SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
โครงงานเรื่อง พันธุโคในประเทศไทย

                 จัดทําโดย

  นายกิตติศักดิ์ เขื่อนโยธา เลขที่ 10 ม.5/1



           โรงเรียนฝางวิทยายน
โคพื้นเมือง
   โคพื้นเมืองของไทยมีลักษณะใกลเคียงกับโคพื้นเมืองของประเทศเพื่อน
    บานในแถบเอเชีย ลักษณะรูปรางกะทัดรัด ลําตัวเล็ก ขาเรียวเล็ก ยาว
    เพศผูมีหนอกขนาดเล็ก มีเหนียงคอ แตไมหยอนยานมาก
    หูเล็ก หนังใตทองเรียบ
    มีสีไมแนนอน เชน สีแดงออน เหลืองออน ดํา ขาวนวล น้ําตาลออน และ
    อาจมีสีประรวมอยูดวย
    เพศผูโตเต็มที่หนักประมาณ 300-350 ก.ก. เพศเมีย 200-250 ก.ก.
โคพันธุบราหมัน
                                     มั
   มีตนกําเนิดในประเทศอินเดีย แตถูกปรับปรุงพันธุที่ประเทศ
    สหรัฐอเมริกา โคพันธุนี้ที่เลี้ยงในบานเราสวนใหญนําเขามาจาก
    สหรัฐอเมริกา และ ออสเตรเลีย แลวนํามาคัดเลือกปรับปรุงพันธุโดยกรม
    ปศุสัตวและฟารมของเกษตรกรรายใหญในประเทศ
    เปนโคที่มีขนาดคอนขางใหญ ลําตัวกวาง ยาว และลึก ไดสัดสวน หลัง
    ตรง หนอกใหญ หูใหญยาว จมูก ริมฝปาก ขนตา กีบเทาและหนังเปนสี
    ดํา เหนียงทีคอและหนังใตทองหยอนยาน โคนหางใหญ พูหางสีดํา สีจะ
    มีสีเขา เทา และแดง ที่นิยมเลี้ยงกันมากคือสีขาว เพศผูโตเต็มที่หนัก
    ประมาณ 800-1,200 ก.ก. เพศเมียประมาณ 500-700 ก.ก.
โคพันธุชารโรเลส
                                  ชารโร
   มีถิ่นกําเนิดในประเทศฝรั่งเศส มีสีขาวครีมตลอดตัว รูปรางมีลักษณะ
    เปนสี่เหลี่ยมผืนผา ขาสั้น ลําตัวกวาง ยาว และลึก มีกลามเนื้อตลอดทั้ง
    ตัว นิสัยเชื่อง เปนโคที่มีขนาดใหญมาก เพศผูเมื่อโตเต็มที่หนักประมาณ
    1,100 ก.ก. เพศเมีย 700-800 ก.ก.
โคพันธุซิมเมนทัล
                                ซิ
   มีถิ่นกําเนิดในประเทศสวิสเซอรแลนด นิยมเลี้ยงกันในประเทศยุโรป ใน
    เยอรมันเรียกวาพันธุเฟลคฟ (Fleckvieh) ไดรับการปรับปรุงพันธุเปนโค
                          เฟลคฟ
    กึ่งเนื้อกึ่งนม ในประเทศสหรัฐอเมริกานําไปคัดเลือกปรับปรุงพันธุให
    เปนโคเนื้อ ลําตัวมีสีน้ําตาลหรือแดงเขมไปจนถึงสีฟางหรือเหลืองทอง
    และมีสีขาวกระจายแทรกทั่วไป หนาขาว ทองขาว และขาขาว เปนโค
    ขนาดใหญ โครงรางเปนสี่เหลี่ยม ลําตัวยาว ลึก บั้นทายใหญ ชวงขาสั้น
    และแข็งแรง เพศผูโตเต็มที่หนักประมาณ 1,100-1,300 ก.ก. เพศเมีย 650-
    800 ก.ก.
โคพันธุตาก
   เปนโคลูกผสมระหวางพันธุชารโรเลสกับพันธุบราหมัน โดยกรมปศุสัตวได
                                     ชารโร  กั             มั
    มอบหมายใหศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวตาก ทําการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุให
    เปนโคเนื้อพันธุใหมที่โตเร็ว เนื้อนุม เพื่อทดแทนการนําเขาพันธุโคและะเนื้อโค
    คุณภาพดีจากตางประเทศ การสรางพันธุในฝูงปรับปรุงพันธูดําเนินการโดยนํา
                                                                     ดํ
    น้ําเชื้อโคพันธุชารโรเลสคุณภาพสูงจากประเทศฝรั่งเศส ผสมกับแมโคบราหมัน
                     ชารโร  คุ                                              โคบราหมั
    พันธุแท ไดโคลูกผสมชั่วที่ 1 (เรียกวาโคพันธุตาก 1) ที่มีเลือด 50% ชารโรเลส และ
                                                                                 โร
    50% บราหมัน แลวผสมแมโคเพศเมียชั่วที่ 1 ดังกลาวดวยน้ําเชื้อหรือพอบราหมัน
                 มั                                                                    มั
