SlideShare a Scribd company logo
420111 ฟิสิกส์ 1 หมู่ที่ 2
อาจารย์ผู้สอน อ.ดร.ภาคภูมิ เรือนจันทร์
ห้องทํางาน ห้อง 508 ชั้น 5 ภาควิชาฟิสิกส์
คณะวิทยาศาสตร์
เวลาสําหรับนักศึกษา
วันจันทร์และวันศุกร์ 10.00 – 12.00 น.
วันพุธ 13.30 –17.00 น.
เอกสารประกอบการเรียนการสอน
หนังสือ ฟิสิกส์ 1 โดยภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Physics for Scientists and Engineers 6th edition by
Serway and Jewett
Fundamentals of Physics 9th edition by Halliday,
Resnick, and Walker
• คะแนนเก็บ (การบ้าน, quiz, check ชื่อเข้าเรียน) 20%
• สอบมิดเทอม 40%
- 19-27 ธ.ค. 2556
• สอบ Final 40%
- 3 มี.ค.-14 มี.ค. 2557
เกณฑ์การให้คะแนน
ทําไม(จึงต้อง)เรียนฟิสิกส์ ?
- เพราะเป็นวิชาบังคับ
- เพราะเรียนสายวิทยาศาสตร์
- เพราะเรียนวิชาอื่นไม่รู้เรื่องเลย
- เพราะชอบมาก ทําคะแนนได้ดี
- เพราะเป็นอารยธรรมหนึ่งของมนุษยชาติ
- เพราะเป็นรากฐานของความคิดและความเข้าใจของมนุษย์ต่อธรรมชาติ
- เพราะทําให้เข้าใจสิ่งต่างๆในธรรมชาติและขจัดความกลัวต่อสิ่งที่ไม่รู้
ต่างๆ
- เพราะเป็นส่วนสําคัญในการพัฒนาและสร้างสรรค์เทคโนโลยีต่างๆที่มี
ประโยชน์และช่วยอํานวยความสะดวกต่างๆให้กับมนุษย์
1. บทนํา
2. เวกเตอร์
3. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
4. การเคลื่อนที่ในระนาบ
5. แรงและกฎการเคลื่อนที่
6. งานและพลังงาน
7. โมเมนตัมและการชน
8. พลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง
9. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก
10. สภาพยืดหยุ่นของสาร
11. คลื่น
12. กลศาสตร์ของไหล
13. ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
เรื่องที่จะเรียนในฟิสิกส์ 1
กลางภาค ปลายภาค
1. บทนํา
1.1 ทฤษฎีทางฟิสิกส์
- หลัก กฏ
1.2 หน่วย ระบบ SI , มิติ
1.3 ความแม่นและตัวเลขนัยสําคัญ
1.4 สัญกรกําลังของสิบและอุปสรรคในหน่วยเอสไอ (SI)
1.5 แนวคิดในการแก้ปัญหาในโจทย์ฟิสิกส์
• ฟิสิกส์คืออะไร
- Physics มาจากภาษากรีกโบราณ แปลว่า “ธรรมชาติ”
- วิทยาศาสตร์ธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาสสาร การ
เคลื่อนที่ของวัตถุ รวมถึงแนวความคิดของแรงและพลังงาน,
โดยรวมแล้วคือการศึกษาว่า “ทําไมธรรมชาติจึงเป็นอย่างที่มัน
เป็นอยู่”
1.1 ทฤษฎีทางฟิสิกส์
ทฤษฎี (theory)- ตั้งขึ้นจากหลักหรือกฎ แบบจําลอง และข้อสมมติฐาน ซึ่ง
สามารถทํานายผลได้ค่อนข้างกว้าง
