SlideShare a Scribd company logo
ทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกล
จุฑารัตน์ นกแก้ว*
สารสนเทศเป็นข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความคิด ประสบการณ์ ที่ได้รับ การประมวล (คัดสรร
กลั่นกรอง วิเคราะห์ แปลความ ) เป็นความรู้ในเรื่องต่างๆ เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ มีเนื้อหาหลากหลายและ
ได้รับการบันทึกไว้ในวัสดุต่างๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ในวงการศึกษาใช้คาว่า
วัสดุการศึกษา สื่อการศึกษา สื่อการสอน สื่อการเรียนการสอน ในวงการวิชาชีพสารสนเทศศาสตร์ ใช้คาว่า
ทรัพยากรสารสนเทศ (information resources) แทนคารวมของสารสนเทศประเภทต่างๆที่จัดเก็บและ
ให้บริการในห้องสมุด เมื่อทรัพยากรประเภทใดประเภทหนึ่งได้รับการจัดเก็บรวมกันในแหล่งใดแหล่งหนึ่ง
เรียกว่า คอลเล็กชั่น หรือ มวลทรัพยากรสารสนเทศ (collection) เช่น คอลเล็กชั่นสารสนเทศการศึกษา
ทางไกล หรือ มวลทรัพยากรสารสนเทศด้านการศึกษาทางไกล
ทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่นาเสนอข้อมูล สารสนเทศเฉพาะ
ด้านการศึกษาทางไกล จากการศึกษานิยามการศึกษาทางไกล ทรัพยากรสารสนเทศและการสารวจทรัพยากร
สารสนเทศการศึกษาทางไกลที่จัดเก็บในสานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นาไปสู่การ
กาหนดนิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลที่จัดเก็บและให้บริการในสานักบรรณสารสนเทศได้ ดังนี้
1) นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามความหมายของการศึกษาทางไกล ตามระดับ
ของคา (hierarchy organization) โดยคาว่า distance learning เป็นคาที่มีมาก่อน ได้รับการนาไปใช้ใน
ความหมายกว้างที่สุด (broadest term) eLearning and Online learning เป็นคาที่อยู่ภายใต้คานี้
การให้นิยามดังกล่าว อาจยึดตามศัพท์สัมพันธ์ด้านการศึกษาทางไกล (Thesaurus in Distance Education)
2) นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามเนื้อหาการศึกษาทางไกล ครอบคลุมแนวคิด
ทฤษฎี ปรัชญาประโยชน์ ความสาคัญ รูปแบบของการศึกษาทางไกล หรือวิธีการศึกษาทางไกล มหาวิทยาลัย
ในอนาคต การใช้สื่อในการจัดการศึกษาทางไกล การจัดการศึกษาทางไกลในสาขาวิชาต่างๆ การจัดการ
ศึกษาทางไกลสาหรับกลุ่มผู้เรียนต่างๆ กลุ่มผู้ใหญ่ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ เป็นต้น สภาพการศึกษาทางไกลใน
ประเทศต่างๆ ปัญหาการจัดการศึกษาทางไกล การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาทางไกล และบริการสนับสนุน
การศึกษาทางไกล เช่น บริการแนะแนว บริการห้องสมุดและสารสนเทศ การวิจัยประเมินผลการศึกษา เป็นต้น
หรือ อาจจาแนกทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามเนื้อหาออกเป็นความรู้เกี่ยวกับการศึกษาทางไกล
8 ด้าน ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาทางไกล ด้านปรัชญาการศึกษาทางไกล ด้านหลักการของการศึกษา
ทางไกล ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเรียนการสอน ด้านสื่อการศึกษา ด้านการวัดและประเมินผล
การศึกษา และด้านบริการสนับสนุนการศึกษา
2
นอกจากนี้ นิยามตามเนื้อหาอาจจาแนกตามการจัดหมวดหมู่เนื้อหาการศึกษาทางไกลของศูนย์การ
เรียนทางไกลสากล หรือ ICDL เป็นชื่อย่อของ The International Centre for Distance Learning ศูนย์