    พันธุแทไดลูกโคชั่วที่ 2 (เรียกโคพันธุตาก 2) ซึ่งมีเลือด 25% ชารโรเลส และ 75%
                                                                           โร
    บราหมัน จากนั้นผสมแมโคเพศเมียชั่วที่ 2 ดวยน้ําเชื้อโคพันธุชารโรเลสคุณภาพสูง
             มั                                                         ชารโร  คุ
    ไดลูกโคชั่วที่ 3 (เรียกวาโคพันธุตาก) ซึ่งมีเลือด 62.5% ชารโรเลส และ 37.5%
                                                                   โร
    บราหมัน แลวนําโคชั่วที่ 3 ผสมกัน คัดเลือกปรับปรุงพันธุใหเปนโคเนื้อพันธุใหม
             มั
    เรียกวา โคพันธุตาก
โคพันธุกําแพงแสน
   เปนโคพันธุใหมปรับปรุงพันธุโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต
    กําแพงแสน โดยใชพันธุชารโรเลสกับบราหมัน คลายกับโคพันธุตาก แต
                           ชารโร             มั
    โคพันธุกําแพงแสนเริ่มตนปรับปรุงพันธุจากโคพื้นเมือง โคพันธุ
    กําแพงแสนมีสายเลือด 25% พื้นเมือง 25% บราหมัน และ 50% ชารโร
                                                   มั              โร
    เลส สวนลักษณะและคุณสมบัติตางๆ คลายกับโคพันธุตาก
โคพันธุกบินทรบุรี
   เปนโคลูกผสมระหวางพันธุซิมเมนทัลกับพันธุบราหมัน โดยกรมปศุ
                               ซิ                        มั
    สัตวไดมอบหมายใหศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวปราจีนบุรี (ซึ่งตั้งอยูที่
    อําเภอกบินทรบุรี) ทําการสรางโคพันธุใหมใหเปนโคกึ่งเนื้อกึ่งนม โดย
    ลูกโคเพศผูใชเปนโคขุน และแมโคใชรีดนมได การสรางพันธุในฝูง
    ปรับปรุงพันธุดําเนินการโดยนําน้ําเชื้อโคพันธุซิมเมนทัลคุณภาพสูงจาก
                                                   ซิ
    ประเทศเยอรมันผามกับแมโคบราหมันพันธุแท ไดลูกโคชั่วที่ 1 ที่มีเลือด
                              โคบราหมั
    50% ซิมเมนทัล และ 50% บราหมัน แลวผสมโคชั่วที่ 1 เขาดวยกัน
                                   มั
    คัดเลือกปรับปรุงใหเปนโคเนื้อพันธุใหมเรียกวา โคพันธุกบินทรบุรี
โคพันธุเดราทมาสเตอร
                                      มาสเตอร
   เปนโคพันธุใหมที่ไดรับการปรับปรุงพันธุในประเทศออสเตรเลีย กรม
    ปศุสัตวเคยนําเขามาศึกษาทดลองเลี้ยง ขณะนี้ยังคงมีเลี้ยงในฟารม
    เอกชนบางแหง เปนโคลูกผสมที่มีสายเลือดโคพันธุบราหมัน 3/8-1/2
                                                              มั
    พันธุชอรทฮอรน 1/2-5/8 และพันธุเฮียรฟอรดอยูเล็กนอย มีสีแดง มีทั้งมี
          ชอร                        เฮี            เล็
    เขาและไมมีเขา มีตระโหนกเล็กนอยตรงหัวไหล มีเหนียงหยอนเล็กนอย
    ลําตัวลึกเรียบ ทนแลงและอากาศรอนชื้น ทนโรคเห็บ การเจริญเติบโต
    เร็ว เปอรเซนตซากและคุณภาพซากดี
                   ซากและคุ
โคพันธุฮินดูบราซิล
   เปนโคที่มีเชื้อสายโคอินเดียเชนเดียวกับโคบราหมัน แตปรับปรุงพันธุที่
                                                   มั
    ประเทศบราซิล สีมีตั้งแตสีขาวจนถึงสีเทาเกือบดํา สีแดง แดงเรื่อๆ หรือ
    แดงจุดขาว หนาผากโหนกกวางคอนขางยาว หูมีขนาดกวางปานกลาง
    และหอยยาวมาก ปลายใบหูมักจะบิด เขาแข็งแรงมักจะเอนไปดานหลัง
    หนอกมีขนาดใหญ ผิวหนังและเหนียงหยอนยานมาก เปนโคที่มีขนาด
    ใหญและคอนขางสูง เพศผูโตเต็มที่หนักประมาณ 900-1,200 ก.ก. เพศ
    เมีย 600-700 ก.ก.
อางอิง