การก่อกําเนิดทฤษฎีทางฟิสิกส์ได้จาก
 แนวคิด (concept) พื้นฐาน
 กฎ (law) –กําหนดความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางฟิสิกส์
- นิรนัย (จากคณิตศาสตร์) หรือ อุปนัย (จากการทดลอง)
 หลัก (principle)- เชื่อว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์
- หลักอนุรักษ์พลังงาน
 แบบจําลอง (model)- เป็นตัวแทนระบบ ให้ง่ายในการอธิบาย
วิธีนิรนัย deduction
 เป็นการหาความรู้จากพื้นฐานเดิมที่เชื่อว่าถูกต้องแล้ว
 ตัวอย่างเช่น ผลจากการวิเคราะห์ด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์
 ดังนั้น ถ้าแนวคิดพื้นฐานเดิมผิด ผลที่ได้ก็น่าจะผิด
วิธีอุปนัย induction
 การอ้างเหตุผลโดยอาศัยหลักฐานจากประสบการณ์
 ใช้การทดลอง ผลจากการทดลองสรุปเป็นกฎ
 มักเรียก ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)
 เป็นวิธีศึกษาให้ได้ความรู้ใหม่
 ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ (quantitative science)
- เริ่มจากการวัดปริมาณของสิ่งต่างๆ
- ความยาว มวล เวลา
 ฟิสิกส์ใช้วิธีอุปนัยและนิรนัยผสมกัน ใช้กระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ (scientific method)
 สิ่งที่ค้นพบโดยวิธีนิรนัย ต้องสามารถตรวจสอบได้โดยวิธีอุปนัย
หรือ การทดลอง
 สิ่งที่ค้นพบโดยวิธีทางอุปนัย ต้องสามารถอธิบายได้โดยวิธีนิรนัย
วิธีการทางฟิสิกส์
1.2 หน่วย
 ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ จึงต้องมีการวัด
 องค์ประกอบของการวัด
- สิ่งที่จะวัด
- ปริมาณที่จะวัด
- เครื่องมือที่ใช้วัด และความแม่นของเครื่องมือ
- หน่วยการวัด
 เมื่อมีการวัดต้องมีการบันทึกหน่วย
 หน่วยการวัดมีหลายระบบ ดังนั้นเวลากล่าวถึงปริมาณคิดเป็นมิติ
มิติ (dimension)
 มิติ เป็นสมบัติทางฟิสิกส์ของปริมาณที่วัด ไม่คํานึงถึงระบบของ
หน่วย ไม่ว่าระบบหน่วยใดปริมาณที่เหมือนกันจะมีมิติเดียวกันนิยม
ใช้สัญลักษณ์
 T แทน เวลา
 L แทน ความยาว
 M แทน มวล
 มิติของความหนาแน่น
 มิติของความดัน
ปริมาณที่ไม่มีมิติ
θ
x
y
sin
[length x]
[sin ]
[length y]
x
y
θ
θ
=
=
มิติของค่านิจแรงโน้มถ่วง
หน่วย (unit)
 หน่วยเป็นสเกลที่ใช้วัดมิติ
 มาตรฐานสากลในปัจจุบันคือ หน่วย เอสไอ
(SI-International Systems of Units)
 มีหน่วยมูลฐาน ความยาว (m) มวล (kg) เวลา (s) อุณหภูมิ (K)
กระแสไฟฟ
้ า (A) ปริมาณของสาร (mol) ความเข้มของการส่อง
สว่าง (cd)
