SlideShare a Scribd company logo
อบรมความรู้
เพื่อสอบบัตรนายหน้าประกันวินาศภัย
ระเบียบการสมัคร
1) สมัครผ่านเว็บไซส์ คปภ.
 สมัครผ่าน http://www.oic.or.th/th/exambroker/index.php
 กรอกข้อมูลครบถ้วน พิมพ์ใบแจ้งหนี้ ชาระค่าธรรมเนียมการสอบผ่านธนาคาร กรุงไทย ทุกสาขา
ภายในวันเดียวกับที่สมัครสอบ **เพื่อมิให้สิทธิในการสารองที่นั่งถูกยกเลิก**
2) สมัครสอบรอบพิเศษ **ต้องผ่านการอบรมจาก บริษัทฯ**
 ส่งข้อมูลการสมัครผ่าน แผนกการตลาด บริษัท ศรีกรุงโบรคเกอร์ จากัด
 ส่งเอกสารการสมัครผ่าน สาขา ของ บริษัท ศรีกรุงโบรคเกอร์ จากัด ทุกสาขา
การขอรับใบอนุญาตเอกสารประกอบคาขอรับใบอนุญาตประกอบด้วย
1) สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน 2) สาเนาทะเบียนบ้าน
3) รูปถ่าย 1 นิ้ว จานวน 2 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน) 4) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต300 บาท
ระเบียบการสอบ
1) **นาหลักฐานการชาระเงิน และ บัตรประจาตัวประชาชน มาแสดงในวันสอบ**
- กรณีสมัครผ่านเว็บ คปภ. ต้องนาหลักฐานการชาระที่ได้ชาระผ่าน ธนาคารกรุงไทย มาแสดงด้วย
- กรณีสมัครรอบพิเศษของบริษัทฯ ให้มารับหลักฐานการชาระเงินในวันจัดสอบ
2) ผู้สมัครสอบติดต่อเพื่อลงทะเบียนรับ user/password ณ สถานที่สอบล่วงหน้าก่อนสอบประมาณ 10 นาที
3) เมื่อกาหนดเวลาสอบผ่านไปแล้ว 15 นาที ผู้สมัครสอบไม่มีสิทธิเข้าห้องสอบ
4) แต่งกายสุภาพ
หัวข้อวิชา จานวนข้อ เกณฑ์
1. จรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัย 10 70%
2. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยประกันภัย 20
60%
3. พ.ร.บ.ประกันวินาศภัยพ.ศ.2535 ฉบับแก้ไข(2) พ.ศ.2551 20
4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประกันวินาศภัย/หลักประกันวินาศภัย
70
5. ประกันอัคคีภัย
6. ประกันภัยรถยนต์
7. ประกันภัยทางทะเลและขนส่ง
8. ประกันภัยเบ็ดเตล็ด
หัวข้อวิชา และเกณฑ์การสอบ 120 ข้อ
จรรยาบรรณและศีลธรรม
ของ
นายหน้าประกันวินาศภัย
ข้อที่ 1 : ประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และไม่สนับสนุนการกระทาอันเป็น
ความผิดตามกฎหมาย ผิดศีลธรรม และผิดจรรยาบรรณใดๆ
ข้อที่ 2 : ปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม และยึดถือประโยชน์ของลูกค้าเป็นสาคัญ
ข้อที่ 3 : ปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาความรู้ความสามารถให้รองรับ
ต่อการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจโดยตลอด
ข้อที่ 4 : รักษาความลับของลูกค้าที่ตนได้ล่วงรู้มาจากการดาเนินธุรกิจอย่างดี และไม่
เปิดเผยแก่บุคคลภายนอกอื่นใด ยกเว้นเป็นการเปิดเผยตามหน้าที่ หรือตาม
กฎหมาย
ข้อที่ 5 : ประกอบธุรกิจโดยมีระบบการดาเนินงานที่เป็นมาตรฐาน มีการควบคุมที่ดี
มีความโปร่งใสเพียงพอที่จะสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนได้
ข้อที่ 6 : ไม่ใช้ถ้อยคาหรือการแสดงออกในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์กิจการที่เกิน
จริง หรือก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
1. นายไมตรีเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยได้แนะนาให้นายไข่ทาประกันรถยนต์ประเภท 1
ทั้งที่ทราบว่ารถยนต์ของนายไข่เพิ่งเสียหายจากการเฉี่ยวชนต้นไม้ โดยไม่ได้แจ้งให้บริษัท
ทราบว่ารถเพิ่งเกิดอุบัติเหตุมา ถามว่านายไมตรีเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ดีหรือไม่
( ) ก. เป็นนายหน้าที่ไม่ดี เพราะการแนะนาเช่นนั้น เป็นการไม่ซื่อสัตย์ต่อบริษัท
( ) ข. เป็นนายหน้าที่ดี ที่พยายามช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน
( ) ค. เป็นนายหน้าที่ดี เพราะพยายามช่วยเหลือนายไข่และไม่ได้ปกปิดความจริง
( ) ง. เป็นนายหน้าที่ดี เพราะซื่อสัตย์ต่อบริษัทประกัน
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
2. ข้อใดที่นายหน้าประกันวินาศภัยควรปฏิบัติมากที่สุดในการขายประกันวินาศภัยตาม
หลักจรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
( ) ก. ลดเบี้ยประกันภัย เพื่อช่วยเหลือผู้เอาประกันภัยให้จ่ายเบี้ยประกันภัยน้อยลง