More Related Content

Similar to พันธุ์โคในประเทศไทย

Similar to พันธุ์โคในประเทศไทย (6)

การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
Minibook animal
Minibook animalMinibook animal
Minibook animal
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2553
 
Con9
Con9Con9
Con9
 
Pre o net 2560 (1-20)
Pre o net 2560 (1-20)Pre o net 2560 (1-20)
Pre o net 2560 (1-20)
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 

พันธุ์โคในประเทศไทย

  • 1. โครงงานเรื่อง พันธุโคในประเทศไทย จัดทําโดย นายกิตติศักดิ์ เขื่อนโยธา เลขที่ 10 ม.5/1 โรงเรียนฝางวิทยายน
  • 2. โคพื้นเมือง  โคพื้นเมืองของไทยมีลักษณะใกลเคียงกับโคพื้นเมืองของประเทศเพื่อน บานในแถบเอเชีย ลักษณะรูปรางกะทัดรัด ลําตัวเล็ก ขาเรียวเล็ก ยาว เพศผูมีหนอกขนาดเล็ก มีเหนียงคอ แตไมหยอนยานมาก หูเล็ก หนังใตทองเรียบ มีสีไมแนนอน เชน สีแดงออน เหลืองออน ดํา ขาวนวล น้ําตาลออน และ อาจมีสีประรวมอยูดวย เพศผูโตเต็มที่หนักประมาณ 300-350 ก.ก. เพศเมีย 200-250 ก.ก.
  • 3. โคพันธุบราหมัน มั  มีตนกําเนิดในประเทศอินเดีย แตถูกปรับปรุงพันธุที่ประเทศ สหรัฐอเมริกา โคพันธุนี้ที่เลี้ยงในบานเราสวนใหญนําเขามาจาก สหรัฐอเมริกา และ ออสเตรเลีย แลวนํามาคัดเลือกปรับปรุงพันธุโดยกรม ปศุสัตวและฟารมของเกษตรกรรายใหญในประเทศ เปนโคที่มีขนาดคอนขางใหญ ลําตัวกวาง ยาว และลึก ไดสัดสวน หลัง ตรง หนอกใหญ หูใหญยาว จมูก ริมฝปาก ขนตา กีบเทาและหนังเปนสี ดํา เหนียงทีคอและหนังใตทองหยอนยาน โคนหางใหญ พูหางสีดํา สีจะ มีสีเขา เทา และแดง ที่นิยมเลี้ยงกันมากคือสีขาว เพศผูโตเต็มที่หนัก ประมาณ 800-1,200 ก.ก. เพศเมียประมาณ 500-700 ก.ก.
  • 4. โคพันธุชารโรเลส  ชารโร  มีถิ่นกําเนิดในประเทศฝรั่งเศส มีสีขาวครีมตลอดตัว รูปรางมีลักษณะ เปนสี่เหลี่ยมผืนผา ขาสั้น ลําตัวกวาง ยาว และลึก มีกลามเนื้อตลอดทั้ง ตัว นิสัยเชื่อง เปนโคที่มีขนาดใหญมาก เพศผูเมื่อโตเต็มที่หนักประมาณ 1,100 ก.ก. เพศเมีย 700-800 ก.ก.