 หน่วยอนุพัทธ์ หน่วยอื่นที่เกิดจากการผสมของหน่วยมูลฐาน เช่น
ความเร็ว (m/s)
หน่วยของปริมาณพื้นฐานในระบบ SI
ปริมาณ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์
มวล กิโลกรัม (kilogram) kg
ความยาว เมตร (meter) m
เวลา วินาที (second) s
SI = International System of Units
abbreviated SI from French: Système international d'unités
หน่วยของปริมาณพื้นฐานในระบบ SI
มวล 1 กิโลกรัม อ้างอิงจากมวลของวัตถุ
ทรงกระบอก platinum-irridium ขนาดเส้นผ่าน
ศูนย์กลาง และความสูง 3.9 centimeters
หรือ จากอีกนิยามคือ 1/12 ของมวลของ carbon-
12 อะตอม = 1.66053886×10-27 kg
ความยาว 1 เมตร คือระยะทางที่แสงเดินทาง
ได้ใน 1/299,792,458 วินาทีในสุญญากาศ
http://tycho.usno.navy.mil/simpletime.html
เวลา 1 วินาที คือเวลาที่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ
้ าที่
เกิดจากการสั่นของอะตอมของ cesium-133
ครบ 9,192,631,770 รอบ
http://science.howstuffworks.com/atomic-
clock3.htm
หน่วยของปริมาณอนุพัทธ์บางปริมาณ
ปริมาณ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ หน่วยพื้นฐาน
ความเร่ง
แรง
-
นิวตัน (newton) N
m/s2
kg·m/s2
งาน จูล (joule) J kg·m2/s2 (N·m)
กําลัง วัตต์ (watt) W kg·m2/s3 (J/s)
คําอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์
giga- 109 G
mega- 106 M
kilo- 103 k
deci- 10-1 d
centi- 10-2 c
milli- 10-3 m
micro- 10-6 µ
nano- 10-9 n
การเปลี่ยนหน่วย (conversion of units)
แฟกเตอร์การเปลี่ยนหน่วย (conversion factor)
 ในการเปลี่ยนหน่วยจากหน่วยหนึ่งเป็นอีกหน่วยหนึ่ง จะมีตัวคูณคูณเพื่อ
เปลี่ยนหน่วยแล้วค่าของปริมาณยังคงเท่าเดิม เรียกตัวคูณนี้ว่า แฟกเตอร์
การเปลี่ยนหน่วย
3
3
9
9
9
10
5 kg = 5 kg = 5000 g
10
10
8 nm = 8 nm 8 10 m
10
−
−
−
= ×
การเปลี่ยนหน่วย (conversion of units)
3
km/h m/s
10 m m
0.2778
60 60s s
→
=
×
90 km/h 90 0.2778 m/s 25.002 m/s
=
× =
หมายความว่า 1 km/h = 0.2778 m/s
ในกรณีนี้แฟกเตอร์การเปลี่ยนหน่วยคือ
m/s
1 0.2778
km/h
=
เลขนัยสําคัญ
 เลขนัยสําคัญเป็นเลขที่ได้มาจากการวัด มีหน่วยเสมอ
 เลขที่ไม่ได้มาจากการวัดไม่มีนัยสําคัญ
 การระบุจํานวนนัยสําคัญ ศูนย์ข้างหน้าที่ไม่มีเลขอื่นก่อนหน้า
ไม่นับ, ศูนย์ข้างหลังนับ, เลขสิบยกกําลังไม่นับ
 12.50 เมตร มีนัยสําคัญ 4 ตัว
 0.00563 วินาที มีนัยสําคัญ 3 ตัว