( ) ข. ช่วยเหลือผู้เอาประกันภัย ให้ได้ทาประกันวินาศภัย
( ) ค. แนะนาให้ผู้เอาประกันภัยทาประกันภัย โดยให้มีจานวนเงินเอาประกันวินาศ
ภัยที่สูงมาก เพื่อจะได้ผลประโยชน์ที่สูง
( ) ง. ปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม และให้บริการที่ดีอย่างสม่าเสมอ ชี้แจงให้
ผู้เอาประกันภัยทราบถึงสิทธิและหน้าที่ เงื่อนไขความคุ้มครองเพื่อรักษา
ผลประโยชน์ของผู้เอาประกันภัย
3. นายมั่นเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ส่งงานให้กับบริษัทประกันวินาศภัย 3-4 บริษัท นาย
มั่นทางานมาเป็นเวลานานและคงยึดมั่นในแบบประกันวินาศภัยเดิมที่เคยนาเสนอต่อผู้เอา
ประกันภัย และคิดว่าแบบประกันวินาศภัยเดิมเพียงพอแล้วสาหรับทุกสภาวการณ์ จึงไม่
สนใจในการศึกษาแบบประกันวินาศภัยใหม่ๆ ดังนี้ ท่านเห็นว่าเหมาะสมหรือไม่
( ) ก. ไม่เหมาะสม เพราะเป็นหน้าที่ของนายหน้าประกันวินาศภัยที่จะต้องศึกษาแบบ
ประกันวินาศภัยใหม่ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะภัยที่เปลี่ยนแปลงไป และ
สามารถแนะนาผู้เอาประกันภัยได้
( ) ข. ไม่เหมาะสม เพราะนายหน้าประกันวินาศภัยจะต้องรู้ทุกเรื่อง
( ) ค. เหมาะสม เพราะแบบประกันวินาศภัยทุกแบบย่อมมีคุณภาพดีอยู่แล้ว
( ) ง. เหมาะสม เพราะแบบประกันวินาศภัยใหม่ๆ มักจะมีเบี้ยประกันภัยแพงกว่าเก่า
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
4. นายเกมส์เป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ส่งงานให้กับบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ได้ชักชวน
นายแพทย์ชัยทาประกันภัยความรับผิดต่อวิชาชีพ และเมื่อนายแพทย์ชัยตกลงทาประกัน
ดังกล่าวและจ่ายเบี้ยประกันภัยไปแล้ว ปรากฎว่านายเกมส์ไม่ได้นาใบคาขอเอาประกันภัย
และเบี้ยประกันภัยของนายแพทย์ชัยส่งบริษัทเพื่อออกกรมธรรม์ เมื่อนายแพทย์ชัยทวง
ถามกรมธรรม์ประกันภัย นายเกมส์บอกว่าบริษัทกาลังดาเนินการอยู่ให้คอยไปอีกระยะ
หนึ่งก่อนไม่ต้องเป็นห่วง ท่านคิดว่านายเกมส์ทาผิดจรรยาบรรณหรือไม่
( ) ก. ไม่ผิด เพราะอย่างไรเสีย นายแพทย์ชัยก็ได้กรมธรรม์ฯอยู่ดี แม้จะช้าไปบ้าง
( ) ข. ผิด เพราะนายเกมส์ไม่มีความขยันในการให้บริการแก่ผู้เอาประกันภัย
( ) ค. ผิด เพราะนายเกมส์ไม่มีความซื่อสัตย์ต่อผู้เอาประกันภัยและบริษัทประกันภัย
( ) ง. ไม่ผิด เพราะนายแพทย์ชัยไม่ได้เสียประโยชน์
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
5. จากคากล่าวที่ว่า “นายหน้าประกันวินาศภัยที่ดีนั้น ควรปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็ นธรรม
ให้บริการที่ดีและสม่าเสมอแก่ผู้เอาประกันภัย โดยไม่มีความจาเป็ นต้องชี้แจงให้ผู้เอา
ประกันภัยได้ทราบถึงสิทธิ หน้าที่และผลประโยชน์ที่ผู้เอาประกันภัยควรจะได้รับ” ท่านคิด
ว่าคากล่าวข้างต้นนี้ถูกต้องหรือไม่
( ) ก. ถูก การบริการที่ดีอย่างสม่าเสมอ ก็เพียงพอแล้วสาหรับการเป็นนายหน้า
ประกันวินาศภัยที่ดี
( ) ข. ถูก เพราะสิทธิ หน้าที่ และผลประโยชน์ผู้เอาประกันภัยจะต้องศึกษาให้เข้าใจ
ด้วยตนเองเท่านั้น ไม่จาเป็นที่นายหน้าประกันวินาศภัยต้องไปชี้แจงให้เข้าใจ
( ) ค. ผิด เพราะการให้คาชี้แจงแก่ผู้เอาประกันภัยได้ทราบถึงสิทธิ หน้าที่ และ
ผลประโยชน์ที่ควรจะได้รับ เป็นการกระทาอีกอย่างหนึ่งที่นายหน้าประกัน
วินาศภัยที่ดีควรจะกระทา
( ) ง. ไม่มีข้อใดถูก
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
6. นายองอาจเป็ นนายหน้าประกันวินาศภัยได้ชักชวนนายโอ้อวด สามีของนางดวงใจ ทา
ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล จากข้อมูลในใบคาขอเอาประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล นาย
องอาจทราบว่านายโอ้อวดไม่ได้ระบุให้นางดวงใจซึ่งเป็ นเพื่อนสนิทของตนเป็ นผู้รับ
ประโยชน์ตามกรมธรรม์ แต่ได้ระบุให้นางสาวดวงตา ภรรยาน้อยเป็นผู้รับประโยชน์ นาย
องอาจจึงได้นาเรื่องนี้ไปบอกให้นางดวงใจทราบ การกระทาของนายองอาจผิด
จรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัยหรือไม่
( ) ก. ไม่ผิด เพราะนางดวงใจเป็นภรรยาที่ถูกต้องตามกฎหมายของนายโอ้อวด การ
เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อนางดวงใจจึงไม่ใช่การเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก
( ) ข. ไม่ผิด เพราะนายหน้าประกันวินาศภัย ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อเพื่อน และนาย
โอ้อวดประพฤติผิดศีลธรรมอันดี
( ) ค. ผิด เพราะอาจทาให้เกิดปัญหาทะเลาะวิวาทขึ้นในครอบครัวของนายโอ้อวด
( ) ง. ผิด เพราะนาเรื่องซึ่งได้รับรู้จากใบคาขอเอาประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล ซึ่งถือ
เป็นความลับอันมิควรเปิดเผยของผู้เอาประกันภัยไปเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
7. นายดอกรักเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ส่งงานให้บริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง และทราบ
ว่าสมุหบัญชีของบริษัทประกันภัยนี้ยักยอกเงินไปเล่นการพนันฟุตบอล นายดอกรักจึงได้
แจ้งเรื่องดังกล่าวแก่กรรมการบริษัท แต่เมื่อเวลาผ่านไปนาน สานักงานใหญ่ก็มิได้กระทา
การอย่างใดแก่สมุหบัญชีคนนั้น นายดอกรักจึงได้นาเรื่องดังกล่าวไปแจ้งแก่นายไม้เมืองซึ่ง
เป็นบุคคลภายนอก การกระทาของนายดอกรักผิดจรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัย
หรือไม่
( ) ก. ผิด เพราะเปิดเผยความลับของบริษัทประกันภัยต่อบุคคลภายนอก
( ) ข. ผิด เพราะทาให้บริษัทประกันภัยเสียประโยชน์
( ) ค. ไม่ผิด เพราะสิ่งที่นายดอกรักพูดเป็นความจริง
( ) ง. ไม่ผิด เพราะนายดอกรัก พูดไปโดยมิได้ตั้งใจ
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
8. ญาติของนางสมศรี มาขอให้นางสมศรีซึ่งเป็ นนายหน้าประกันวินาศภัยช่วยจัดหาแบบ
กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสาหรับบ้านที่อยู่อาศัย นางสมศรีควรแนะนาให้ญาติทา
ประกันภัยกับบริษัทประกันวินาศภัยแห่งใด
( ) ก. บริษัทประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองสูงสุดภายใต้เบี้ยประกันภัยที่กาหนด
( ) ข. บริษัทประกันภัยที่เป็นบริษัทลูกของธนาคารที่ให้ญาติของนางสมศรีกู้ซื้อบ้าน
( ) ค. บริษัทประกันภัยที่ให้ค่าตอบแทนนางสมศรีสูงที่สุด
( ) ง. บริษัทประกันภัยที่มีกาไรสุทธิในปีที่ผ่านมาสูงสุด
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
9. การที่นายหน้าประกันวินาศภัยสามารถส่งงานได้หลายบริษัท จะมีผลดีต่อผู้เอาประกันภัย
อย่างไร จงเลือกตอบข้อที่ถูกต้องมากที่สุด
( ) ก. ผู้เอาประกันภัยได้รับข้อมูลข่าวสารของบริษัทประกันภัย โดยที่นายหน้าประกัน
วินาศภัยยังไม่ได้ศึกษาข้อมูลอย่างแท้จริง
( ) ข. ผู้เอาประกันภัยเกิดความเชื่อถือเพราะนายหน้าประกันวินาศภัยส่งงานกับ
บริษัทประกันภัยที่มีชื่อเสียง
( ) ค. ผู้เอาประกันภัยได้รับการเสนอรูปแบบกรมธรรม์ประกันภัยที่หลากหลาย และ
สามารถเลือกซื้อได้ตามความเหมาะสม
( ) ง. ผู้เอาประกันภัยมีความภูมิใจที่ได้ซื้อกรมธรรม์ประกันภัยกับนายหน้าประกัน
วินาศภัยที่ส่งงานได้หลายบริษัท
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
10. นายไก่เป็นนายหน้าประกันวินาศภัยมีการพัฒนาความรู้ต่างๆเกี่ยวกับการประกันวินาศภัย
รวมทั้งมีการอบรมเทคนิคการขายประกันวินาศภัยอย่างสม่าเสมอ เพื่อที่จะนาความรู้ไปใช้
ในการให้คาแนะนาแก่ผู้เอาประกันภัยอย่างถูกต้อง ดังนั้นนายไก่ปฏิบัติตามหลัก
จรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัยข้อใด
( ) ก. มีความซื่อสัตย์ต่อเพื่อนร่วมอาชีพ
( ) ข. หมั่นศึกษาหาความรู้ในวิชาชีพเพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อพัฒนาความรู้
ความสามารถให้รองรับต่อการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ
( ) ค. ให้บริการที่ดีอย่างสม่าเสมอ
( ) ง. ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรมประเพณีอันดีงาม
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
11. นาย ก. เป็นนายหน้าประกันวินาศภัย นาย ก. ซึ่งเป็นคนที่มีความรู้ทางโหราศาสตร์เป็น
อย่างดี ได้ให้คาแนะนาแก่ นายหน้าประกันวินาศภัยคนอื่นว่าควรที่จะหาความรู้เพิ่มเติม
ทางโหราศาสตร์ เพราะสามารถจะนามาใช้ในการเพิ่มยอดขายได้ นาย ข. ซึ่งเป็นนายหน้า
ประกันวินาศภัย จึงได้ไปเรียนวิชาโหราศาสตร์ตามคาแนะนาของนาย ก. ดังนั้น นาย ข.
ปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัยในข้อใด
( ) ก. หมั่นศึกษาหาความรู้ในวิชาชีพเพิ่มเติมอยู่เสมอ
( ) ข. ให้บริการที่ดีอย่างสม่าเสมอ
( ) ค. มีความซื่อสัตย์ต่อเพื่อนร่วมอาชีพ
( ) ง. ไม่มีข้อใดถูก
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
12. นาย ก. ได้ขอเอาประกันภัยโรคมะเร็ง ผ่านนาย ข. นายหน้าประกันวินาศภัย แต่บริษัท
ประกันวินาศภัยไม่รับเนื่องจากป่ วยเป็ นโรคร้ายแรง นาย ข. ได้บอกเรื่องนี้ต่อ
บุคคลภายนอกทราบ ท่านว่า นาย ข. ผิดหลักจรรยาบรรณหรือไม่
( ) ก. ไม่ผิด เพราะ นาย ก. ไม่ได้เป็นผู้เอาประกันภัย
( ) ข. ไม่ผิด เพราะเป็นความจริงหากเฝ้าดูใกล้ชิดก็รู้ว่าเป็นโรคร้ายแรง
( ) ค. ผิด เพราะทาให้นาย ก. เป็นที่รังเกียจต่อผู้ใกล้ชิด
( ) ง. ผิด เพราะเปิดเผยความลับของผู้เอาประกันภัย
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
13. นาย ก. เป็นนายหน้าประกันวินาศภัย ได้เสนอขายประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคลให้แก่
นาย ข. พร้อมทั้งบอกกับ นาย ข. ว่าเบี้ยประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล ที่ นาย ข. จ่าย
สามารถนาไปหักลดหย่อนภาษีเงินได้ การกล่าวของ นาย ก. ผิดจรรยาบรรณ เพราะ
( ) ก. นาย ก. กล่าวเท็จเพื่อจูงใจให้ นาย ข. ทาประกันภัย
( ) ข. นาย ก. ไม่หมั่นศึกษาหาความรู้ในวิชาชีพ
( ) ค. ชี้แจงให้ นาย ข. ทราบในสิ่งที่ผิด
( ) ง. ถูกทุกข้อ
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
14. นางสาว ก. ได้ทาประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลตามคาชักชวนของ นาย ข. ซึ่งเป็นนายหน้า
ประกันภัยวินาศภัยของบริษัทแห่งหนึ่ง แต่ไม่ได้รับการบริการที่ดีจาก นาย ข. จึงได้ไป
ปรึกษากับ นาย ค. ซึ่งเป็นนายหน้าของบริษัทประกันวินาศภัยอีกแห่งหนึ่ง โดย นาย ค. ได้
แนะนาให้ นางสาว ก. ยกเลิกกรมธรรม์ที่ทาไว้กับบริษัทเดิมแล้วมาทาประกันอุบัติเหตุ
ส่วนบุคคลกับบริษัทใหม่ที่ นาย ค. เป็ นนายหน้าประกันวินาศภัยอยู่และได้เสนอที่จะ
ให้บริการที่ดี ท่านคิดว่าข้อใดถูกต้องที่สุด
( ) ก. การกระทาของ นาย ข. ผิดจรรยาบรรณ
( ) ข. การกระทาของ นาย ค. ไม่ผิดจรรยาบรรณ
( ) ค. การกระทาของ นาย ค. ผิดจรรยาบรรณ
( ) ง. การกระทาของ นาย ข. และ นาย ค. ผิดจรรยาบรรณ
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
15. นาย ก. เป็นนายหน้าประกันวินาศภัยพบ นาย ข. ซึ่งเป็นเพื่อนเก่าที่ไม่ได้พบกันหลายปีแล้ว นาย
ข. ขอให้ นาย ก. จัดหาประกันอัคคีภัยใหม่กับโรงงานของตน ซึ่งจะครบกาหนดต่ออายุกรมธรรม์
ฉบับเก่าในอีก 30 วันข้างหน้า นาย ข. ทราบถึงอัตราค่าเบี้ยประกันว่าถ้ามีอุปกรณ์ป้องกันไฟไหม้
จะได้ส่วนลดจากบริษัทประกันวินาศภัย แต่โรงงาน นาย ข. ไม่ได้มีการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟ
ไหม้แต่อย่างใด นาย ก. ต้องการช่วยเพื่อนและอยากได้ธุรกิจจากเพื่อน จึงทาเรื่องขอให้บริษัท
ประกันวินาศภัย จ. พิจารณาอัตราค่าเบี้ยสาหรับโรงงาน นาย ข. โดยระบุว่ามีอุปกรณ์ป้องกันไฟ
ไหม้ครบถ้วน บริษัทประกันวินาศภัย จ. เสนออัตราค่าเบี้ยประกันต่ากว่าบริษัทประกันภัยวินาศภัย
เดิมที่ นาย ข. ใช้อยู่ นาย ข. จึงย้ายการทาประกันอัคคีภัยโรงงานของตนมาอยู่กับบริษัทประกัน
วินาศภัย จ. แทน จากเหตุการณ์ นาย ก. บกพร่องในหลักจรรยาบรรณ ที่เกี่ยวกับการยึดถือ
ประโยชน์ของลูกค้าเป็นสาคัญหรือไม่ อย่างไร
( ) ก. ไม่บกพร่อง เพราะทาให้ลูกค้าได้ส่วนลดจากอัตราค่าเบี้ยประกันภัยที่ถูกลงแล้ว
( ) ข. ไม่บกพร่อง เพราะบริษัทประกันวินาศภัย จ. ดีกว่าบริษัทประกันภัยเดิม
( ) ค. บกพร่อง เพราะไม่ได้ทาเรื่องขอให้บริษัทประกันวินาศภัย 2 รายขึ้นไปนาเสนอ
ความคุ้มครอง มาให้พิจารณา
( ) ง. บกพร่อง เพราะบริษัทประกันวินาศภัยเดิม ดีกว่าบริษัทประกันวินาศภัย จ.
คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 861 บัญญัติว่า
“ อันว่าสัญญาประกันภัยนั้น คือ
สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือใช้เงินจานวนหนึ่งให้
ในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้นหรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตดังได้ระบุไว้ในสัญญา
และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่า เบี้ยประกันภัย ”
คู่สัญญา มี 2 ฝ่าย
 ผู้รับประกันภัย
คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือใช้เงินจานวนหนึ่งให้
 ผู้เอาประกันภัย
คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะส่งเงินค่าเบี้ยประกันภัย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสัญญาประกันภัย มี 3 คน
 ผู้รับประกันภัย
 ผู้เอาประกันภัย
 ผู้รับประโยชน์ (มีหรือไม่มีก็ได้)
ลักษณะของสัญญาประกันภัย
1. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ เกิดขึ้นและมีผลตามกฎหมาย โดยอาศัยคาเสนอ
และสนองที่ต้องตรงกัน T.