ระดับสากล หรือศูนย์ระดับนานาชาติเพื่อการวิจัย การเรียนการสอนทางไกล เป็นหน่วยงานที่สนับสนุน
งานวิจัยระดับสากลและการทางานร่วมกันในการจัดเตรียมสารสนเทศด้านการศึกษาทางไกล ดาเนินการโดย
สถาบันเทคโนโลยีการศึกษา (Institute of Educational Technology-IET) และห้องสมุดมหาวิทยาลัยเปิด
แห่งสหราชอาณาจักร (The UK Open University) การจัดหมวดหมู่สาขาวิชา โดยนาวรรรณกรรมแต่ละ
ประเภทจาแนกตามเนื้อหาเพื่อความสะดวกในการค้นหา จาแนกเนื้อหา หลักเป็น 8 สาขา การแบ่งเป็นหัวข้อ
กว้างๆ เริ่มจากหัวข้อกว้างๆ ข้อมูลเชิงหลักการ ทฤษฎี นโยบาย สังคมวิทยา ดังปรากฏในหมวด 00 จากนั้น
เป็นการแบ่งเนื้อหาการประยุกต์การศึกษาทางไกล ประเภทการศึกษา เนื้อหา ดังปรากฏในหมวด 01และ 02
ขณะที่ หมวด 03 และ 04 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับนักศึกษา หมวด 05 และ หมวด 06 เกี่ยวกับหลักสูตรและ
วิธีการสอน และปิดท้ายด้วยหมวด 07 เกี่ยวกับสถาบัน การบริหารจัดการและบุคลากร
3) นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามองค์ประกอบการศึกษาทางไกล เป็นการ
ให้นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามองค์ประกอบของการศึกษาทางไกล 8 ประเด็น ได้แก่ 1)
ปรัชญาและปณิธานในการจัดการศึกษาทางไกล 2) กลุ่มเป้าหมายของการศึกษาทางไกล 3) ระบบการจัด
การศึกษาทางไกล ครอบคลุม การศึกษาทางไกลแบบเดี่ยว การศึกษาทางไกลแบบขนาน และการศึกษา
ทางไกลแบบผสมผสาน (แบบตลาดวิชาแบบเครือข่าย) 4) หลักสูตรของการศึกษาทางไกล 5) ระบบสื่อ
ของการศึกษาทางไกล 6) การจัดการเรียนการสอนหรือระบบการถ่ายทอดในการศึกษาทางไกล 7) การ
บริการสนับสนุนการศึกษาทางไกล ครอบคลุม บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถาบัน บริการแนะแนวให้
คาปรึกษา บริการฝึกอบรม ทักษะการเรียน บริการสอนเสริม บริการตอบคาถาม ปัญหาและ 8) การวัดและ
ประเมินผลการศึกษาทางไกล
4) นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามโครงสร้างสื่อการศึกษาทางไกล
ประกอบด้วย
4.1) การจาแนกตามประเภทของสื่อที่จัดเก็บออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) สิ่งพิมพ์ 2) สื่อโสตทัศน์
3) สื่อแพร่ภาพและเสียง และ 4) สื่ออิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม หรือจาแนกตามประเภทของสื่อการสอน
ออกเป็น 7 ประเภท คือ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์ สื่อภาพยนตร์ สื่อเทป สื่อสไลด์และภาพนิ่ง เพลง
ดนตรี ละคร และการสอนแบบเผชิญหน้า
4.2) การจาแนกตามวิธีการจัดการศึกษาที่ใช้สื่อเป็นตัวกลาง เป็น 2 ลักษณะ คือ การใช้สื่อเดี่ยว
และการใช้สื่อประสม การใช้สื่อเดี่ยวเป็นการใช้สื่อเพียงชนิดเดียวในการส่งผ่านหรือถ่ายทอดความรู้ เช่น การ
เรียนการสอนทางไปรษณีย์ ใช้สื่อสิ่งพิมพ์เท่านั้น การสอนภาษาโดยใช้สื่อวิทยุกระจายเสียงในการถ่ายทอด
ความรู้ การใช้สื่อประสม เป็นการนาสื่อหลายๆ ประเภท มาประกอบกันในการถ่ายทอดความรู้ เช่น สื่อ
สิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่อคอมพิวเตอร์ สื่ออินเทอร์เน็ตการสอนเสริม สื่อบุคคล เป็นต้น
โดยอาจเลือกสื่อใดสื่อหนึ่งเป็นสื่อหลักและใช้สื่ออื่นๆ เป็นสื่อเสริม
3
4.3) การจาแนกตามการใช้สื่อ เป็นการใช้สื่อหลัก และสื่อเสริม สื่อหลัก คือ สื่อที่บรรจุเนื้อหา