 1.0050 กิโลกรัม มีนัยสําคัญ 5 ตัว
 3.6×105 มีนัยสําคัญ 2 ตัว
เลขนัยสําคัญ
อ่านค่าได้ ?
เลขนัยสําคัญ
อ่านค่าได้ ?
การบวกลบเลขนัยสําคัญ
 การบวกลบให้ดูตามจํานวนทศนิยมหลักน้อยที่สุดเป็นหลัก
 ตัวอย่าง 5.013 เมตร − 3.5 เมตร = ?
5.013 เมตร มีทศนิยม 3 ตําแหน่ง
3.5 เมตร มีทศนิยม 1 ตําแหน่ง
5.013 − 3.5 = 1.513 เมตร
ต้องตอบทศนิยม 1 ตําแหน่ง ตามหลักน้อย คือ 1 ตําแหน่ง
ตอบ 5.013 − 3.5 = 1.5 เมตร
การปัดเศษ (rounding)
ตัวอย่างกรณีที่ต้องการทศนิยมสองตําแหน่ง
 ถ้าเลขมากกว่า 5 ให้ปัดขึ้น 2.469 m  2.47 m
 ถ้าเลขน้อยกว่า 5 ให้ปัดลง 2.463 m  2.46 m
 ถ้าเลขเท่ากับ 5 พอดี ดูก่อนว่าหน้าเลข 5 เป็นเลขคู่หรือเลขคี่*
 หน้าเลข 5 เป็นเลขคู่ ปัดลง 2.465 m  2.46 m
 หน้าเลข 5 เป็นเลขคี่ ปัดขึ้น 2.475 m  2.48 m
*วิธีนี้เรียกว่าวิธีการปัดเศษเลขคู่ หรือชื่ออื่นๆเช่น unbiased rounding,
convergent rounding
การคูณหารเลขนัยสําคัญ
 การคูณและหาร เลขนัยสําคัญ ให้ยึดตามเลขนัยสําคัญหลักที่น้อย
ที่สุด
 ตัวอย่าง 3.50 กิโลกรัม × 2.2 เมตร/วินาที
3.56 กิโลกรัม มีนัยสําคัญ 3 ตัว
2.2 เมตร/วินาที มีนัยสําคัญ 2 ตัว
3.56 กิโลกรัม × 2.2 เมตร/วินาที = 7.832 กิโลกรัม เมตรต่อวินาที
ตอบ นัยสําคัญ 2 ตัว คือ 7.8 กิโลกรัม เมตรต่อวินาที
 การคูณและหาร เลขนัยสําคัญ ให้ยึดตามเลขนัยสําคัญหลักที่
น้อยที่สุด
 ตัวอย่าง 2.538 เมตร/1.2 วินาที
2.538 เมตร มีนัยสําคัญ 4 ตัว
1.2 วินาที มีนัยสําคัญ 2 ตัว
2.538 เมตร/1.2 วินาที = 2.115 เมตร/วินาที
ตอบ นัยสําคัญ 2 ตัว คือ 2.1 เมตรต่อวินาที
การคูณหารเลขนัยสําคัญ
1.4 สัญกรณ์กําลังของสิบและอุปสรรคในหน่วยเอสไอ
สัญกรณ์กําลังของสิบเขียนในรูป 10n
คําอุปสรรคที่ใช้แทนสัญกรณ์กําลังของสิบในระบบเอสไอเช่น
เทระ(T) ใช้แทน 1012
จิกะ (G) ใช้แทน 109
เมกะ(M) ใช้แทน 106
กิโล(K) ใช้แทน 103
เซนติ (c) ใช้แทน 10-2
มิลลิ (m) ใช้แทน 10-3
ไมโคร (µ) ใช้แทน 10-6
นาโน (n) ใช้แทน 10-9
พิโค (p) ใช้แทน 10-12
1.4 สัญกรณ์กําลังของสิบและอุปสรรคในหน่วยเอสไอ
ตัวอย่าง
6
3
9
12
470 470 10
2.15 2.15 10
65 65 10
125 125 10
m m
kg g
ns s
pF F
µ −
−
−
= ×
= ×
= ×
= ×
1.5 แนวคิดในการแก้ปัญหาในโจทย์ฟิสิกส์
หลักการพื้นฐานในการแก้ปัญหาโจทย์ในขั้นต้น
 การเขียนแผนภาพ
 การพิจารณาหลักที่ต้องใช้
 การแก้สมการ (ถ้าการหาผลเฉลยยังไม่ถึงขั้นสุดท้าย อย่า
เพิ่งแทนค่าจํานวนเลขของตัวแปรใดๆ)
 ตรวจคําตอบ

