี่บอรดจะชวยใหคุณ ไดคิดลวงหนาวาหนังที่คุณจะทํา
  จะออกมาหนาตาเปนอยางไร และดวยความที่ "ภาพ" สื่อสารไดดีกวา
  "คําพูด" สตอรี่บอรดจึงชวยใหทีมงานทุกคนในกองถาย มีความเขาใจ
  ตรงกัน ทํางานไดเร็วขึ้น สตอรี่บอรดชวยใหทีมกลอง รูทิศทางการ
  เคลื่อนกลอง การจัดแสง โปรดิวเซอรก็จะมองเห็นปญหาไดลวงหนา
  ฝายศิลปก็จะรูวาสวนไหนของโลเคชั่นหรือฉาก ที่จะปรากฏอยูในเฟรม
  บาง แมแตนักแสดงก็จะพอมองเห็นภาพวา จะเกิดอะไรขึ้นบางขณะถาย
  ทําสตอรี่บอรดมีประโยชนมากเปนพิเศษตอฉาก หรือซีเควนซที่ยุงยาก
  ซับซอน หรือฉากที่ตองใชสเปเชียลเอฟเฟคท

                                                                  2
ถาอยางงั้น ก็ตองเปนคนที่เขียนการตูนเกงนะสิ?
 คําตอบคือ ไมตองเกงขนาดนั้น...ถาไมเชื่อ คุณดูรูปสเก็ตชฝมืออัลเฟรด ฮิทชค็อค สิ! เขา
  ก็วาดรูปไมเปนเหมือนกันนะแหละ! หรืออยางริดลีย สกอตต (Gladiator, Blade
  Runner) ก็รางสตอรี่บอรดแบบเร็วๆ ขยุกขยุย เพื่อแสดงไอเดียคราวๆ ที่เขามีอยูในใจ
  จริงๆ แลว มีนักวาดมืออาชีพ ที่วาดสตอรี่บอรด ออกมาไดดูดีกวาหนังจริงซะอีก แตคุณก็
  นาจะไดลองลุยวาดดูเอง เพราะมันชวยใหคุณได "ทดลอง" ดูอยางรวดเร็วและประหยัด
  วาจะถายฉากแตละฉากออกมาอยางไร และแบบไหนไดบาง




                                                                               ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                             (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                    3
 ใชลูกศร สมมติวาคุณตองการใหกลองเคลื่อน
การเคลื่อนไหว     (track) ตามกาวเดินของตัวละคร ใหวาดลูกศรชี้
                  ตามการเคลื่อนกลองนั้น โดยทั่วไป จะใชลูกศรใหญ
                  หนาสีขาว เพื่อแสดงการเคลื่อนของกลอง และใช
                  ลูกศรสีดําที่เสนบางกวา แทนการเคลื่อนไหวของตัว
                  ละครหรือสิ่งของ




                                                          ครูเฒาบุรีรัมย
                                                        (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                               4
การซูมภาพ
 การซูมภาพ ใหเขียน เสนโยงจากสี่มุม
  เขาไปยังกรอบสี่เหลี่ยมขางใน ซึ่งเปนจุด
  สุดทายของการซูม




                                                ครูเฒาบุรีรัมย
                                              (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                     5
 วาดไดทั้ง 2 อยาง
ฉากยาวตอเนื่อง วาดแตละช็อตโดยใชรูปหลายๆ ชอง ที่แสดงถึงการ
                        เคลื่อนไหวที่เดนชัด
                       วาดแบ็คกราวนทั้งฉาก เชน สนามบิน แลวใสเฟรมภาพลง
                        ไป พรอมดวยลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนไหว




                                                                 ครูเฒาบุรีรัมย
                                                               (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                      6
การเปลี่ยนระหวางฉาก (transition)
 การเปลี่ยนระหวางฉาก (transition) คุณสามารถระบุ transition ลงในสตอรี่
  บอรดได โดยการเขียนลงในชองวางระหวางเฟรม เชน DISSOLVE TO : (ภาพเลือน
  เปน...)ตัวอยางจากสตอรี่บอรด North by Northwest




                                                                 ครูเฒาบุรีรัมย
                                                               (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                      7
 สําหรับฉากที่เต็มไปดวยผูคน...ใครๆ ก็รูวา การที่จะ
เคล็ดลับในการวาดคน
                 วาดแขนขาใหถูกตอง ไมรองแรงผิดสวนนี่ยากสุดๆ
                 สําหรับมือใหมหัดวาด นี่เลย...ขอแนะนําใหคุณไปหา
                 ซื้อ หุนไมรูปคน (มีขายตามแผนกเครื่องเขียน
                 ในหางสรรพสินคาชั้นนําทั่วไป, หรือรานเครื่องเขียน
                 แถวมหาวิทยาลัยศิลปากร หรือเพาะชาง) ซึ่งสามารถ
                 ดัดแขนดัดขา ไดตามชอบใจ แลวคุณก็วาดเติมสวนที่
                 เหลือ เชน แบ็คกราวน อุปกรณประกอบฉาก ตึก
                 อาคารบานชอง อาจวาดสีหนาอารมณที่ตองการ




                                                              ครูเฒาบุรีรัมย
                                                            (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                   8
เคล็ดไมลับในการวาดสตอรี่บอรดอยางรวดเร็ว
             1 - วาดในชองเล็กๆ คุณจะวาดไดเร็วขึ้น อยาลืมวาสตอรี่
              บอรดเปนรูปที่วาดเร็วๆ งายๆ ไมใชงานจิตรกรรมเลอคา
              จุดมุงหมายของการวาดสตอรี่บอรดก็คือ เพื่อใหเกิดไอเดีย
              วา ภาพจะออกมาเปนอยางไร




                                                               ครูเฒาบุรีรัมย
                                                             (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                    9
 2 - ก็อปปชองสตอรี่บอรดสําเร็จรูปเอาไว จะไดไมตองเสียเวลามาตีชอง
  ใหม ใหเปลืองพลังงาน




                                                                              ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                            (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                   10
 3 - สเก็ตชดวยดินสอ จะไดไมเกร็ง เวลาผิด ก็ลบแกไดงายๆ แลวคอยลงหมึกทีหลัง
  คุณสามารถใชสีอะไรก็ไดที่ถนัดและคลองมือ หรือจะไมลงสีเลยก็ได




                                                                           ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                         (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                11
 4 - เขียนโนตสั้นๆ กํากับ ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในช็อตนั้นๆ
      เชน ทวีเดินเขาประตูมาประโยคสนทนา
      หรือ เสียงประกอบ เชน เสียงแตรดังสนั่น




                                                              ครูเฒาบุรีรัมย
                                                            (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                   12
 5 - เขียนภาพแปลน ของโลเคชั่น ตัวนักแสดง จะชวยไดมากในการเขียนสตอรี่บอรด




                                                                     ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                   (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                          13
 6 - อยาลืมใสเบอรของแตละช็อต แตละซีนไวดวย จะไดสะดวกรวดเร็ว
เวลาอางถึงในการถายทํา และระหวางการตัดตอ




                                                                        ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                      (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                             14
ศัพทเทคนิค
               ช็อท (shot)
               ซีน (scene)
               ซีเควนซ (sequence)




                                        ครูเฒาบุรีรัมย
                                      (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                             15
ช็อท (shot)
 ช็อท (shot)
  หมายถึง ลักษณะภาพที่เกิดจากการถายภาพตั่งแตเริ่มถายไปจนถึงการหยุดการเดิน
  กลอง เรียกวา 1 ชอท หรือ 1 เทค (take)ซึ่งอาจมีการถายภาพซ้ํากันมากกวา 1 ครั้ง
                     ในช็อทเดียวกัน และ ถาหากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นในแตละครั้ง
                     เราสามารถถายใหม ไดซึ่งเราเรียกวา ถายซ้ํา (retake)