รายละเอียดตามประมวลการสอนแต่ละวิชาในหลักสูตร โดยอาจอยู่ในรูปแบบสิ่งพิมพ์ รายการวิทยุการสอน
โทรทัศน์การสอน โปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ สื่อเสริม เป็นสื่อที่ช่วยเก็บตก ต่อเติมความรู้ให้แก่ผู้เรียนให้มี
ความรู้กระจ่างสมบูรณ์ สื่อประเภทนี้อยู่ในรูปแบบสรุปบทเรียน วิทยุ เอกสารการสอนเสริม การพบกลุ่ม หรือ
เว็บไซต์ต่างๆ เป็นต้น
สาหรับสื่อการศึกษา หรือ สื่อการเรียนการสอนที่มหาวิทยาลัยใช้นั้น ประกอบด้วยสื่อหลักและ
สื่อเสริม สื่อหลัก เป็นสิ่งพิมพ์ ได้แก่ เอกสารการสอนชุดวิชาประมวลสาระ และวัสดุการศึกษา ได้แก่ เอกสาร
ประชาสัมพันธ์ข่า มสธ. แจ้งข่าวสารที่สาคัญของมหาวิทยาลัย เช่น ตารางการออกอากาศรายการ
วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ของชุดวิชา กาหนดการสอนเสริม กาหนดการสอบ ระเบียบและประกาส
ต่างๆ เป็นต้น และสื่อเสริมที่จาแนกตามสานักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ออกเป็น
ซีดีเสียง (mp3) ดีวีดี ซีดีมัลติมีเดีย eLearning รายการโทรทัศน์ มสธ. รายการวิทยุ มสธ. การสอนเสริม
(แบบเผชิญหน้า ผ่านอินเทอร์เน็ต ผ่านดาวเทียม)
4. นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามตามพันธกิจ เป็นการให้นิยามตามพันธกิจ
วัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษาทางไกลหรือมหาวิทยาลัย จาแนกเป็นทรัพยากรที่เกี่ยวกับ
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและหน่วยงานในสังกัดและทรัพยากรที่ผลิตโดยหน่วยงานในสังกัด เป็น
ทรัพยากรที่หน่วยงานผลิตขึ้นมาตามพันธกิจ ภาระหน้าที่ เช่น รายงานประจาปี รายงานการวิจัย หนังสือ
ครบรอบ เป็นต้น
การกาหนดนิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลดังกล่าว ถือเป็นการสร้างประเด็นองค์ความรู้
ที่ช่วยทาให้ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องมีกรอบในการปฏิบัติงานการจัดเก็บ จัดหมวดหมู่ ทารายการและการ
ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกล ผู้ปฏิบัติงานสามารถนาองค์ความรู้ดังกล่าวไปเป็นข้อมูล
ประกอบการตัดสินใจอันนาไปสู่ความสาเร็จในการให้บริการสารสนเทศการศึกษาทางไกลในที่สุด โดยเฉพาะ
การระบุสถานที่จัดเก็บ ยกตัวอย่างเช่น งานวิจัยชื่อ การติดตามผลมหาบัณฑิตหลักสูตรศิลปศาสตร์
มหาบัณฑิต สารสนเทศศาสตร มสธ. ถือเป็นทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกล เพราะเป็นการศึกษากับ
ตัวผู้เรียนในระบบทางไกล หรือ การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสู่สากลในระดับดุษฎีบัณฑิตแขนงวิชา
สารสนเทศศาสตร์ สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มสธ. เป็นทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลเพราะเป็น
การศึกษาตัวหลักสูตรของสถาบันการศึกษาทางไกล เป็นต้น
––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––
* บรรณารักษชานาญการ ฝายบริการสนเทศ สานักบรรณสารสนเทศ
เอกสารอ้างอิง
สุภศรี กาหยี. (2554). การประเมินทรัพยากรสารสนเทศ ใน การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ. หน่วยที่
11 หน้า 11-15-11-23 นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุมาลี สังข์ศรี. (2549). การศึกษาทางไกล. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้nan1799
 