More Related Content

Similar to ฟิสิกส์ หลักสูตรวิชาฟิสกส์หหดกหกดฟหกดกหดฟหก

เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553
Review Wlp
 
Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2
jutathipbuathong
 
การวัดการกระจาย St.b
การวัดการกระจาย St.bการวัดการกระจาย St.b
การวัดการกระจาย St.b
Darunee Hunwisai
 
77100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-13551477100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-135514lim way
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
ครู กรุณา
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
PumPui Oranuch
 
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2Rainymath
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมันPreecha Yeednoi
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
ครู กรุณา
 

Similar to ฟิสิกส์ หลักสูตรวิชาฟิสกส์หหดกหกดฟหกดกหดฟหก (15)

เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553เฉลยข้อสอบ O-net 2553
เฉลยข้อสอบ O-net 2553
 
Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2Analyze o net-math-m3_2
Analyze o net-math-m3_2
 
การวัดการกระจาย St.b
การวัดการกระจาย St.bการวัดการกระจาย St.b
การวัดการกระจาย St.b
 
นำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสามนำเสนอประเมินรอบสาม
นำเสนอประเมินรอบสาม
 
บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์
 
77100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-13551477100967 1 20140702-135514
77100967 1 20140702-135514
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ 2559
 
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่1 introductions ปริมาณทางฟิสิกส์
 
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
การวัดความยาวและพื้นที่ บทที่ 2
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3  ปีการศึกษา 2557
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2557
 
Math เฉลย
Math เฉลยMath เฉลย
Math เฉลย
 

Recently uploaded

โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
Postharvest Technology Innovation Center
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
NuttavutThongjor1
 

Recently uploaded (7)

โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
กำหนดการ “การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวแห่งชาติ ครั้งที่ 21”
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
Next.js web development.pdfNext.js web development.pdfNext.js web development...
 