                                                                         ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                       (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                              16
ซีน (scene)
 ซีน (scene)
  หมายถึง สถานที่ (place) หรือ ฉาก (set) ที่จัดขึ้น หรือ ดัดแปลงขึ้นเพื่อใชในการ
  แสดง เพื่อการถายทํา หรือ การนําเอาช็อทหลายๆช็อทมารวมกันซึ่งเปนช็อทที่เหตุการณ
                      เกิดขึ้นในสถานที่ เดียวกัน เวลาเดียวกัน หรือมีความตอเนื่องทาง
                      เนื้อหา ซึ่งในแตละซีน อาจมีหลายช็อท หรือช็อทเดียว ได
                      (long take) ขึ้นอยูกับความเขาใจของผูชม




                                                                          ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                        (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                               17
ซีเควนซ (sequence)
 ซีเควนซ (sequence)
  หมายถึง ตอน หรือชวงเหตุการณหนึ่ง เปนการรวบรวมเอาฉากหลายๆฉากที่มี
  ความสัมพันธ กันมาตอเนื่องกันเขา และเมื่อรวมตอเขากันแลวจะเกิดผลสมบูรณของ
                       เนื้อหาอยูในตัวเอง สามารถจบ เหตุการณในชวงนั้นๆลงโดยที่
                       ผูชมเขาใจได ซึ่งในซีเควนซหนึ่งๆ อาจประกอบดวยซีนเดียว
                       หรือหลาย ซีนได อีกทั้งเวลาถายทําควรมีการจัดหมวดหมู
                        ซีเควนซ ทุกครั้ง


                                                                         ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                       (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                              18
มุมกลอง




     ครูเฒาบุรีรัมย
   (นางกฤตยา ศรีร)    ิ   19
มุมกลอง (camera angle shots)
           ภาพระดับสายตา (eye level shot)
           ภาพระดับมุมสูง (high level shot)
           ภาพระดับมุมต่ํา (low level shot)




                                                 ครูเฒาบุรีรัมย
                                               (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                      20
ภาพระดับสายตา (eye level shot)
   ภาพระดับสายตา (eye level shot)
    เปนการตั้งกลองระดับปกติทั่วไป โดยตั้งกลองสูงแนวระดับตาผูแสดง
                 มักจะไมระบุไวในบทโทรทัศน เพราะถือวาเปนที่เขาใจกันอยูแลว




                                                                           ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                         (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                21
ภาพระดับมุมสูง (high level shot)
 ภาพระดับมุมสูง (high level shot)
  เปนการตั้งกลองมุมสูง เพื่อตองการใหเห็นความลึกหรือระยะทางไกล ในกรณีนี้ตองระบุ
  ไวใน บทโทรทัศนวา กลองมุมสูง แตถาตองการถายมุมที่สูงมากลงมา
                    จะเรียกกันวา มุม bird’s eyes view ซึ่งในการใชมุมกลอง
                    ลักษณะนี้เพื่อหวังผลทางจิตวิทยา หมายถึง สิ่งที่ถูกถายทําจะถูกลด
                    ความสําคัญ เนนความรูสึกออนแอ ไมมีพลัง ถูกครอบงําดวย
                      สภาพแวดลอมรอบๆตัว


                                                                           ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                         (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                22
ภาพระดับมุมต่ํา (low level shot)
 ภาพระดับมุมต่ํา (low level shot)
  เปนการตั้งกลองมุมต่ํา มักจะใชเปนภาพแทนสายตาผูแสดง หรือ ตองการใหเห็นภาพใน
                 มุม แปลก ในกรณีนี้ตองระบุในบทโทรทัศนวา กลองมุมต่ํา ซึ่งในการใช
                 มุมกลองลักษณะนี้เพื่อหวังผล ทางจิตวิทยา หมายถึง สิ่งที่ถายทําจะมี
                 พลัง เขมแข็ง มีอิทธิพลสามารถควบคุมสภาพแวดลอมได




                                                                           ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                         (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                23
ซ็อทพื้นฐาน




                ครูเฒาบุรีรัมย
              (นางกฤตยา ศรีร)    ิ   24
ซ็อทพื้นฐาน (basic shots)
 เพื่อแสดงใหเห็นลักษณะของภาพ ขนาดของภาพที่จะถาย
  1. ภาพระยะไกลมาก Extreme Long shot (ELS)
  2. ภาพระยะไกล Long shot (LS)
                      3. ภาพระยะไกลปานกลาง Medium Long shot (MLS)
                      4. ภาพระยะปานกลางMedium shot (MS)
                      5. ภาพระยะปานกลางใกล Medium Close Up shot (MCU)
                      6. ภาพระยะใกล Close Up (CU)
                      7. ภาพระยะใกลมาก Extreme Close Up (ECU)


                                                              ครูเฒาบุรีรัมย
                                                            (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                   25
Extreme Long shot (ELS)
   ภาพระยะไกลมาก Extreme Long shot (ELS)
     หมายถึง การถายภาพภาพในระยะที่อยูไกลมาก เพื่อใหเห็น
           ถึงบรรยากาศโดยรอบของสถานที่
           หรือ สภาพแวดลอมไมมีการเนนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง




                                                               ครูเฒาบุรีรัมย
                                                             (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                    26
Long shot (LS)
       2. ภาพระยะไกล Long shot (LS)
        หมายถึง การถายภาพวัตถุในระยะไกล
        เพื่อแสดงที่ตั้งหรือสวนประกอบในฉาก
        หรือแสดงสัดสวน ของขนาดวัตถุ
        เปรียบเทียบกับสวนประกอบอื่นๆในฉาก
        เชน ภาพเต็มตัว




                                                ครูเฒาบุรีรัมย
                                              (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                     27
Medium Long shot (MLS)
 3. ภาพระยะไกลปานกลาง Medium Long shot (MLS)
  หมายถึง การถายภาพวัตถุในระยะไกล ที่แสดงใหเห็นถึงรายละเอียด
  ของวัตถุ




                                                                   ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                 (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                        28
Medium shot (MS)
 4. ภาพระยะปานกลางMedium shot (MS)
  หมายถึง การถายภาพวัตถุในระยะปานกลางเพื่อ ตัดฉากหลังและ
  รายละเอียดอื่นๆที่ไมจําเปนออกไป อีกทั้งยังเปนการถายภาพวัตถุ
                 ใหเห็นภาพที่ใหญกวาเดิม
                 เนนสวนละเอียดมากขึ้น
                   เชนภาพครึ่งตัว




                                                                      ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                    (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                           29
Medium Close Up shot (MCU)
 5. ภาพระยะปานกลางใกล Medium Close Up shot
  (MCU) หมายถึง ภาพถายวัตถุในระยะปานกลาง
           ที่ถายเนนรายละเอียดของวัตถุใหเขาใกลมาอีก




                                                             ครูเฒาบุรีรัมย
                                                           (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                  30
Close Up (CU)
 6. ภาพระยะใกล Close Up (CU)
  หมายถึง ภาพถายระยะใกลวัตถุ เพื่อเนนวัตถุ
           หรือบางสวนของวัตถุขจัดสิ่งอื่นๆที่ไมตองการแสดง
                 ออกไปยายใหเห็นรายละเอียดเฉพาะของวัตถุ
                             ใหชัดเจนมากขึ้น
                              เชน ภาพครึ่งหนาอก




                                                                 ครูเฒาบุรีรัมย
                                                               (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                      31
Extreme Close Up (ECU)
 7. ภาพระยะใกลมาก Extreme Close Up
  (ECU)
  หมายถึง ภาพถายที่เนนใหเห็นสวนใดสวนหนึ่งของวัตถุ
  อยางชัดเจน เชนนัยนตา เพื่อแสดง อารมณของผูที่อยู
  ในภาพ