แก้ น้ำเพชร 51040928
แก้  น้ำเพชร 51040928แก้  น้ำเพชร 51040928
แก้ น้ำเพชร 51040928Nampech Plangsantia
 
Assignment 4-การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4-การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้Assignment 4-การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4-การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Jintana Deenang
 
Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Cholthicha JaNg
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
Srion Janeprapapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
Srion Janeprapapong
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt poonick
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Aob Ammipercar
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Aob Ammipercar
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Aob Ammipercar
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดChuleekorn Rakchart
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
Saipanyarangsit School
 
5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอนamppere
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
Info Study BUU
Info Study BUUInfo Study BUU
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
Audchariya Iewtrakun
 
บทที่๗
บทที่๗บทที่๗
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7tum521120935
 

What's hot (20)

บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
บทที่ 7 สื่อเเละเเหล่งการเรียนรู้
 
แก้ น้ำเพชร 51040928
แก้  น้ำเพชร 51040928แก้  น้ำเพชร 51040928
แก้ น้ำเพชร 51040928
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
Assignment 4-การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4-การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้Assignment 4-การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
Assignment 4-การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
Technologies and education media 1
Technologies and education media 1Technologies and education media 1
Technologies and education media 1
 
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
สื่อการสอน.Ppt
 สื่อการสอน.Ppt  สื่อการสอน.Ppt
สื่อการสอน.Ppt
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุดทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
ทรัพยากรสารสนเทศในห้องสมุด
 
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน5 สื่อการสอน
5 สื่อการสอน
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่๗
บทที่๗บทที่๗
บทที่๗
 
Info Study BUU
Info Study BUUInfo Study BUU
Info Study BUU
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
บทที่๗
บทที่๗บทที่๗
บทที่๗
 
งานบทที่ 7
งานบทที่ 7งานบทที่ 7
งานบทที่ 7
 

Similar to ทรัพยากรการศึกษาทางไกล

งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์tuphung
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗jaacllassic
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
Wichit Chawaha
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
Wichit Chawaha
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddjaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd ajaacllassic
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้aumkpru45
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
Rathapon Silachan
 

Similar to ทรัพยากรการศึกษาทางไกล (20)

บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์งานดอกเตอร์
งานดอกเตอร์
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Dddสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd aสื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ บทที่๗Ddd a
 
Ojo
OjoOjo
Ojo
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
บทที่ 7lll
บทที่ 7lllบทที่ 7lll
บทที่ 7lll
 