2. เป็นสัญญาที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ จึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้
3. เป็นสัญญาต่างตอบแทน T.
4. เป็นสัญญาที่มีค่าตอบแทนไม่เท่าเทียมกัน
5. เป็นสัญญาเพื่อการเสี่ยงภัยหรือเสี่ยงโชค
6. เป็นสัญญาเพื่อการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
7. เป็นสัญญาที่อาศัยเหตุการณ์ในอนาคตอันไม่แน่นอน
8. เป็นสัญญาเพื่อประโยชน์แก่บุคคลภายนอก
โมฆียะกรรม (มาตรา 865)
“ ถ้าในเวลาทาสัญญาประกันภัย ผู้เอาประกันภัยก็ดีหรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอันการ
ใช้เงินย่อมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รู้อยู่แล้วละเว้นเสียไม่เปิดเผยข้อความ
จริงซึ่งอาจจะได้จูงใจผู้รับประกันภัยให้เรียกเก็บเบี้ยสูงขึ้นอีก หรือให้บอกปัดไม่ยอมทาสัญญา
หรือว่ารู้อยู่แล้วแถลงข้อความนั้นเป็นความเท็จไซร้ ท่านว่าสัญญานั้นเป็นโมฆียะ ถ้ามิได้ใช้สิทธิ
บอกล้างภายในกาหนดเดือนหนึ่งนับแต่วันที่ผู้รับประกันภัยทราบมูลอันจะบอกล้างได้ก็ดี หรือ
มิได้ใช้สิทธินั้นภายในกาหนดห้าปีนับแต่วันทาสัญญาก็ดี ท่านว่าสิทธินั้นเป็นอันระงับสิ้นไป ”
T. สรุป โมฆียะกรรมหมายถึง การกระทาที่ใช้บังคับได้ตามกฎหมาย จนกว่าจะถูกบอกล้าง
โดยการบอกล้างต้องกระทาภายใน 1 เดือนนับแต่ทราบข้อมูลอันบอกล้างได้
สัญญาประกันภัยค้าจุน (มาตรา 887)
สัญญาซึ่งผู้รับประกันภัยตกลงว่าจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อวินาศภัยอันเกิดแก่บุคคล
อีกคนหนึ่งในนามของผู้เอาประกัน
(T. คุ้มครองความรับผิดของผู้เอาประกันที่มีต่อบุคคลภายนอกตามกฎหมาย)
วัตถุที่เอาประกันภัยได้ คือ (T. ประกันภัยโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ?)
1. บุคคล 2. ทรัพย์สิน 3. ความรับผิดตามกฎหมาย
กรมธรรม์ประกันภัย (มาตรา 867) T.
 เป็นหลักฐานแห่งสัญญาประกันภัย ต้องมีเนื้อความต้องตามสัญญาประกันภัย (หากไม่มี
หลักฐาน ฟ้องร้องไม่ได้)
 ผู้รับประกันภัยต้องส่งมอบกรมธรรม์ให้แก่ผู้เอาประกันภัย แม้ผู้เอาประกันภัยจะไม่ร้องขอ
 กรมธรรม์ประกันภัย ต้องระบุ “ วันทาสัญญา ” หมายถึง วันที่สัญญาประกันภัยเกิดขึ้น
 กรมธรรม์ประกันภัย ต้องลงลายมือชื่อของผู้รับประกันภัย
รายการที่ต้องมีเสมอในกรมธรรม์ 3 สิ่ง T.
 ชื่อผู้เอาประกันภัย
 ชื่อผู้รับประกันภัย
 วัตถุที่เอาประกันภัย
บุคคลผู้มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทนตามกฎหมาย
- ผู้เอาประกันภัย - ผู้รับประโยชน์ - ผู้เสียหาย
Question : นาย ส. เช่าตึก 2 ชั้นมีมูลค่า 1,200,000 บาท ในราคาเดือนละ 10,000 บาท โดยนาย ส.ผู้เช่าได้ทา
ประกันอัคคีภัยตึกที่เช่านี้กับบริษัท A 800,000 บาท อีก 1 เดือนทาประกันภัยตัวตึกกับบริษัท B อีก 400,000 บาท
รวมทั้งเฟอร์นิเจอร์ในวงเงิน 100,000 บาท โดยทั้ง 2 กรมธรรม์ระบุนาย ส. เป็นผู้เอาประกันภัยและผู้รับประโยชน์
ต่อมาเกิดไฟฟ้าลัดวงจรไฟไหม้ตึกเสียหาย 200,000 บาท เฟอร์นิเจอร์เสียหาย 20,000 บาท นาย ส.จะได้รับค่า
สินไหมทดแทนอย่างไร
Answer : - ตัวอาคารไม่คุ้มครองเนื่องจากนาย ส.ไม่มีส่วนได้เสียในตัวตึก เพราะเป็นเพียงผู้เช่า
- ส่วนทรัพย์สินที่เสียหาย บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมให้ 20,000 บาท(ตามความเสียหายที่แท้จริงและ
ไม่เกินทุนประกัน) เนื่องจากเป็นทรัพย์สินของนาย ส.
ผู้มีส่วนได้เสียในกรมธรรม์ T.
 บุคคลที่เป็นทายาทโดยธรรม ของผู้เอาประกันภัย
 บุคคลที่ได้รับความเสียหายจากการเอาประกันภัย
 บุคคลที่ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
การสิ้นผลบังคับของสัญญาประกันภัย
 ผู้เอาประกันภัยบอกเลิก : คืนเบี้ยแบบระยะสั้น Short Rate
 ผู้รับประกันภัยบอกเลิก : คืนเบี้ยตามสัดส่วน Pro rata
กฏหมายเกี่ยวกับการประกันภัยมีความเกี่ยวข้องกับกฎหมายละเมิดมากที่สุด (T.)