                                                            ครูเฒาบุรีรัมย
                                                          (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                 32
ลักษณะของภาพที่ถาย
*เพื่อบอกเนื้อหา หรือเรื่องราวของภาพและลักษณะภาพหรือธรรมชาติของภาพที่ถาย
                  1. ภาพที่ถายจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view)
                  2. ภาพที่ถายในระยะใกลมาก (Big Close Up Shot)
                  3. ภาพครึ่งอก (Bust Shot)
                  4. ภาพเอียง (Canted Shot)
                  5. ภาพถายขามไหล (Cross Shot)




                                                                ครูเฒาบุรีรัมย
                                                              (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                     33
ภาพที่ถายจากมุมสูง
(aerial shot / bird’s eyes view)
  1. ภาพที่ถายจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view)
   หมายถึง ภาพถายในลักษณะถายจากมุมสูง
   เชน จากเครื่องบิน เสมือนภาพแทนสายตานก
                    ในบทโทรทัศนนอกจากบอกวา
                    ตั้งกลองมุมสูงแลวจะตอง
                     ระบุดวยวาถายจากเครื่องบิน




                                                               ครูเฒาบุรีรัมย
                                                             (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                    34
ภาพที่ถายในระยะใกลมาก (Big Close Up Shot)
           2. ภาพที่ถายในระยะใกลมาก (Big Close Up Shot)
            หมายถึง ภาพถายในลักษณะใกลมีขนาดใหญ เชน ภาพคน
            เต็มหนา หรือภาพบางสวนของใบหนาที่ตองการเนนเฉพาะ
            เชน นัยนตา ปาก จมูก หรือบางสวนของวัตถุ




                                                           ครูเฒาบุรีรัมย
                                                         (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                35
ภาพครึ่งอก (Bust Shot)
 3. ภาพครึ่งอก (Bust Shot)
  หมายถึง ภาพถายศีรษะกับหัวไหลทั้งสองของผูแสดง




                                                      ครูเฒาบุรีรัมย
                                                    (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                           36
ภาพเอียง (Canted Shot)
 4. ภาพเอียง (Canted Shot)
  หมายถึง ภาพที่อยูนอกเสนดิ่งของภาพ ในบทโทรทัศนมักจะบอกรายละเอียดเพิ่มเติม
  เชน ภาพเอียง หรือภาพเฉียง ลักษณะใด




                                                                      ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                    (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                           37
ภาพถายขามไหล (Cross Shot)
 5. ภาพถายขามไหล (Cross Shot)
  หมายถึง ภาพที่ถายขามไหลดานหลังอีกคนหนึ่งเปนฉากหนา และเห็นหนาอีกคนหนึ่ง
  ในบทโทรทัศนใชคําวา X- Shot หรือถายขามไหล




                                                                        ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                      (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                             38
ภาพเต็มตัว (Full Shot)
 6. ภาพเต็มตัว (Full Shot)
  หมายถึง ภาพผูแสดงคนเดียว หรือหลายคนเต็มตัว โดยมีฉากหลังประกอบ




                                                                     ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                   (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                          39
ภาพระดับเขาของรางกาย (Knee Shot)
 7. ภาพระดับเขาของรางกาย (Knee Shot)
  หมายถึง ภาพที่ถายตั่งแตศีรษะลงไปจนถึงหัวเขา หรือการถายภาพตั้งแตหัวเขา
   ลงไปถึงเทา ซึ่งในบทโทรทัศนควรระบุใหชัดเจน




                                                                           ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                         (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                40
ภาพถายจากกระจกเงา (Mirror Shot)
 8. ภาพถายจากกระจกเงา (Mirror Shot)
  หมายถึง ภาพที่ถายผูแสดงจากภาพในกระจกเงา ซึ่งในบทโทรทัศนควรระบุใหชัดเจนวา
  เปนภาพจากกระจกเงา




                                                                      ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                    (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                           41
ภาพหมู (Group shot)
 9. ภาพหมู (Group shot)
  หมายถึง ภาพในลักษณะรวมกันเปนหมู หรือเปนกลุมคน




                                                        ครูเฒาบุรีรัมย
                                                      (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                             42
ภาพบุคคล 2 คนครึ่งตัว
(Two Shot / Double Shot )
 10. ภาพบุคคล 2 คนครึ่งตัว (Two Shot / Double Shot )
  หมายถึง ภาพบุคคล 2 คนครึ่งตัวในกรอบภาพเดียวดัน หันหนาเขาหากัน




                                                                      ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                    (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                           43
หลักการกําหนดภาพ
 1. ภาพแบบออฟเจคตีฟ (Objective Shot)
  หมายถึง การถายภาพในลักษณะแทนสายตาของผูชม หรือผูสังเกตการณ ตําแหนงของ
  กลองจะอยูทางดานหนาของนักแสดง
 2. ภาพแบบซับเจคตีฟ (Subjective Shot)
  หมายถึง การถายภาพในลักษณะกลองจะตั้งอยูในตําแหนงแทนสายตาของผูแสดง และ
  กํากับมองดูการกระทํา เชนเดียวกับที่ผูแสดงมองเห็น ตัวอยางที่ใชกันบอยๆคือ ตั้งกลอง
  ในมุมสูง ถายภาพขามไหลผูแสดงไปยังวัตถุที่กําลังแสดงอยู



                                                                              ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                            (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                   44
การเคลื่อนไหวกลอง (Camera Movement)
 การเคลื่อนไหวกลองในระหวางการถายทําจะชวยเพิ่มความนาสนใจ
                   และแสดงเรื่องราว ความหมายไดดีนอกเหนือจากตัววัตถุเคลื่อนไหว
                   หรืออาจเคลื่อนไหวทั้ง 2 อยาง พรอมๆกัน การเคลื่อนไหวของกลองมี
                   หลายแบบ ดังนี้




                                                                        ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                      (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                             45
การแพนกลอง (Panning)
 การแพนกลอง (Panning)
  หมายถึง การเคลื่อนที่ของกลองตาม
  แนวนอนไปทางซาย (Pan left) หรือ
  ไปทางขวา (Pan right) เพื่อใหเห็น
  วัตถุตามแนวกวาง หรือเมื่อตองการนํา
  ผูชมไปยังจุดนาสนใจ หรือที่ตองการ
  - เพื่อใหเห็นภาพที่อยูนอกจดภาพใน
  ขณะนั้น
  - เพื่อตองการติดตามการเคลื่อนไหววัตถุ
  - เพื่อใหเห็นปฏิกิริยาตอบโตกัน
  - เพื่อตองการการเปลี่ยนฉาก
                                             ครูเฒาบุรีรัมย
                                           (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                  46
การทิ้ลท (Tilting)
 2. การทิ้ลท (Tilting)
  หมายถึง การเคลื่อนกลองตามแนวดิ่ง จากลางขึ้นบน
 (Tilt Up) และจากบนลงลาง (Tilt Down)
                   - เพื่อใหเห็นวัตถุตามแนวตั้งเชน
                     ภาพอาคารสูง หรือนําผูชมไปยัง
                     จุดที่ตองการ
                   - เพื่อใหเห็นตําแหนงที่ตั้งของสิ่งตางๆ โดยสัมพันธกัน
                   - เพื่อใหเห็นวัตถุที่ยาวหรือสูงเกินรัศมี

                                                                                ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                              (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                     47
การซูม (Zooming)
 3. การซูม (Zooming)
  หมายถึง การเปลี่ยนขนาดของวัตถุใหใหญขึ้น (Zoom In)
  หรือเปลี่ยนขนาดของวัตถุใหเล็กลง(Zoom Out)



                - เพื่อตองการเปลี่ยนขนาดของวัตถุอยางชาๆ
                - เมื่อตองการใหผูชมสนใจวัตถุนั้น
                - เมื่อตองการใหเห็นวัตถุอยางชัดเจน
               - เพื่อใหบังเกิดผลที่นาตื่นใจ