  • 5. โคพันธุซิมเมนทัล  ซิ  มีถิ่นกําเนิดในประเทศสวิสเซอรแลนด นิยมเลี้ยงกันในประเทศยุโรป ใน เยอรมันเรียกวาพันธุเฟลคฟ (Fleckvieh) ไดรับการปรับปรุงพันธุเปนโค เฟลคฟ กึ่งเนื้อกึ่งนม ในประเทศสหรัฐอเมริกานําไปคัดเลือกปรับปรุงพันธุให เปนโคเนื้อ ลําตัวมีสีน้ําตาลหรือแดงเขมไปจนถึงสีฟางหรือเหลืองทอง และมีสีขาวกระจายแทรกทั่วไป หนาขาว ทองขาว และขาขาว เปนโค ขนาดใหญ โครงรางเปนสี่เหลี่ยม ลําตัวยาว ลึก บั้นทายใหญ ชวงขาสั้น และแข็งแรง เพศผูโตเต็มที่หนักประมาณ 1,100-1,300 ก.ก. เพศเมีย 650- 800 ก.ก.
  • 6. โคพันธุตาก  เปนโคลูกผสมระหวางพันธุชารโรเลสกับพันธุบราหมัน โดยกรมปศุสัตวได  ชารโร  กั มั มอบหมายใหศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวตาก ทําการคัดเลือกและปรับปรุงพันธุให เปนโคเนื้อพันธุใหมที่โตเร็ว เนื้อนุม เพื่อทดแทนการนําเขาพันธุโคและะเนื้อโค คุณภาพดีจากตางประเทศ การสรางพันธุในฝูงปรับปรุงพันธูดําเนินการโดยนํา  ดํ น้ําเชื้อโคพันธุชารโรเลสคุณภาพสูงจากประเทศฝรั่งเศส ผสมกับแมโคบราหมัน  ชารโร  คุ โคบราหมั พันธุแท ไดโคลูกผสมชั่วที่ 1 (เรียกวาโคพันธุตาก 1) ที่มีเลือด 50% ชารโรเลส และ โร 50% บราหมัน แลวผสมแมโคเพศเมียชั่วที่ 1 ดังกลาวดวยน้ําเชื้อหรือพอบราหมัน มั มั พันธุแทไดลูกโคชั่วที่ 2 (เรียกโคพันธุตาก 2) ซึ่งมีเลือด 25% ชารโรเลส และ 75% โร บราหมัน จากนั้นผสมแมโคเพศเมียชั่วที่ 2 ดวยน้ําเชื้อโคพันธุชารโรเลสคุณภาพสูง มั  ชารโร  คุ ไดลูกโคชั่วที่ 3 (เรียกวาโคพันธุตาก) ซึ่งมีเลือด 62.5% ชารโรเลส และ 37.5% โร บราหมัน แลวนําโคชั่วที่ 3 ผสมกัน คัดเลือกปรับปรุงพันธุใหเปนโคเนื้อพันธุใหม มั เรียกวา โคพันธุตาก