ฟิสิกส์ หลักสูตรวิชาฟิสกส์หหดกหกดฟหกดกหดฟหก

  • 1. 420111 ฟิสิกส์ 1 หมู่ที่ 2 อาจารย์ผู้สอน อ.ดร.ภาคภูมิ เรือนจันทร์ ห้องทํางาน ห้อง 508 ชั้น 5 ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ เวลาสําหรับนักศึกษา วันจันทร์และวันศุกร์ 10.00 – 12.00 น. วันพุธ 13.30 –17.00 น. เอกสารประกอบการเรียนการสอน หนังสือ ฟิสิกส์ 1 โดยภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Physics for Scientists and Engineers 6th edition by Serway and Jewett Fundamentals of Physics 9th edition by Halliday, Resnick, and Walker
  • 2. • คะแนนเก็บ (การบ้าน, quiz, check ชื่อเข้าเรียน) 20% • สอบมิดเทอม 40% - 19-27 ธ.ค. 2556 • สอบ Final 40% - 3 มี.ค.-14 มี.ค. 2557 เกณฑ์การให้คะแนน
  • 3. ทําไม(จึงต้อง)เรียนฟิสิกส์ ? - เพราะเป็นวิชาบังคับ - เพราะเรียนสายวิทยาศาสตร์ - เพราะเรียนวิชาอื่นไม่รู้เรื่องเลย - เพราะชอบมาก ทําคะแนนได้ดี - เพราะเป็นอารยธรรมหนึ่งของมนุษยชาติ - เพราะเป็นรากฐานของความคิดและความเข้าใจของมนุษย์ต่อธรรมชาติ - เพราะทําให้เข้าใจสิ่งต่างๆในธรรมชาติและขจัดความกลัวต่อสิ่งที่ไม่รู้ ต่างๆ - เพราะเป็นส่วนสําคัญในการพัฒนาและสร้างสรรค์เทคโนโลยีต่างๆที่มี ประโยชน์และช่วยอํานวยความสะดวกต่างๆให้กับมนุษย์
  • 4. 1. บทนํา 2. เวกเตอร์ 3. การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง 4. การเคลื่อนที่ในระนาบ 5. แรงและกฎการเคลื่อนที่ 6. งานและพลังงาน 7. โมเมนตัมและการชน 8. พลศาสตร์ของวัตถุแข็งเกร็ง 9. การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิก 10. สภาพยืดหยุ่นของสาร 11. คลื่น 12. กลศาสตร์ของไหล 13. ความร้อนและอุณหพลศาสตร์ เรื่องที่จะเรียนในฟิสิกส์ 1 กลางภาค ปลายภาค
  • 5. 1. บทนํา 1.1 ทฤษฎีทางฟิสิกส์ - หลัก กฏ 1.2 หน่วย ระบบ SI , มิติ 1.3 ความแม่นและตัวเลขนัยสําคัญ 1.4 สัญกรกําลังของสิบและอุปสรรคในหน่วยเอสไอ (SI) 1.5 แนวคิดในการแก้ปัญหาในโจทย์ฟิสิกส์
  • 6. • ฟิสิกส์คืออะไร - Physics มาจากภาษากรีกโบราณ แปลว่า “ธรรมชาติ” - วิทยาศาสตร์ธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาสสาร การ เคลื่อนที่ของวัตถุ รวมถึงแนวความคิดของแรงและพลังงาน, โดยรวมแล้วคือการศึกษาว่า “ทําไมธรรมชาติจึงเป็นอย่างที่มัน เป็นอยู่”
  • 7. 1.1 ทฤษฎีทางฟิสิกส์ ทฤษฎี (theory)- ตั้งขึ้นจากหลักหรือกฎ แบบจําลอง และข้อสมมติฐาน ซึ่ง สามารถทํานายผลได้ค่อนข้างกว้าง การก่อกําเนิดทฤษฎีทางฟิสิกส์ได้จาก  แนวคิด (concept) พื้นฐาน  กฎ (law) –กําหนดความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณทางฟิสิกส์ - นิรนัย (จากคณิตศาสตร์) หรือ อุปนัย (จากการทดลอง)  หลัก (principle)- เชื่อว่าจริงโดยไม่ต้องพิสูจน์ - หลักอนุรักษ์พลังงาน  แบบจําลอง (model)- เป็นตัวแทนระบบ ให้ง่ายในการอธิบาย
  • 8. วิธีนิรนัย deduction  เป็นการหาความรู้จากพื้นฐานเดิมที่เชื่อว่าถูกต้องแล้ว  ตัวอย่างเช่น ผลจากการวิเคราะห์ด้วยวิธีทางคณิตศาสตร์  ดังนั้น ถ้าแนวคิดพื้นฐานเดิมผิด ผลที่ได้ก็น่าจะผิด วิธีอุปนัย induction  การอ้างเหตุผลโดยอาศัยหลักฐานจากประสบการณ์  ใช้การทดลอง ผลจากการทดลองสรุปเป็นกฎ  มักเรียก ระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์ (scientific method)  เป็นวิธีศึกษาให้ได้ความรู้ใหม่