                                                               ครูเฒาบุรีรัมย
                                                             (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                    48
การดอลลี่ (Dolling)
 4. การดอลลี่ (Dolling)
  หมายถึง การเคลื่อนกลองติดตาม ความเคลื่อนไหวของสิ่งที่ถาย หรือฉากที่มีระยะทางยาวในทิศ
  ทางตรง หรือทางออมไปรอบๆ การเคลื่อนไหวกลองเขาหาวัตถุ เรียกวา Dolly in และการ
  เคลื่อนไหวกลองออกจากวัตถุ เรียกวา Dolly out ผลของการดอลลี่ (Dolly)
                       จะคลายซูม (Zoom) คือขนาดของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงไปตาระยะของ
                       การดอลลี่ แตจะแตกตางกันตรง สวนประกอบตางๆในภาพเกี่ยวกับระยะทาง
                        ระหวางวัตถุกับฉากหนาและฉากหลัง จะเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหว
                       ของกลอง คนดูจะสามารถรูถึงมิติของความลึกมากกวาภาพที่เกิดจากการซูม

                                - เพื่อสรางความตื่นเตน

                               - เมื่อตองการติดตามการเคลื่อนไหว

                               - เพื่อใหมีมุมมองภาพที่หลากหลายแบบ

                               - เมื่อตองการปรับเปลี่ยนองคประกอบภาพ                    ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                                       (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                              49
การทรัค (Trucking / Tracking )
 5. การทรัค (Trucking / Tracking )
  หมายถึง การเลื่อนไหวกลองไปดานซายใหขนานกับวัตถุไป
  ทางซาย เรียกวา หรือไปทางขวา เรียกวา ซึ่งผลจะคลายกับ
  การแพน แตการทรัคจะชวยใหเกิด
               การเปลี่ยนแปลงมิติเรื่องความลึก
                   ของภาพไดดีกวา คลายๆกับความรูสึก
                   ของเราที่มองออกไปนอกหนาตาง
                   รถขณะที่เคลื่อนที่ไป




                                                              ครูเฒาบุรีรัมย
                                                            (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                   50
การอารค (Arking)
 6. การอารค (Arking)
  หมายถึง การเคลื่อนไหวกลองในแนวเฉียงเปนรูปครึ่งวงกลม
  ไปทางซาย (Ark left) หรือ ไปทางขวา
 (Ark right) เพื่อเปลี่ยนมุมกลองไปทางดานขางของวัตถุ




                                                            ครูเฒาบุรีรัมย
                                                          (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                 51
การบูม หรือเครน (Booming / Craning)
 7. การบูม หรือเครน (Booming / Craning)
  หมายถึง การถายภาพพรอมกับขาตั้งกลองในแนวตั้ง
  เรียกวา ‘บูม’ ถาเคลื่อนขึ้น เรียกวา Boom Up
 สวนเลื่อนลง เรียกวา Boom Down
                       และถาเคลื่อนกลองขึ้นลงโดยใชเครน
                       เรียกวา Crane Up และCrane Down
                       เมื่อตองการเคลื่อนกลองลงดวยเครน
                       วัตถุประสงคเพื่อตองการคงมุมกลองที่
                       ตองการจากมุมสูงและต่ําอยางตอ เนื่อง
                                                                  ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                       52
สติลช็อต (Still Shot)
 8. สติลช็อต (Still Shot) หมายถึง การถายภาพโดยไมเคลื่อนกลอง ใชมากใน
  การถายทํารายการทั่วไป โดยปกติกลองจะโฟกัสอยูบนวัตถุหรือบุคคลที่ตองการ
  ออกอากาศมากที่สุด ในการถายแบบนี้จําเปนตองจัดองคประกอบภาพใหดี




                                                                     ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                   (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                          53
การเชื่อมตอภาพ (Transition)
   เปนวิธีการลําดับเวลาและเหตุการณ โดยการใชเทคนิคพิเศษ ดังนี้
                     1. การตัดภาพ (Cut)
                     2. ภาพจาง (Fade)
                     3. ภาพจางซอน (Dissolve)
                     4. ภาพซอน (Superimpose)
                     5. ภาพกวาด (Wipe)
                     6. ภาพเลือนเขาหากัน (Morphink)
               การเปลี่ยนจากภาพหนึ่งไปสูอีกภาพหนึ่งอยางตอเนื่อง
              ดวยการละลายเขาหากันจนเปนภาพใหม ตัวอยางเชน
              ภาพยนตรเรื่องคนเหล็ก และเรื่อง โรโบคอบ
                                                                       ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                     (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                            54
Cut
 1. การตัดภาพ (Cut)
                 หมายถึง การเปลี่ยนภาพอยางแบพลัน โดยการเปลี่ยนจากภาพหนึ่ง
                 มาอีกภาพหนึ่ง โดยไมมี อะไรมาคั่น ใชช็อทที่มีความสัมพันธกันอยาง
                ใกลชิด และเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว การตัดตอตาปกติ
                มักใชการตัดภาพแบบนี้




                                                                         ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                       (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                              55
Fade
 2. ภาพจาง (Fade)
        หมายถึง การตอเชื่อมภาพเริ่มจากภาพมือสนิทไมมีภาพ แลวคอยๆปรากฏเปน
                ภาพเลือนลางจนเปนภาพที่มองเห็นชัดเจน เรียกวา Fade In
                มักใชในตอนเริ่มเรื่อง หรือเริ่มตนใหม เหมือนการเปด ฉาก สวนภาพ
                Fade Out เปนการเริ่มตนจากภาพที่ปรากฏชัดเจนอยูแลว คอยๆ
                เลือนรางและหายไปกลาย เปนภาพมืดสนิท มักใชตอนจบเรื่อง
                การใชการจางภาพสามารถใชคั่นเชื่อมโยงระหวางฉากแรกกับฉากหลัง
                ซึ่งเปนเวลาที่ลวง มานาน หรือสถานที่นั้นอยูหางกันไกลมาก

                                                                        ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                      (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                             56
Dissolve
 3. ภาพจางซอน (Dissolve)
         หมายถึง การเชื่อมตอภาพ โดยการใชช็อทแรกคอยๆจางออกไป ในขณะเดียวกับฉาก
  หลังจะ คอยๆจางซอนเขามา จนกระทั่งช็อทแรกจางหายออกไปเหลือแตช็อทหลังเทานั้น ใช
                         สําหรับคั่นเชื่อมโยงระหวางฉากแรกกับฉากหลัง หรือระหวางหลายฉาก
                         ซึ่งเปนเวลาที่ลวงเลยมาไมนานนัก และในภาพของฉากแรกกับฉากหลัง
                         ไมมีอะไรใหสังเกตเห็นไดวามีความตอเนื่องเชื่อมโยงกัน




                                                                            ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                          (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                                 57
Superimpose
 4. ภาพซอน (Superimpose)
        หมายถึง การซอนฉาก 2 ฉากเขาไวดวยกัน เพื่อแสดงถึงเหตุการณตางสถานที่
                  ในเวลา เดียวกัน แสดงภาพการคิดคํานึงของบุคคลตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
                  โดยการถายภาพใบหนาและภาพเหตุการณไป พรอมๆกัน
                  นอกจากนี้ยังใชในการสรางภาพพิเศษ เชน ภาพผี




                                                                         ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                       (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                              58
Wipe
 5. ภาพกวาด (Wipe)
        หมายถึง การใชภาพตอเนื่องโดยใหภาพใหมเขามากวาดภาพเกาออกจากจอ
               ทีละนอยจนภาพเกาหมดจากจอ หรือภาพใหมเขามาแทนที่
               เชน กวาดจากซายไปขวา หรือบนจอลงลางจอ เปนตน




                                                                     ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                   (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                          59
Morph ink
 6. ภาพเลื่อนเขาหากัน (Morph ink)
        การเปลี่ยนจากภาพหนึ่งไปสูอีกภาพหนึ่งอยางตอเนื่อง ดวยการละลายเขาหากัน
  จนเปนภาพใหม ตัวอยางเชน ภาพยนตรเรื่องคนเหล็ก และเรื่องโรโบคอบ




                                                                        ครูเฒาบุรีรัมย
                                                                      (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                                                                             60
โปรดติดตามตอนตอไป

     สวัสดี


                       ครูเฒาบุรีรัมย
                     (นางกฤตยา ศรีร)    ิ
                                            61

More Related Content

Viewers also liked

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
S'kae Nfc
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัวโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
Jay Witsanurot's
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
sukanya5729
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
ปยล วชย.
 