บบ
บบบบ
บบ
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 

ทรัพยากรการศึกษาทางไกล

  • 1. ทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกล จุฑารัตน์ นกแก้ว* สารสนเทศเป็นข้อมูล ข่าวสาร ข้อเท็จจริง ความคิด ประสบการณ์ ที่ได้รับ การประมวล (คัดสรร กลั่นกรอง วิเคราะห์ แปลความ ) เป็นความรู้ในเรื่องต่างๆ เพื่อการนาไปใช้ประโยชน์ มีเนื้อหาหลากหลายและ ได้รับการบันทึกไว้ในวัสดุต่างๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น ในวงการศึกษาใช้คาว่า วัสดุการศึกษา สื่อการศึกษา สื่อการสอน สื่อการเรียนการสอน ในวงการวิชาชีพสารสนเทศศาสตร์ ใช้คาว่า ทรัพยากรสารสนเทศ (information resources) แทนคารวมของสารสนเทศประเภทต่างๆที่จัดเก็บและ ให้บริการในห้องสมุด เมื่อทรัพยากรประเภทใดประเภทหนึ่งได้รับการจัดเก็บรวมกันในแหล่งใดแหล่งหนึ่ง เรียกว่า คอลเล็กชั่น หรือ มวลทรัพยากรสารสนเทศ (collection) เช่น คอลเล็กชั่นสารสนเทศการศึกษา ทางไกล หรือ มวลทรัพยากรสารสนเทศด้านการศึกษาทางไกล ทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลเป็นทรัพยากรสารสนเทศที่นาเสนอข้อมูล สารสนเทศเฉพาะ ด้านการศึกษาทางไกล จากการศึกษานิยามการศึกษาทางไกล ทรัพยากรสารสนเทศและการสารวจทรัพยากร สารสนเทศการศึกษาทางไกลที่จัดเก็บในสานักบรรณสารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นาไปสู่การ กาหนดนิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลที่จัดเก็บและให้บริการในสานักบรรณสารสนเทศได้ ดังนี้ 1) นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามความหมายของการศึกษาทางไกล ตามระดับ ของคา (hierarchy organization) โดยคาว่า distance learning เป็นคาที่มีมาก่อน ได้รับการนาไปใช้ใน ความหมายกว้างที่สุด (broadest term) eLearning and Online learning เป็นคาที่อยู่ภายใต้คานี้ การให้นิยามดังกล่าว อาจยึดตามศัพท์สัมพันธ์ด้านการศึกษาทางไกล (Thesaurus in Distance Education) 2) นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามเนื้อหาการศึกษาทางไกล ครอบคลุมแนวคิด ทฤษฎี ปรัชญาประโยชน์ ความสาคัญ รูปแบบของการศึกษาทางไกล หรือวิธีการศึกษาทางไกล มหาวิทยาลัย ในอนาคต การใช้สื่อในการจัดการศึกษาทางไกล การจัดการศึกษาทางไกลในสาขาวิชาต่างๆ การจัดการ ศึกษาทางไกลสาหรับกลุ่มผู้เรียนต่างๆ กลุ่มผู้ใหญ่ ผู้ด้อยโอกาส ผู้พิการ เป็นต้น สภาพการศึกษาทางไกลใน ประเทศต่างๆ ปัญหาการจัดการศึกษาทางไกล การพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาทางไกล และบริการสนับสนุน การศึกษาทางไกล เช่น บริการแนะแนว บริการห้องสมุดและสารสนเทศ การวิจัยประเมินผลการศึกษา เป็นต้น หรือ อาจจาแนกทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามเนื้อหาออกเป็นความรู้เกี่ยวกับการศึกษาทางไกล 8 ด้าน ได้แก่ แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาทางไกล ด้านปรัชญาการศึกษาทางไกล ด้านหลักการของการศึกษา ทางไกล ด้านการบริหารจัดการ ด้านการเรียนการสอน ด้านสื่อการศึกษา ด้านการวัดและประเมินผล การศึกษา และด้านบริการสนับสนุนการศึกษา