  • 9.  ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ (quantitative science) - เริ่มจากการวัดปริมาณของสิ่งต่างๆ - ความยาว มวล เวลา  ฟิสิกส์ใช้วิธีอุปนัยและนิรนัยผสมกัน ใช้กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ (scientific method)  สิ่งที่ค้นพบโดยวิธีนิรนัย ต้องสามารถตรวจสอบได้โดยวิธีอุปนัย หรือ การทดลอง  สิ่งที่ค้นพบโดยวิธีทางอุปนัย ต้องสามารถอธิบายได้โดยวิธีนิรนัย วิธีการทางฟิสิกส์
  • 10. 1.2 หน่วย  ฟิสิกส์เป็นวิทยาศาสตร์เชิงปริมาณ จึงต้องมีการวัด  องค์ประกอบของการวัด - สิ่งที่จะวัด - ปริมาณที่จะวัด - เครื่องมือที่ใช้วัด และความแม่นของเครื่องมือ - หน่วยการวัด  เมื่อมีการวัดต้องมีการบันทึกหน่วย  หน่วยการวัดมีหลายระบบ ดังนั้นเวลากล่าวถึงปริมาณคิดเป็นมิติ
  • 11. มิติ (dimension)  มิติ เป็นสมบัติทางฟิสิกส์ของปริมาณที่วัด ไม่คํานึงถึงระบบของ หน่วย ไม่ว่าระบบหน่วยใดปริมาณที่เหมือนกันจะมีมิติเดียวกันนิยม ใช้สัญลักษณ์  T แทน เวลา  L แทน ความยาว  M แทน มวล  มิติของความหนาแน่น  มิติของความดัน
  • 14. หน่วย (unit)  หน่วยเป็นสเกลที่ใช้วัดมิติ  มาตรฐานสากลในปัจจุบันคือ หน่วย เอสไอ (SI-International Systems of Units)  มีหน่วยมูลฐาน ความยาว (m) มวล (kg) เวลา (s) อุณหภูมิ (K) กระแสไฟฟ ้ า (A) ปริมาณของสาร (mol) ความเข้มของการส่อง สว่าง (cd)  หน่วยอนุพัทธ์ หน่วยอื่นที่เกิดจากการผสมของหน่วยมูลฐาน เช่น ความเร็ว (m/s)
  • 15. หน่วยของปริมาณพื้นฐานในระบบ SI ปริมาณ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ มวล กิโลกรัม (kilogram) kg ความยาว เมตร (meter) m เวลา วินาที (second) s SI = International System of Units abbreviated SI from French: Système international d'unités
  • 16. หน่วยของปริมาณพื้นฐานในระบบ SI มวล 1 กิโลกรัม อ้างอิงจากมวลของวัตถุ ทรงกระบอก platinum-irridium ขนาดเส้นผ่าน ศูนย์กลาง และความสูง 3.9 centimeters หรือ จากอีกนิยามคือ 1/12 ของมวลของ carbon- 12 อะตอม = 1.66053886×10-27 kg ความยาว 1 เมตร คือระยะทางที่แสงเดินทาง ได้ใน 1/299,792,458 วินาทีในสุญญากาศ http://tycho.usno.navy.mil/simpletime.html เวลา 1 วินาที คือเวลาที่คลื่นแม่เหล็กไฟฟ ้ าที่ เกิดจากการสั่นของอะตอมของ cesium-133 ครบ 9,192,631,770 รอบ http://science.howstuffworks.com/atomic- clock3.htm
  • 17. หน่วยของปริมาณอนุพัทธ์บางปริมาณ ปริมาณ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ หน่วยพื้นฐาน ความเร่ง แรง - นิวตัน (newton) N m/s2 kg·m/s2 งาน จูล (joule) J kg·m2/s2 (N·m) กําลัง วัตต์ (watt) W kg·m2/s3 (J/s)
  • 18. คําอุปสรรค ความหมาย สัญลักษณ์ giga- 109 G mega- 106 M kilo- 103 k deci- 10-1 d centi- 10-2 c milli- 10-3 m micro- 10-6 µ nano- 10-9 n