Viewers also liked (6)

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัวโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง พัฒนา web blog ด้วย wordpress เรื่อง ผักสวนครัว
 
คู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie makerคู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
คู่มือการใช้งาน Windows live movie maker
 
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพบทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
บทที่ 2 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกและการวาดภาพ
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
ตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอมตัวอย่างโครงงานคอม
ตัวอย่างโครงงานคอม
 

More from Kruthai Kidsdee

คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
Kruthai Kidsdee
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
Kruthai Kidsdee
 

More from Kruthai Kidsdee (20)

Google apps content_1
Google apps content_1Google apps content_1
Google apps content_1
 
Google drive
Google driveGoogle drive
Google drive
 
Google docs 11
Google docs 11Google docs 11
Google docs 11
 
Google form 11
Google form 11Google form 11
Google form 11
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google docคู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
คู่มือการทำแบบสอบถามออนไลน์โดย Google doc
 
คู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plusคู่มือการใช้งาน Google plus
คู่มือการใช้งาน Google plus
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
คู่มือการใช้งาน Google
คู่มือการใช้งาน  Googleคู่มือการใช้งาน  Google
คู่มือการใช้งาน Google
 
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sitesการสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google sites
 
การใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docsการใช้งาน Google docs
การใช้งาน Google docs
 
Google appsall
Google appsallGoogle appsall
Google appsall
 
Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2Final traininggoogleapps presentation2
Final traininggoogleapps presentation2
 
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.3230 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
30 พ.ค.เอกสารยกระดับพัฒนา pisa สพม.32
 
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝันแนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
แนวทางการกรอกข้อมูลโรงเรียนในฝัน
 
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 กูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
หา3ภพจนเจอ2016 68 หน้ากูตั้งใจทำดีสุดยอดการ์ตูน48ข้อ2015
 
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์  ทำไวนิล091
แผ่นพับแบบสมบูรณ์ กันตวัฒน์ ทำไวนิล091
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 
น้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้าน้องหญิงผักลอยฟ้า
น้องหญิงผักลอยฟ้า
 