  • 2. 2 นอกจากนี้ นิยามตามเนื้อหาอาจจาแนกตามการจัดหมวดหมู่เนื้อหาการศึกษาทางไกลของศูนย์การ เรียนทางไกลสากล หรือ ICDL เป็นชื่อย่อของ The International Centre for Distance Learning ศูนย์ ระดับสากล หรือศูนย์ระดับนานาชาติเพื่อการวิจัย การเรียนการสอนทางไกล เป็นหน่วยงานที่สนับสนุน งานวิจัยระดับสากลและการทางานร่วมกันในการจัดเตรียมสารสนเทศด้านการศึกษาทางไกล ดาเนินการโดย สถาบันเทคโนโลยีการศึกษา (Institute of Educational Technology-IET) และห้องสมุดมหาวิทยาลัยเปิด แห่งสหราชอาณาจักร (The UK Open University) การจัดหมวดหมู่สาขาวิชา โดยนาวรรรณกรรมแต่ละ ประเภทจาแนกตามเนื้อหาเพื่อความสะดวกในการค้นหา จาแนกเนื้อหา หลักเป็น 8 สาขา การแบ่งเป็นหัวข้อ กว้างๆ เริ่มจากหัวข้อกว้างๆ ข้อมูลเชิงหลักการ ทฤษฎี นโยบาย สังคมวิทยา ดังปรากฏในหมวด 00 จากนั้น เป็นการแบ่งเนื้อหาการประยุกต์การศึกษาทางไกล ประเภทการศึกษา เนื้อหา ดังปรากฏในหมวด 01และ 02 ขณะที่ หมวด 03 และ 04 เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับนักศึกษา หมวด 05 และ หมวด 06 เกี่ยวกับหลักสูตรและ วิธีการสอน และปิดท้ายด้วยหมวด 07 เกี่ยวกับสถาบัน การบริหารจัดการและบุคลากร 3) นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามองค์ประกอบการศึกษาทางไกล เป็นการ ให้นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามองค์ประกอบของการศึกษาทางไกล 8 ประเด็น ได้แก่ 1) ปรัชญาและปณิธานในการจัดการศึกษาทางไกล 2) กลุ่มเป้าหมายของการศึกษาทางไกล 3) ระบบการจัด การศึกษาทางไกล ครอบคลุม การศึกษาทางไกลแบบเดี่ยว การศึกษาทางไกลแบบขนาน และการศึกษา ทางไกลแบบผสมผสาน (แบบตลาดวิชาแบบเครือข่าย) 4) หลักสูตรของการศึกษาทางไกล 5) ระบบสื่อ ของการศึกษาทางไกล 6) การจัดการเรียนการสอนหรือระบบการถ่ายทอดในการศึกษาทางไกล 7) การ บริการสนับสนุนการศึกษาทางไกล ครอบคลุม บริการข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถาบัน บริการแนะแนวให้ คาปรึกษา บริการฝึกอบรม ทักษะการเรียน บริการสอนเสริม บริการตอบคาถาม ปัญหาและ 8) การวัดและ ประเมินผลการศึกษาทางไกล 4) นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามโครงสร้างสื่อการศึกษาทางไกล ประกอบด้วย 4.1) การจาแนกตามประเภทของสื่อที่จัดเก็บออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) สิ่งพิมพ์ 2) สื่อโสตทัศน์ 3) สื่อแพร่ภาพและเสียง และ 4) สื่ออิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม หรือจาแนกตามประเภทของสื่อการสอน ออกเป็น 7 ประเภท คือ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุ สื่อโทรทัศน์ สื่อภาพยนตร์ สื่อเทป สื่อสไลด์และภาพนิ่ง เพลง ดนตรี ละคร และการสอนแบบเผชิญหน้า 4.2) การจาแนกตามวิธีการจัดการศึกษาที่ใช้สื่อเป็นตัวกลาง เป็น 2 ลักษณะ คือ การใช้สื่อเดี่ยว และการใช้สื่อประสม การใช้สื่อเดี่ยวเป็นการใช้สื่อเพียงชนิดเดียวในการส่งผ่านหรือถ่ายทอดความรู้ เช่น การ เรียนการสอนทางไปรษณีย์ ใช้สื่อสิ่งพิมพ์เท่านั้น การสอนภาษาโดยใช้สื่อวิทยุกระจายเสียงในการถ่ายทอด ความรู้ การใช้สื่อประสม เป็นการนาสื่อหลายๆ ประเภท มาประกอบกันในการถ่ายทอดความรู้ เช่น สื่อ สิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ สื่อคอมพิวเตอร์ สื่ออินเทอร์เน็ตการสอนเสริม สื่อบุคคล เป็นต้น โดยอาจเลือกสื่อใดสื่อหนึ่งเป็นสื่อหลักและใช้สื่ออื่นๆ เป็นสื่อเสริม