  • 7. โคพันธุกําแพงแสน  เปนโคพันธุใหมปรับปรุงพันธุโดยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขต กําแพงแสน โดยใชพันธุชารโรเลสกับบราหมัน คลายกับโคพันธุตาก แต ชารโร มั โคพันธุกําแพงแสนเริ่มตนปรับปรุงพันธุจากโคพื้นเมือง โคพันธุ กําแพงแสนมีสายเลือด 25% พื้นเมือง 25% บราหมัน และ 50% ชารโร มั โร เลส สวนลักษณะและคุณสมบัติตางๆ คลายกับโคพันธุตาก
  • 8. โคพันธุกบินทรบุรี  เปนโคลูกผสมระหวางพันธุซิมเมนทัลกับพันธุบราหมัน โดยกรมปศุ ซิ มั สัตวไดมอบหมายใหศูนยวิจัยและบํารุงพันธุสัตวปราจีนบุรี (ซึ่งตั้งอยูที่ อําเภอกบินทรบุรี) ทําการสรางโคพันธุใหมใหเปนโคกึ่งเนื้อกึ่งนม โดย ลูกโคเพศผูใชเปนโคขุน และแมโคใชรีดนมได การสรางพันธุในฝูง ปรับปรุงพันธุดําเนินการโดยนําน้ําเชื้อโคพันธุซิมเมนทัลคุณภาพสูงจาก ซิ ประเทศเยอรมันผามกับแมโคบราหมันพันธุแท ไดลูกโคชั่วที่ 1 ที่มีเลือด โคบราหมั 50% ซิมเมนทัล และ 50% บราหมัน แลวผสมโคชั่วที่ 1 เขาดวยกัน มั คัดเลือกปรับปรุงใหเปนโคเนื้อพันธุใหมเรียกวา โคพันธุกบินทรบุรี
  • 9. โคพันธุเดราทมาสเตอร มาสเตอร  เปนโคพันธุใหมที่ไดรับการปรับปรุงพันธุในประเทศออสเตรเลีย กรม ปศุสัตวเคยนําเขามาศึกษาทดลองเลี้ยง ขณะนี้ยังคงมีเลี้ยงในฟารม เอกชนบางแหง เปนโคลูกผสมที่มีสายเลือดโคพันธุบราหมัน 3/8-1/2 มั พันธุชอรทฮอรน 1/2-5/8 และพันธุเฮียรฟอรดอยูเล็กนอย มีสีแดง มีทั้งมี ชอร เฮี เล็ เขาและไมมีเขา มีตระโหนกเล็กนอยตรงหัวไหล มีเหนียงหยอนเล็กนอย ลําตัวลึกเรียบ ทนแลงและอากาศรอนชื้น ทนโรคเห็บ การเจริญเติบโต เร็ว เปอรเซนตซากและคุณภาพซากดี ซากและคุ
  • 10. โคพันธุฮินดูบราซิล  เปนโคที่มีเชื้อสายโคอินเดียเชนเดียวกับโคบราหมัน แตปรับปรุงพันธุที่ มั ประเทศบราซิล สีมีตั้งแตสีขาวจนถึงสีเทาเกือบดํา สีแดง แดงเรื่อๆ หรือ แดงจุดขาว หนาผากโหนกกวางคอนขางยาว หูมีขนาดกวางปานกลาง และหอยยาวมาก ปลายใบหูมักจะบิด เขาแข็งแรงมักจะเอนไปดานหลัง หนอกมีขนาดใหญ ผิวหนังและเหนียงหยอนยานมาก เปนโคที่มีขนาด ใหญและคอนขางสูง เพศผูโตเต็มที่หนักประมาณ 900-1,200 ก.ก. เพศ เมีย 600-700 ก.ก.