Storyboard2012

  • 1. สตอรี่บอรด กฤตยา ศรีริ 1
  • 2. เขียนสตอรี่บอรดไปทําไม? • เพราะการทําสตอรี่บอรดจะชวยใหคุณ ไดคิดลวงหนาวาหนังที่คุณจะทํา จะออกมาหนาตาเปนอยางไร และดวยความที่ "ภาพ" สื่อสารไดดีกวา "คําพูด" สตอรี่บอรดจึงชวยใหทีมงานทุกคนในกองถาย มีความเขาใจ ตรงกัน ทํางานไดเร็วขึ้น สตอรี่บอรดชวยใหทีมกลอง รูทิศทางการ เคลื่อนกลอง การจัดแสง โปรดิวเซอรก็จะมองเห็นปญหาไดลวงหนา ฝายศิลปก็จะรูวาสวนไหนของโลเคชั่นหรือฉาก ที่จะปรากฏอยูในเฟรม บาง แมแตนักแสดงก็จะพอมองเห็นภาพวา จะเกิดอะไรขึ้นบางขณะถาย ทําสตอรี่บอรดมีประโยชนมากเปนพิเศษตอฉาก หรือซีเควนซที่ยุงยาก ซับซอน หรือฉากที่ตองใชสเปเชียลเอฟเฟคท 2
  • 3. ถาอยางงั้น ก็ตองเปนคนที่เขียนการตูนเกงนะสิ?  คําตอบคือ ไมตองเกงขนาดนั้น...ถาไมเชื่อ คุณดูรูปสเก็ตชฝมืออัลเฟรด ฮิทชค็อค สิ! เขา ก็วาดรูปไมเปนเหมือนกันนะแหละ! หรืออยางริดลีย สกอตต (Gladiator, Blade Runner) ก็รางสตอรี่บอรดแบบเร็วๆ ขยุกขยุย เพื่อแสดงไอเดียคราวๆ ที่เขามีอยูในใจ จริงๆ แลว มีนักวาดมืออาชีพ ที่วาดสตอรี่บอรด ออกมาไดดูดีกวาหนังจริงซะอีก แตคุณก็ นาจะไดลองลุยวาดดูเอง เพราะมันชวยใหคุณได "ทดลอง" ดูอยางรวดเร็วและประหยัด วาจะถายฉากแตละฉากออกมาอยางไร และแบบไหนไดบาง ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 3
  • 4.  ใชลูกศร สมมติวาคุณตองการใหกลองเคลื่อน การเคลื่อนไหว (track) ตามกาวเดินของตัวละคร ใหวาดลูกศรชี้ ตามการเคลื่อนกลองนั้น โดยทั่วไป จะใชลูกศรใหญ หนาสีขาว เพื่อแสดงการเคลื่อนของกลอง และใช ลูกศรสีดําที่เสนบางกวา แทนการเคลื่อนไหวของตัว ละครหรือสิ่งของ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 4
  • 5. การซูมภาพ  การซูมภาพ ใหเขียน เสนโยงจากสี่มุม เขาไปยังกรอบสี่เหลี่ยมขางใน ซึ่งเปนจุด สุดทายของการซูม ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 5
  • 6.  วาดไดทั้ง 2 อยาง ฉากยาวตอเนื่อง วาดแตละช็อตโดยใชรูปหลายๆ ชอง ที่แสดงถึงการ เคลื่อนไหวที่เดนชัด  วาดแบ็คกราวนทั้งฉาก เชน สนามบิน แลวใสเฟรมภาพลง ไป พรอมดวยลูกศรแสดงทิศทางการเคลื่อนไหว ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 6
  • 7. การเปลี่ยนระหวางฉาก (transition)  การเปลี่ยนระหวางฉาก (transition) คุณสามารถระบุ transition ลงในสตอรี่ บอรดได โดยการเขียนลงในชองวางระหวางเฟรม เชน DISSOLVE TO : (ภาพเลือน เปน...)ตัวอยางจากสตอรี่บอรด North by Northwest ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 7
  • 8.  สําหรับฉากที่เต็มไปดวยผูคน...ใครๆ ก็รูวา การที่จะ เคล็ดลับในการวาดคน วาดแขนขาใหถูกตอง ไมรองแรงผิดสวนนี่ยากสุดๆ สําหรับมือใหมหัดวาด นี่เลย...ขอแนะนําใหคุณไปหา ซื้อ หุนไมรูปคน (มีขายตามแผนกเครื่องเขียน ในหางสรรพสินคาชั้นนําทั่วไป, หรือรานเครื่องเขียน แถวมหาวิทยาลัยศิลปากร หรือเพาะชาง) ซึ่งสามารถ ดัดแขนดัดขา ไดตามชอบใจ แลวคุณก็วาดเติมสวนที่ เหลือ เชน แบ็คกราวน อุปกรณประกอบฉาก ตึก อาคารบานชอง อาจวาดสีหนาอารมณที่ตองการ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 8
  • 9. เคล็ดไมลับในการวาดสตอรี่บอรดอยางรวดเร็ว  1 - วาดในชองเล็กๆ คุณจะวาดไดเร็วขึ้น อยาลืมวาสตอรี่ บอรดเปนรูปที่วาดเร็วๆ งายๆ ไมใชงานจิตรกรรมเลอคา จุดมุงหมายของการวาดสตอรี่บอรดก็คือ เพื่อใหเกิดไอเดีย วา ภาพจะออกมาเปนอยางไร ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 9
  • 10.  2 - ก็อปปชองสตอรี่บอรดสําเร็จรูปเอาไว จะไดไมตองเสียเวลามาตีชอง ใหม ใหเปลืองพลังงาน ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 10
  • 11.  3 - สเก็ตชดวยดินสอ จะไดไมเกร็ง เวลาผิด ก็ลบแกไดงายๆ แลวคอยลงหมึกทีหลัง คุณสามารถใชสีอะไรก็ไดที่ถนัดและคลองมือ หรือจะไมลงสีเลยก็ได ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 11
  • 12.  4 - เขียนโนตสั้นๆ กํากับ ถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในช็อตนั้นๆ เชน ทวีเดินเขาประตูมาประโยคสนทนา หรือ เสียงประกอบ เชน เสียงแตรดังสนั่น ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 12
  • 13.  5 - เขียนภาพแปลน ของโลเคชั่น ตัวนักแสดง จะชวยไดมากในการเขียนสตอรี่บอรด ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 13
  • 14.  6 - อยาลืมใสเบอรของแตละช็อต แตละซีนไวดวย จะไดสะดวกรวดเร็ว เวลาอางถึงในการถายทํา และระหวางการตัดตอ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 14
  • 15. ศัพทเทคนิค  ช็อท (shot)  ซีน (scene)  ซีเควนซ (sequence) ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 15
  • 16. ช็อท (shot)  ช็อท (shot) หมายถึง ลักษณะภาพที่เกิดจากการถายภาพตั่งแตเริ่มถายไปจนถึงการหยุดการเดิน กลอง เรียกวา 1 ชอท หรือ 1 เทค (take)ซึ่งอาจมีการถายภาพซ้ํากันมากกวา 1 ครั้ง ในช็อทเดียวกัน และ ถาหากมีความผิดพลาดเกิดขึ้นในแตละครั้ง เราสามารถถายใหม ไดซึ่งเราเรียกวา ถายซ้ํา (retake) ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 16
  • 17. ซีน (scene)  ซีน (scene) หมายถึง สถานที่ (place) หรือ ฉาก (set) ที่จัดขึ้น หรือ ดัดแปลงขึ้นเพื่อใชในการ แสดง เพื่อการถายทํา หรือ การนําเอาช็อทหลายๆช็อทมารวมกันซึ่งเปนช็อทที่เหตุการณ เกิดขึ้นในสถานที่ เดียวกัน เวลาเดียวกัน หรือมีความตอเนื่องทาง เนื้อหา ซึ่งในแตละซีน อาจมีหลายช็อท หรือช็อทเดียว ได (long take) ขึ้นอยูกับความเขาใจของผูชม ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 17
  • 18. ซีเควนซ (sequence)  ซีเควนซ (sequence) หมายถึง ตอน หรือชวงเหตุการณหนึ่ง เปนการรวบรวมเอาฉากหลายๆฉากที่มี ความสัมพันธ กันมาตอเนื่องกันเขา และเมื่อรวมตอเขากันแลวจะเกิดผลสมบูรณของ เนื้อหาอยูในตัวเอง สามารถจบ เหตุการณในชวงนั้นๆลงโดยที่ ผูชมเขาใจได ซึ่งในซีเควนซหนึ่งๆ อาจประกอบดวยซีนเดียว หรือหลาย ซีนได อีกทั้งเวลาถายทําควรมีการจัดหมวดหมู ซีเควนซ ทุกครั้ง ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 18
  • 19. มุมกลอง ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 19
  • 20. มุมกลอง (camera angle shots)  ภาพระดับสายตา (eye level shot)  ภาพระดับมุมสูง (high level shot)  ภาพระดับมุมต่ํา (low level shot) ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 20
  • 21. ภาพระดับสายตา (eye level shot)  ภาพระดับสายตา (eye level shot)  เปนการตั้งกลองระดับปกติทั่วไป โดยตั้งกลองสูงแนวระดับตาผูแสดง มักจะไมระบุไวในบทโทรทัศน เพราะถือวาเปนที่เขาใจกันอยูแลว ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 21
  • 22. ภาพระดับมุมสูง (high level shot)  ภาพระดับมุมสูง (high level shot) เปนการตั้งกลองมุมสูง เพื่อตองการใหเห็นความลึกหรือระยะทางไกล ในกรณีนี้ตองระบุ ไวใน บทโทรทัศนวา กลองมุมสูง แตถาตองการถายมุมที่สูงมากลงมา จะเรียกกันวา มุม bird’s eyes view ซึ่งในการใชมุมกลอง ลักษณะนี้เพื่อหวังผลทางจิตวิทยา หมายถึง สิ่งที่ถูกถายทําจะถูกลด ความสําคัญ เนนความรูสึกออนแอ ไมมีพลัง ถูกครอบงําดวย สภาพแวดลอมรอบๆตัว ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 22