  • 19. การเปลี่ยนหน่วย (conversion of units) แฟกเตอร์การเปลี่ยนหน่วย (conversion factor)  ในการเปลี่ยนหน่วยจากหน่วยหนึ่งเป็นอีกหน่วยหนึ่ง จะมีตัวคูณคูณเพื่อ เปลี่ยนหน่วยแล้วค่าของปริมาณยังคงเท่าเดิม เรียกตัวคูณนี้ว่า แฟกเตอร์ การเปลี่ยนหน่วย 3 3 9 9 9 10 5 kg = 5 kg = 5000 g 10 10 8 nm = 8 nm 8 10 m 10 − − − = ×
  • 20. การเปลี่ยนหน่วย (conversion of units) 3 km/h m/s 10 m m 0.2778 60 60s s → = × 90 km/h 90 0.2778 m/s 25.002 m/s = × = หมายความว่า 1 km/h = 0.2778 m/s ในกรณีนี้แฟกเตอร์การเปลี่ยนหน่วยคือ m/s 1 0.2778 km/h =
  • 21. เลขนัยสําคัญ  เลขนัยสําคัญเป็นเลขที่ได้มาจากการวัด มีหน่วยเสมอ  เลขที่ไม่ได้มาจากการวัดไม่มีนัยสําคัญ  การระบุจํานวนนัยสําคัญ ศูนย์ข้างหน้าที่ไม่มีเลขอื่นก่อนหน้า ไม่นับ, ศูนย์ข้างหลังนับ, เลขสิบยกกําลังไม่นับ  12.50 เมตร มีนัยสําคัญ 4 ตัว  0.00563 วินาที มีนัยสําคัญ 3 ตัว  1.0050 กิโลกรัม มีนัยสําคัญ 5 ตัว  3.6×105 มีนัยสําคัญ 2 ตัว
  • 24. การบวกลบเลขนัยสําคัญ  การบวกลบให้ดูตามจํานวนทศนิยมหลักน้อยที่สุดเป็นหลัก  ตัวอย่าง 5.013 เมตร − 3.5 เมตร = ? 5.013 เมตร มีทศนิยม 3 ตําแหน่ง 3.5 เมตร มีทศนิยม 1 ตําแหน่ง 5.013 − 3.5 = 1.513 เมตร ต้องตอบทศนิยม 1 ตําแหน่ง ตามหลักน้อย คือ 1 ตําแหน่ง ตอบ 5.013 − 3.5 = 1.5 เมตร
  • 25. การปัดเศษ (rounding) ตัวอย่างกรณีที่ต้องการทศนิยมสองตําแหน่ง  ถ้าเลขมากกว่า 5 ให้ปัดขึ้น 2.469 m  2.47 m  ถ้าเลขน้อยกว่า 5 ให้ปัดลง 2.463 m  2.46 m  ถ้าเลขเท่ากับ 5 พอดี ดูก่อนว่าหน้าเลข 5 เป็นเลขคู่หรือเลขคี่*  หน้าเลข 5 เป็นเลขคู่ ปัดลง 2.465 m  2.46 m  หน้าเลข 5 เป็นเลขคี่ ปัดขึ้น 2.475 m  2.48 m *วิธีนี้เรียกว่าวิธีการปัดเศษเลขคู่ หรือชื่ออื่นๆเช่น unbiased rounding, convergent rounding
  • 26. การคูณหารเลขนัยสําคัญ  การคูณและหาร เลขนัยสําคัญ ให้ยึดตามเลขนัยสําคัญหลักที่น้อย ที่สุด  ตัวอย่าง 3.50 กิโลกรัม × 2.2 เมตร/วินาที 3.56 กิโลกรัม มีนัยสําคัญ 3 ตัว 2.2 เมตร/วินาที มีนัยสําคัญ 2 ตัว 3.56 กิโลกรัม × 2.2 เมตร/วินาที = 7.832 กิโลกรัม เมตรต่อวินาที ตอบ นัยสําคัญ 2 ตัว คือ 7.8 กิโลกรัม เมตรต่อวินาที
  • 27.  การคูณและหาร เลขนัยสําคัญ ให้ยึดตามเลขนัยสําคัญหลักที่ น้อยที่สุด  ตัวอย่าง 2.538 เมตร/1.2 วินาที 2.538 เมตร มีนัยสําคัญ 4 ตัว 1.2 วินาที มีนัยสําคัญ 2 ตัว 2.538 เมตร/1.2 วินาที = 2.115 เมตร/วินาที ตอบ นัยสําคัญ 2 ตัว คือ 2.1 เมตรต่อวินาที การคูณหารเลขนัยสําคัญ
  • 28. 1.4 สัญกรณ์กําลังของสิบและอุปสรรคในหน่วยเอสไอ สัญกรณ์กําลังของสิบเขียนในรูป 10n คําอุปสรรคที่ใช้แทนสัญกรณ์กําลังของสิบในระบบเอสไอเช่น เทระ(T) ใช้แทน 1012 จิกะ (G) ใช้แทน 109 เมกะ(M) ใช้แทน 106 กิโล(K) ใช้แทน 103 เซนติ (c) ใช้แทน 10-2 มิลลิ (m) ใช้แทน 10-3 ไมโคร (µ) ใช้แทน 10-6 นาโน (n) ใช้แทน 10-9 พิโค (p) ใช้แทน 10-12
  • 30. 1.5 แนวคิดในการแก้ปัญหาในโจทย์ฟิสิกส์ หลักการพื้นฐานในการแก้ปัญหาโจทย์ในขั้นต้น  การเขียนแผนภาพ  การพิจารณาหลักที่ต้องใช้  การแก้สมการ (ถ้าการหาผลเฉลยยังไม่ถึงขั้นสุดท้าย อย่า เพิ่งแทนค่าจํานวนเลขของตัวแปรใดๆ)  ตรวจคําตอบ