  • 3. 3 4.3) การจาแนกตามการใช้สื่อ เป็นการใช้สื่อหลัก และสื่อเสริม สื่อหลัก คือ สื่อที่บรรจุเนื้อหา รายละเอียดตามประมวลการสอนแต่ละวิชาในหลักสูตร โดยอาจอยู่ในรูปแบบสิ่งพิมพ์ รายการวิทยุการสอน โทรทัศน์การสอน โปรแกรมบทเรียนคอมพิวเตอร์ สื่อเสริม เป็นสื่อที่ช่วยเก็บตก ต่อเติมความรู้ให้แก่ผู้เรียนให้มี ความรู้กระจ่างสมบูรณ์ สื่อประเภทนี้อยู่ในรูปแบบสรุปบทเรียน วิทยุ เอกสารการสอนเสริม การพบกลุ่ม หรือ เว็บไซต์ต่างๆ เป็นต้น สาหรับสื่อการศึกษา หรือ สื่อการเรียนการสอนที่มหาวิทยาลัยใช้นั้น ประกอบด้วยสื่อหลักและ สื่อเสริม สื่อหลัก เป็นสิ่งพิมพ์ ได้แก่ เอกสารการสอนชุดวิชาประมวลสาระ และวัสดุการศึกษา ได้แก่ เอกสาร ประชาสัมพันธ์ข่า มสธ. แจ้งข่าวสารที่สาคัญของมหาวิทยาลัย เช่น ตารางการออกอากาศรายการ วิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ของชุดวิชา กาหนดการสอนเสริม กาหนดการสอบ ระเบียบและประกาส ต่างๆ เป็นต้น และสื่อเสริมที่จาแนกตามสานักเทคโนโลยีการศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ออกเป็น ซีดีเสียง (mp3) ดีวีดี ซีดีมัลติมีเดีย eLearning รายการโทรทัศน์ มสธ. รายการวิทยุ มสธ. การสอนเสริม (แบบเผชิญหน้า ผ่านอินเทอร์เน็ต ผ่านดาวเทียม) 4. นิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลตามตามพันธกิจ เป็นการให้นิยามตามพันธกิจ วัตถุประสงค์ของสถาบันการศึกษาทางไกลหรือมหาวิทยาลัย จาแนกเป็นทรัพยากรที่เกี่ยวกับ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชและหน่วยงานในสังกัดและทรัพยากรที่ผลิตโดยหน่วยงานในสังกัด เป็น ทรัพยากรที่หน่วยงานผลิตขึ้นมาตามพันธกิจ ภาระหน้าที่ เช่น รายงานประจาปี รายงานการวิจัย หนังสือ ครบรอบ เป็นต้น การกาหนดนิยามทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลดังกล่าว ถือเป็นการสร้างประเด็นองค์ความรู้ ที่ช่วยทาให้ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องมีกรอบในการปฏิบัติงานการจัดเก็บ จัดหมวดหมู่ ทารายการและการ ให้บริการทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกล ผู้ปฏิบัติงานสามารถนาองค์ความรู้ดังกล่าวไปเป็นข้อมูล ประกอบการตัดสินใจอันนาไปสู่ความสาเร็จในการให้บริการสารสนเทศการศึกษาทางไกลในที่สุด โดยเฉพาะ การระบุสถานที่จัดเก็บ ยกตัวอย่างเช่น งานวิจัยชื่อ การติดตามผลมหาบัณฑิตหลักสูตรศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สารสนเทศศาสตร มสธ. ถือเป็นทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกล เพราะเป็นการศึกษากับ ตัวผู้เรียนในระบบทางไกล หรือ การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสู่สากลในระดับดุษฎีบัณฑิตแขนงวิชา สารสนเทศศาสตร์ สาขาวิชาศิลปศาสตร์ มสธ. เป็นทรัพยากรสารสนเทศการศึกษาทางไกลเพราะเป็น การศึกษาตัวหลักสูตรของสถาบันการศึกษาทางไกล เป็นต้น –––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––––– * บรรณารักษชานาญการ ฝายบริการสนเทศ สานักบรรณสารสนเทศ เอกสารอ้างอิง สุภศรี กาหยี. (2554). การประเมินทรัพยากรสารสนเทศ ใน การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ. หน่วยที่ 11 หน้า 11-15-11-23 นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สุมาลี สังข์ศรี. (2549). การศึกษาทางไกล. นนทบุรี: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.