  • 23. ภาพระดับมุมต่ํา (low level shot)  ภาพระดับมุมต่ํา (low level shot) เปนการตั้งกลองมุมต่ํา มักจะใชเปนภาพแทนสายตาผูแสดง หรือ ตองการใหเห็นภาพใน มุม แปลก ในกรณีนี้ตองระบุในบทโทรทัศนวา กลองมุมต่ํา ซึ่งในการใช มุมกลองลักษณะนี้เพื่อหวังผล ทางจิตวิทยา หมายถึง สิ่งที่ถายทําจะมี พลัง เขมแข็ง มีอิทธิพลสามารถควบคุมสภาพแวดลอมได ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 23
  • 24. ซ็อทพื้นฐาน ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 24
  • 25. ซ็อทพื้นฐาน (basic shots)  เพื่อแสดงใหเห็นลักษณะของภาพ ขนาดของภาพที่จะถาย 1. ภาพระยะไกลมาก Extreme Long shot (ELS) 2. ภาพระยะไกล Long shot (LS) 3. ภาพระยะไกลปานกลาง Medium Long shot (MLS) 4. ภาพระยะปานกลางMedium shot (MS) 5. ภาพระยะปานกลางใกล Medium Close Up shot (MCU) 6. ภาพระยะใกล Close Up (CU) 7. ภาพระยะใกลมาก Extreme Close Up (ECU) ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 25
  • 26. Extreme Long shot (ELS) ภาพระยะไกลมาก Extreme Long shot (ELS) หมายถึง การถายภาพภาพในระยะที่อยูไกลมาก เพื่อใหเห็น ถึงบรรยากาศโดยรอบของสถานที่ หรือ สภาพแวดลอมไมมีการเนนสิ่งใดสิ่งหนึ่ง ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 26
  • 27. Long shot (LS)  2. ภาพระยะไกล Long shot (LS) หมายถึง การถายภาพวัตถุในระยะไกล เพื่อแสดงที่ตั้งหรือสวนประกอบในฉาก หรือแสดงสัดสวน ของขนาดวัตถุ เปรียบเทียบกับสวนประกอบอื่นๆในฉาก เชน ภาพเต็มตัว ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 27
  • 28. Medium Long shot (MLS)  3. ภาพระยะไกลปานกลาง Medium Long shot (MLS) หมายถึง การถายภาพวัตถุในระยะไกล ที่แสดงใหเห็นถึงรายละเอียด ของวัตถุ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 28
  • 29. Medium shot (MS)  4. ภาพระยะปานกลางMedium shot (MS) หมายถึง การถายภาพวัตถุในระยะปานกลางเพื่อ ตัดฉากหลังและ รายละเอียดอื่นๆที่ไมจําเปนออกไป อีกทั้งยังเปนการถายภาพวัตถุ ใหเห็นภาพที่ใหญกวาเดิม เนนสวนละเอียดมากขึ้น เชนภาพครึ่งตัว ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 29
  • 30. Medium Close Up shot (MCU)  5. ภาพระยะปานกลางใกล Medium Close Up shot (MCU) หมายถึง ภาพถายวัตถุในระยะปานกลาง ที่ถายเนนรายละเอียดของวัตถุใหเขาใกลมาอีก ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 30
  • 31. Close Up (CU)  6. ภาพระยะใกล Close Up (CU) หมายถึง ภาพถายระยะใกลวัตถุ เพื่อเนนวัตถุ หรือบางสวนของวัตถุขจัดสิ่งอื่นๆที่ไมตองการแสดง ออกไปยายใหเห็นรายละเอียดเฉพาะของวัตถุ ใหชัดเจนมากขึ้น เชน ภาพครึ่งหนาอก ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 31
  • 32. Extreme Close Up (ECU)  7. ภาพระยะใกลมาก Extreme Close Up (ECU) หมายถึง ภาพถายที่เนนใหเห็นสวนใดสวนหนึ่งของวัตถุ อยางชัดเจน เชนนัยนตา เพื่อแสดง อารมณของผูที่อยู ในภาพ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 32
  • 33. ลักษณะของภาพที่ถาย *เพื่อบอกเนื้อหา หรือเรื่องราวของภาพและลักษณะภาพหรือธรรมชาติของภาพที่ถาย 1. ภาพที่ถายจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view) 2. ภาพที่ถายในระยะใกลมาก (Big Close Up Shot) 3. ภาพครึ่งอก (Bust Shot) 4. ภาพเอียง (Canted Shot) 5. ภาพถายขามไหล (Cross Shot) ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 33
  • 34. ภาพที่ถายจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view)  1. ภาพที่ถายจากมุมสูง (aerial shot / bird’s eyes view) หมายถึง ภาพถายในลักษณะถายจากมุมสูง เชน จากเครื่องบิน เสมือนภาพแทนสายตานก ในบทโทรทัศนนอกจากบอกวา ตั้งกลองมุมสูงแลวจะตอง ระบุดวยวาถายจากเครื่องบิน ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 34
  • 35. ภาพที่ถายในระยะใกลมาก (Big Close Up Shot)  2. ภาพที่ถายในระยะใกลมาก (Big Close Up Shot) หมายถึง ภาพถายในลักษณะใกลมีขนาดใหญ เชน ภาพคน เต็มหนา หรือภาพบางสวนของใบหนาที่ตองการเนนเฉพาะ เชน นัยนตา ปาก จมูก หรือบางสวนของวัตถุ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 35
  • 36. ภาพครึ่งอก (Bust Shot)  3. ภาพครึ่งอก (Bust Shot) หมายถึง ภาพถายศีรษะกับหัวไหลทั้งสองของผูแสดง ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 36
  • 37. ภาพเอียง (Canted Shot)  4. ภาพเอียง (Canted Shot) หมายถึง ภาพที่อยูนอกเสนดิ่งของภาพ ในบทโทรทัศนมักจะบอกรายละเอียดเพิ่มเติม เชน ภาพเอียง หรือภาพเฉียง ลักษณะใด ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 37
  • 38. ภาพถายขามไหล (Cross Shot)  5. ภาพถายขามไหล (Cross Shot) หมายถึง ภาพที่ถายขามไหลดานหลังอีกคนหนึ่งเปนฉากหนา และเห็นหนาอีกคนหนึ่ง ในบทโทรทัศนใชคําวา X- Shot หรือถายขามไหล ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 38
  • 39. ภาพเต็มตัว (Full Shot)  6. ภาพเต็มตัว (Full Shot) หมายถึง ภาพผูแสดงคนเดียว หรือหลายคนเต็มตัว โดยมีฉากหลังประกอบ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 39
  • 40. ภาพระดับเขาของรางกาย (Knee Shot)  7. ภาพระดับเขาของรางกาย (Knee Shot) หมายถึง ภาพที่ถายตั่งแตศีรษะลงไปจนถึงหัวเขา หรือการถายภาพตั้งแตหัวเขา ลงไปถึงเทา ซึ่งในบทโทรทัศนควรระบุใหชัดเจน ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 40
  • 41. ภาพถายจากกระจกเงา (Mirror Shot)  8. ภาพถายจากกระจกเงา (Mirror Shot) หมายถึง ภาพที่ถายผูแสดงจากภาพในกระจกเงา ซึ่งในบทโทรทัศนควรระบุใหชัดเจนวา เปนภาพจากกระจกเงา ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 41
  • 42. ภาพหมู (Group shot)  9. ภาพหมู (Group shot) หมายถึง ภาพในลักษณะรวมกันเปนหมู หรือเปนกลุมคน ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 42
  • 43. ภาพบุคคล 2 คนครึ่งตัว (Two Shot / Double Shot )  10. ภาพบุคคล 2 คนครึ่งตัว (Two Shot / Double Shot ) หมายถึง ภาพบุคคล 2 คนครึ่งตัวในกรอบภาพเดียวดัน หันหนาเขาหากัน ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 43
  • 44. หลักการกําหนดภาพ  1. ภาพแบบออฟเจคตีฟ (Objective Shot) หมายถึง การถายภาพในลักษณะแทนสายตาของผูชม หรือผูสังเกตการณ ตําแหนงของ กลองจะอยูทางดานหนาของนักแสดง  2. ภาพแบบซับเจคตีฟ (Subjective Shot) หมายถึง การถายภาพในลักษณะกลองจะตั้งอยูในตําแหนงแทนสายตาของผูแสดง และ กํากับมองดูการกระทํา เชนเดียวกับที่ผูแสดงมองเห็น ตัวอยางที่ใชกันบอยๆคือ ตั้งกลอง ในมุมสูง ถายภาพขามไหลผูแสดงไปยังวัตถุที่กําลังแสดงอยู ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 44
  • 45. การเคลื่อนไหวกลอง (Camera Movement)  การเคลื่อนไหวกลองในระหวางการถายทําจะชวยเพิ่มความนาสนใจ และแสดงเรื่องราว ความหมายไดดีนอกเหนือจากตัววัตถุเคลื่อนไหว หรืออาจเคลื่อนไหวทั้ง 2 อยาง พรอมๆกัน การเคลื่อนไหวของกลองมี หลายแบบ ดังนี้ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 45
  • 46. การแพนกลอง (Panning)  การแพนกลอง (Panning) หมายถึง การเคลื่อนที่ของกลองตาม แนวนอนไปทางซาย (Pan left) หรือ ไปทางขวา (Pan right) เพื่อใหเห็น วัตถุตามแนวกวาง หรือเมื่อตองการนํา ผูชมไปยังจุดนาสนใจ หรือที่ตองการ - เพื่อใหเห็นภาพที่อยูนอกจดภาพใน ขณะนั้น - เพื่อตองการติดตามการเคลื่อนไหววัตถุ - เพื่อใหเห็นปฏิกิริยาตอบโตกัน - เพื่อตองการการเปลี่ยนฉาก ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 46
  • 47. การทิ้ลท (Tilting)  2. การทิ้ลท (Tilting) หมายถึง การเคลื่อนกลองตามแนวดิ่ง จากลางขึ้นบน (Tilt Up) และจากบนลงลาง (Tilt Down)  - เพื่อใหเห็นวัตถุตามแนวตั้งเชน ภาพอาคารสูง หรือนําผูชมไปยัง จุดที่ตองการ - เพื่อใหเห็นตําแหนงที่ตั้งของสิ่งตางๆ โดยสัมพันธกัน - เพื่อใหเห็นวัตถุที่ยาวหรือสูงเกินรัศมี ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 47
  • 48. การซูม (Zooming)  3. การซูม (Zooming) หมายถึง การเปลี่ยนขนาดของวัตถุใหใหญขึ้น (Zoom In) หรือเปลี่ยนขนาดของวัตถุใหเล็กลง(Zoom Out) - เพื่อตองการเปลี่ยนขนาดของวัตถุอยางชาๆ - เมื่อตองการใหผูชมสนใจวัตถุนั้น - เมื่อตองการใหเห็นวัตถุอยางชัดเจน - เพื่อใหบังเกิดผลที่นาตื่นใจ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 48
  • 49. การดอลลี่ (Dolling)  4. การดอลลี่ (Dolling) หมายถึง การเคลื่อนกลองติดตาม ความเคลื่อนไหวของสิ่งที่ถาย หรือฉากที่มีระยะทางยาวในทิศ ทางตรง หรือทางออมไปรอบๆ การเคลื่อนไหวกลองเขาหาวัตถุ เรียกวา Dolly in และการ เคลื่อนไหวกลองออกจากวัตถุ เรียกวา Dolly out ผลของการดอลลี่ (Dolly)  จะคลายซูม (Zoom) คือขนาดของวัตถุจะเปลี่ยนแปลงไปตาระยะของ การดอลลี่ แตจะแตกตางกันตรง สวนประกอบตางๆในภาพเกี่ยวกับระยะทาง ระหวางวัตถุกับฉากหนาและฉากหลัง จะเปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหว ของกลอง คนดูจะสามารถรูถึงมิติของความลึกมากกวาภาพที่เกิดจากการซูม - เพื่อสรางความตื่นเตน - เมื่อตองการติดตามการเคลื่อนไหว - เพื่อใหมีมุมมองภาพที่หลากหลายแบบ - เมื่อตองการปรับเปลี่ยนองคประกอบภาพ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 49
  • 50. การทรัค (Trucking / Tracking )  5. การทรัค (Trucking / Tracking ) หมายถึง การเลื่อนไหวกลองไปดานซายใหขนานกับวัตถุไป ทางซาย เรียกวา หรือไปทางขวา เรียกวา ซึ่งผลจะคลายกับ การแพน แตการทรัคจะชวยใหเกิด การเปลี่ยนแปลงมิติเรื่องความลึก ของภาพไดดีกวา คลายๆกับความรูสึก ของเราที่มองออกไปนอกหนาตาง รถขณะที่เคลื่อนที่ไป ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 50
  • 51. การอารค (Arking)  6. การอารค (Arking) หมายถึง การเคลื่อนไหวกลองในแนวเฉียงเปนรูปครึ่งวงกลม ไปทางซาย (Ark left) หรือ ไปทางขวา (Ark right) เพื่อเปลี่ยนมุมกลองไปทางดานขางของวัตถุ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 51
  • 52. การบูม หรือเครน (Booming / Craning)  7. การบูม หรือเครน (Booming / Craning) หมายถึง การถายภาพพรอมกับขาตั้งกลองในแนวตั้ง เรียกวา ‘บูม’ ถาเคลื่อนขึ้น เรียกวา Boom Up สวนเลื่อนลง เรียกวา Boom Down และถาเคลื่อนกลองขึ้นลงโดยใชเครน เรียกวา Crane Up และCrane Down เมื่อตองการเคลื่อนกลองลงดวยเครน วัตถุประสงคเพื่อตองการคงมุมกลองที่ ตองการจากมุมสูงและต่ําอยางตอ เนื่อง ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 52
  • 53. สติลช็อต (Still Shot)  8. สติลช็อต (Still Shot) หมายถึง การถายภาพโดยไมเคลื่อนกลอง ใชมากใน การถายทํารายการทั่วไป โดยปกติกลองจะโฟกัสอยูบนวัตถุหรือบุคคลที่ตองการ ออกอากาศมากที่สุด ในการถายแบบนี้จําเปนตองจัดองคประกอบภาพใหดี ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 53
  • 54. การเชื่อมตอภาพ (Transition)  เปนวิธีการลําดับเวลาและเหตุการณ โดยการใชเทคนิคพิเศษ ดังนี้ 1. การตัดภาพ (Cut) 2. ภาพจาง (Fade) 3. ภาพจางซอน (Dissolve) 4. ภาพซอน (Superimpose) 5. ภาพกวาด (Wipe) 6. ภาพเลือนเขาหากัน (Morphink) การเปลี่ยนจากภาพหนึ่งไปสูอีกภาพหนึ่งอยางตอเนื่อง ดวยการละลายเขาหากันจนเปนภาพใหม ตัวอยางเชน ภาพยนตรเรื่องคนเหล็ก และเรื่อง โรโบคอบ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 54
  • 55. Cut  1. การตัดภาพ (Cut) หมายถึง การเปลี่ยนภาพอยางแบพลัน โดยการเปลี่ยนจากภาพหนึ่ง มาอีกภาพหนึ่ง โดยไมมี อะไรมาคั่น ใชช็อทที่มีความสัมพันธกันอยาง ใกลชิด และเหตุการณที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว การตัดตอตาปกติ มักใชการตัดภาพแบบนี้ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 55
  • 56. Fade  2. ภาพจาง (Fade) หมายถึง การตอเชื่อมภาพเริ่มจากภาพมือสนิทไมมีภาพ แลวคอยๆปรากฏเปน ภาพเลือนลางจนเปนภาพที่มองเห็นชัดเจน เรียกวา Fade In มักใชในตอนเริ่มเรื่อง หรือเริ่มตนใหม เหมือนการเปด ฉาก สวนภาพ Fade Out เปนการเริ่มตนจากภาพที่ปรากฏชัดเจนอยูแลว คอยๆ เลือนรางและหายไปกลาย เปนภาพมืดสนิท มักใชตอนจบเรื่อง การใชการจางภาพสามารถใชคั่นเชื่อมโยงระหวางฉากแรกกับฉากหลัง ซึ่งเปนเวลาที่ลวง มานาน หรือสถานที่นั้นอยูหางกันไกลมาก ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 56
  • 57. Dissolve  3. ภาพจางซอน (Dissolve) หมายถึง การเชื่อมตอภาพ โดยการใชช็อทแรกคอยๆจางออกไป ในขณะเดียวกับฉาก หลังจะ คอยๆจางซอนเขามา จนกระทั่งช็อทแรกจางหายออกไปเหลือแตช็อทหลังเทานั้น ใช สําหรับคั่นเชื่อมโยงระหวางฉากแรกกับฉากหลัง หรือระหวางหลายฉาก ซึ่งเปนเวลาที่ลวงเลยมาไมนานนัก และในภาพของฉากแรกกับฉากหลัง ไมมีอะไรใหสังเกตเห็นไดวามีความตอเนื่องเชื่อมโยงกัน ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 57
  • 58. Superimpose  4. ภาพซอน (Superimpose) หมายถึง การซอนฉาก 2 ฉากเขาไวดวยกัน เพื่อแสดงถึงเหตุการณตางสถานที่ ในเวลา เดียวกัน แสดงภาพการคิดคํานึงของบุคคลตอสิ่งใดสิ่งหนึ่ง โดยการถายภาพใบหนาและภาพเหตุการณไป พรอมๆกัน นอกจากนี้ยังใชในการสรางภาพพิเศษ เชน ภาพผี ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 58
  • 59. Wipe  5. ภาพกวาด (Wipe) หมายถึง การใชภาพตอเนื่องโดยใหภาพใหมเขามากวาดภาพเกาออกจากจอ ทีละนอยจนภาพเกาหมดจากจอ หรือภาพใหมเขามาแทนที่ เชน กวาดจากซายไปขวา หรือบนจอลงลางจอ เปนตน ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 59
  • 60. Morph ink  6. ภาพเลื่อนเขาหากัน (Morph ink) การเปลี่ยนจากภาพหนึ่งไปสูอีกภาพหนึ่งอยางตอเนื่อง ดวยการละลายเขาหากัน จนเปนภาพใหม ตัวอยางเชน ภาพยนตรเรื่องคนเหล็ก และเรื่องโรโบคอบ ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 60
  • 61. โปรดติดตามตอนตอไป สวัสดี ครูเฒาบุรีรัมย (นางกฤตยา ศรีร) ิ 61