อายุความฟ้องร้องตามสัญญาประกันวินาศภัย = 2 ปี (ม.882)
กรณีที่บริษัทจะไม่จ่ายค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัย (ม.879) (T.)
 ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหรือทุจริต
 ความไม่สมประกอบในเนื้อวัตถุที่เอาประกันภัย เช่น อาคารถล่ม เนื่องจากสัดส่วนปูน
ไม่ได้มาตรฐาน (T. ตัวอย่างความไม่สมประกอบในเนื้อวัตถุที่เอาประกัน คือข้อใด?)
 ผู้เอาประกันภัยจะได้รับการชดใช้ตามจานวนที่ตนได้รับความเสียหายจริง
 ผู้รับประกันภัยจะต้องทาการชดใช้โดยแบ่งตามสัดส่วนที่ตนได้รับประกันไว้ (กรณีทาพร้อมกัน)
 ผู้รับประกันภัยจะต้องทาการชดใช้ก่อนหลังตามลาดับวันเวลาการรับประกัน (กรณีทาสืบเนื่อง)
สัญญาประกันภัยซ้าซ้อน (ที่ถือว่าทาพร้อมกัน หมายถึง ทาวันเดียวกัน (ม.870))
พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558
พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
“ ผู้รักษาการ ”
(รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง)
“ นายทะเบียน ”
(เลขาธิการคณะกรรมการ คปภ. หรือ ผู้ซึ่งเลขาธิการฯ มอบหมาย)
“ คณะกรรมการ คปภ. ”
- การให้ / ควบรวม / เพิกถอนใบอนุญาต
ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย
- การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ.
ประกันวินาศภัย
- กาหนดหลักสูตรการสอบ/อบรมเพื่อขอรับ
ใบอนุญาตตัวแทน/นายหน้า
- พิจารณาอุทธรณ์เมื่อตัวแทน / นายหน้าถูก
เพิกถอนใบอนุญาต
- กาหนดแบบของสมุดทะเบียน / สมุดบัญชี
ของนายหน้านิติบุคคล
- กาหนดให้บริษัทจัดสรรเงินสารองต่างๆ
- กาหนดให้เบี้ยประกันไปลงทุนธุรกิจใดได้
- กาหนดหลักเกณฑ์เรื่องการประวิงการจ่าย
ค่าสินไหมทดแทน
จัดตั้ง / ควบรวม เป็นอำนำจหน้ำที่ของ
รมว.คลัง โดยอนุมัติ ครม.
เพื่อควบคุม
 บริษัทประกันภัย (INSURANCE COMPANY)
o บริษัทมหาชนจากัด
o สาขาของบริษัทประกันภัยต่างประเทศ
 ตัวแทน (AGENT)
 นำยหน้ำ (BROKER)
วัตถุประสงค์ในกำรออกพรบ.ประกันวินำศภัย
คำนิยำม “ บริษัท ”
บริษัทมหาชนจากัดที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย รวมถึงสาขาของบริษัท
ประกันวินาศภัยต่างประเทศที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยในราชอาณาจักร
กำรขอใบอนุญำตประกอบธุรกิจของบริษัทประกัน
 บริษัทต้องยื่นคาขอรับใบอนุญาตต่อรัฐมนตรีกระทรวงการคลังโดยอนุมัติ
คณะรัฐมนตรี
โดยพ.ร.บ.กาหนดให้บริษัท
1. ต้องวางหลักทรัพย์ประกันไว้กับนายทะเบียนตามจานวนที่กาหนดเพื่อเป็นหลักประกัน
ให้แก่ผู้เอาประกันภัย เมื่อบริษัทเลิกกิจการ(หากหลักทรัพย์ไม่พอ ต้องเพิ่มภายใน 2 เดือน)
2. ดารงไว้ซึ่งเงินกองทุน (กองทุนขาด ต้องเสนอโครงการภายใน 30 วัน)สัดส่วนจำนวนหุ้น
 บริษัทต้องมีจานวนหุ้นที่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยถืออยู่ไม่ต่ากว่าร้อยละ 75 และ
ต้องมีกรรมการเป็นบุคคลซึ่งมีสัญชาติไทยไม่ต่ากว่า 3 ใน 4 ของจานวนกรรมการทั้งหมด
 หำกมีเหตุสมควร อาจให้ชาวต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 49% และให้มีกรรมการที่เป็น
ชาวต่างชาติได้เกิน 1 ใน 4 แต่ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด
คำนิยำม “ ตัวแทนประกันวินำศภัย ”
ผู้ซึ่งบริษัทมอบหมายให้ทาการชักชวนให้บุคคลทาสัญญาประกันภัยกับบริษัท
คำนิยำม “ นำยหน้ำประกันวินำศภัย ”
ผู้ชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคลทาสัญญาประกันภัยกับบริษัท โดยกระทาเพื่อบาเหน็จเนื่องจาก
การนั้น
 การรับชาระเบี้ยประกันภัย
ตัวแทน : สามารถรับชาระเบี้ยประกันภัยได้โดยไม่ต้องมีหนังสือมอบอานาจรับเบี้ยประกันภัย
นายหน้า / พนักงานเก็บเงินของบริษัทประกัน : ต้องได้รับมอบอานาจเป็นหนังสือจากบริษัท
ก่อน ถึงจะรับเบี้ยประกันภัยได้
 การทาสัญญาประกันภัย
ตัวแทน / นายหน้า : จะเข้าทาสัญญาประกันวินาศภัยในนามบริษัทประกันภัยได้ ต้องได้รับมอบ
อานาจเป็นหนังสือจากบริษัทก่อน
คุณสมบัติการเป็นตัวแทน / นายหน้าประกันวินาศภัย
1) บรรลุนิติภาวะ
2) มีภูมิลาเนาในประเทศไทย
3) ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ
4) ไม่เคยต้องโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทา
โดยทุจริต เว้นแต่ได้พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต
5) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย
6) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันวินาศภัยหรือใบอนุญาต
เป็นนายหน้าประกันวินาศภัยในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต
นายหน้าแบ่งเป็น 2 ประเภท
 นายหน้าบุคคลธรรมดา (คุณสมบัติคล้ายกับตัวแทนประกันวินาศภัย)
 นายหน้านิติบุคคล
 ต้องมีสานักงานใหญ่ในประเทศไทย
 ต้องมีพนักงาน / ลูกจ้าง ที่ได้รับใบอนุญาตนายหน้าอย่างน้อย 5 คน
 นิติบุคคลนั้นต้องไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยในระยะ
เวลา 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต
ใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยสิ้นสุดเมื่อ
ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ / ผู้จัดการ / พนักงาน / ลูกจ้างบริษัทประกันวินาศภัย
 ใบอนุญำตนำยหน้ำประกันวินำศภัยมีกำหนดอำยุ 1 ปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญำต
 ต่ออำยุ 1 ปี 2 ครำวแล้ว ครำวต่อไปจะเป็นแบบ 5 ปี (ไม่มีใบอนุญำตแบบตลอดชีพ)
 กำรต่ออำยุบัตรสำมำรถต่ออำยุล่วงหน้ำภำยใน 2 เดือนหรือไม่เกินวันที่บัตรหมดอำยุ
 บุคคลที่มีอำนำจเพิกถอนใบอนุญำตตัวแทน / นำยหน้ำคือ นำยทะเบียน (หำกไม่พอใจสำมำรถ
อุทธรณ์คำสั่งนำยทะเบียนต่อคณะกรรมกำร คปภ.ได้ภำยใน 15 วัน)
บทกาหนดโทษสาหรับบริษัทประกันภัย
 ไม่เกิน 300,000 บาท
- ฝ่าฝืนเรื่องการออกกรมธรรม์ประกันภัย หรือเอกสารประกอบหรือแนบท้ายประกันภัย
- กาหนดอัตราเบี้ยประกันภัยโดยฝ่าฝืน
 ไม่เกิน 500,000 บาท
- ประวิงการจ่ายค่าสินไหมทดแทน / ประวิงการคืนเบี้ยโดยไม่มีเหตุอันสมควร
(ถ้าเป็นการกระทาความผิดต่อเนื่อง ให้ปรับอีกไม่เกินวันละ 20,000 บาทตลอดเวลาที่ฝ่าฝืน)
บทกาหนดโทษสาหรับตัวแทน / นายหน้าประกันวินาศภัย
 จาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
- กรณีกระทาการเป็นตัวแทน/นายหน้าโดยไม่ได้รับใบอนุญาต
 จาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ)
- กรณีตัวแทน / นายหน้า / พนักงานบริษัทเข้าทาสัญญาประกันภัย
- กรณีนายหน้า / พนักงานบริษัทรับเบี้ยโดยไม่ได้รับหนังสือมอบอานาจจากบริษัท
 ปรับไม่เกิน 30,000 บาท
- กรณีนายหน้าไม่แสดงใบอนุญาตเมื่อชี้ช่อง
- กรณีนายหน้าไม่แสดงหนังสือมอบอานาจรับเบี้ยประกันภัยจากบริษัท/ไม่ออกเอกสารรับเงินของบริษัท
(จำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 30,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ หำกทำให้เกิดควำมเสียหำยแก่บริษัท/ผู้เอำประกันภัย)
 ปรับไม่เกิน 50,000 บาท
- กรณีนายหน้าไม่ลงรายการในสมุดทะเบียนภายใน7วัน
(นายหน้าต้องเก็บรักษาสมุดทะเบียน/บัญชีไว้ที่สานักงานไม่น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันลงรายการครั้งสุดท้าย)
หลักการประกันภัย
 หลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัย (Insurable Interest)
 หลักสุจริตต่อกันอย่างยิ่ง (Utmost Good Faith) ***
 หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเป็นจริง (Indemnity)
 หลักการรับช่วงสิทธิ์ (Subrogation) ***
 หลักการเฉลี่ย (Contribution) ***
 หลักสาเหตุใกล้ชิด (Proximate Cause)
หลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัย
ส่วนได้เสียที่อาจเอาประกันภัยได้กล่าวคือ ผู้เอาประกันภัยจะต้องมีกรรมสิทธิ์ สิทธิ
ประโยชน์หรือความรับผิดตามกฎหมายในวัตถุที่เอาประกันภัย ในขณะที่ทาสัญญา
ดังนั้น หากในระหว่างสัญญาประกันภัย การเสี่ยงภัยได้หมดไปหรือได้มีการโอนวัตถุที่
เอาประกันภัยไปให้ผู้อื่นแล้ว ส่วนได้เสียในเหตุประกันภัยนั้นก็จะหมดไปด้วย ซึ่งจะทาให้สัญญา
ประกันภัยนั้นไม่มีผลผูกพันกับผู้ที่ไม่มีส่วนได้เสียในเหตุประกันภัยนั้นอีกต่อไป
ป.พ.พ. มาตรา 863
“ อันสัญญาประกันภัยนั้น ถ้าผู้เอาประกันภัยมิได้มีส่วนได้เสียในเหตุที่
ประกันภัยไว้นั้นไซร้ ท่านว่าย่อมไม่ผูกพันคู่สัญญาแต่อย่างหนึ่งอย่างใด ”
หลักสุจริตต่อกันอย่างยิ่ง
 การเปิดเผยข้อความจริง
 การไม่แถลงข้อความเท็จ
 การปฏิบัติตามข้อรับรอง (Warranties)
หมายถึง การที่ผู้เอาประกันภัยให้คารับรองต่อผู้รับประกันภัยว่า ผู้เอาประกันภัย
จะต้องกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์ใน
การเสี่ยงภัยของผู้รับประกันภัย
การไม่ปฏิบัติตามคารับรองมีผลเป็นการปฏิบัติผิดเงื่อนไขอันเป็นสาระสาคัญของ
สัญญาประกันภัย ผู้รับประกันภัยมีสิทธิปฏิเสธความรับผิดตามสัญญาได้
(T. หลักสุจริตใจอย่างยิ่งเป็นหลักที่ใช้บังคับกับฝ่ายใด? ทั้งผู้เอาประกันและผู้รับประกันภัย)
(T. หลักสุจริตต่อกันอย่างยิ่งตามกฎหมายประกันภัย หมายถึงการกระทาของผู้ใด? ผู้เอาประกันภัย)
ฝ่าฝืน = โมฆียะ (T.)
หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเป็นจริง
หลักการนี้เพื่อป้องกันมิให้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ได้รับกาไร
จากการประกันภัย โดยจะยึดหลักเพื่อให้ผู้เอาประกันกลับคืนสู่สถานะเดิม
โดยเร็วที่สุด ซึ่งมีวิธีการทั่วไปสาหรับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังนี้
 การจ่ายเป็นตัวเงิน (Cash Payment) : กรณีเสียหายโดยสิ้นเชิง (วิธีที่ง่ายที่สุด)
 การซ่อมแซม (Repair) : กรณีเสียหายบางส่วน ยังสามารถซ่อมแซมได้
 การหาของมาทดแทน (Replacement) : กรณีซ่อมไม่ได้ (ใช้กับ สังหาริมทรัพย์)
 การทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิม (Reinstatement) : ซ่อมไม่ได้ สร้างให้ใหม่
(T. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันวินาศภัย คือ ชดใช้ตามความเสียหายที่
แท้จริง แต่ไม่เกินกว่าจานวนเงินเอาประกันภัย)
หลักการรับช่วงสิทธิ์
หลักการนี้ให้สิทธิแก่ผู้รับประกันภัยไปเรียกร้องค่าเสียหายคืนจากผู้ทาละเมิด
โดยผู้รับประกันภัยจะรับช่วงสิทธิ์เกินกว่าจานวนที่ได้จ่ายค่าสินไหมทดแทนไปไม่ได้
• การรับช่วงสิทธิ์จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อเป็นวินาศภัยที่เกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์เท่านั้น
• หลักการรับช่วงสิทธิ์เป็นหลักที่ใช้เฉพาะการประกันวินาศภัยเท่านั้น ไม่สามารถนาไปใช้กับ
การประกันชีวิตได้ (T.)
• การรับช่วงสิทธิ์ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน เป็นสิทธิและหน้าที่ของผู้รับประกันภัย (T.)
หลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (หลักการเฉลี่ย)
หลักการนี้มีความมุ่งหมายเพื่อให้ผู้รับประกันภัยในวัตถุที่เอาประกันภัย
อันเดียวกันต้องรับผิดในส่วนความเสียหายที่ตนมีอยู่ตามอัตราส่วนที่ตนได้รับ
ประกันภัยไว้
(T.) หลักการเฉลี่ยจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อครบองค์ประกอบดังต่อไปนี้ :
• มีกรมธรรม์สองฉบับหรือมากกว่านั้น
• ให้ความคุ้มครองภัยชนิดเดียวกัน
• มีวัตถุที่เอาประกันภัยเดียวกัน
T. สัญญาประกันภัยซ้าซ้อน ที่ถือว่าทาพร้อมกันหมายถึง สัญญาที่ทาวันเดียวกัน
หลักสาเหตุใกล้ชิด
สาเหตุใกล้ชิด คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นต่อเนื่องไม่ขาดตอน และเป็น
ผลโดยตรงจากภัยที่ได้ระบุไว้ในสัญญาประกันภัย
สาระสาคัญของหลักสาเหตุใกล้ชิด มีดังนี้ :
• ต้องมีภัยที่รับประกันภัยไว้เกิดขึ้นจริง
• ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่เอาประกันภัยเป็นผลโดยตรงจากภัยที่ระบุไว้ในสัญญา
ประกันภัย
• เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นต่อเนื่องกันโดยไม่ขาดตอน (T.ลักษณะสาคัญของสาเหตุใกล้ชิด)
ความเสี่ยงภัย
T. คือ โอกาส / ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่
ไม่แน่นอนขึ้นในอนาคตและจะนามาซึ่งความเสียหายทางเศรษฐกิจ
ประเภทของความเสี่ยงภัย
 ความเสี่ยงภัยที่แท้จริง (Pure Risk) * Ex : การเสี่ยงภัยจากน้าท่วมบ้าน T.
 ความเสี่ยงภัยจาเพาะ (Particular Risk)
 ความเสี่ยงภัยคงที่ (Static Risk)
 ความเสี่ยงภัยที่เอาประกันภัยได้ (Insurable Risk)
ภัย (Peril)
สาเหตุที่ทาให้เกิดความเสียหาย
สาเหตุที่ทาให้เกิดความเสียหายแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ :
 สาเหตุความเสียหายจากธรรมชาติ (Natural Perils)
เช่น ไฟไหม้ ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว
 สาเหตุความเสียหายจากบุคคล (Human Perils)
การกระทาของมนุษย์ เช่น การลอบวางเพลิง การโจรกรรม
 สาเหตุความเสียหายจากเศรษฐกิจ (Economic Perils)
เช่น เงินเฟ้อ การเปลี่ยนรสนิยมของประชาชน
สภาวะภัย (Hazard)
สภาวะที่อาจเพิ่มระดับความรุนแรงของความเสียหายให้มากขึ้น
หรือเพิ่มโอกาสที่จะเกิดความเสียหายให้บ่อยขึ้น หรือลดน้อยลง
สภาวะภัยแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท :
 สภาวะภัยทางด้านกายภาพ (Physical Hazard)
เช่น ประเภทสิ่งปลูกสร้าง (ไม้/ครึ่งตึกครึ่งไม้), ที่ตั้งของทรัพย์สิน(ชุมชนแออัด)
 สภาวะภัยทางด้านศีลธรรม / คุณธรรม (Moral Hazard)
เช่น กระทาโดยทุจริตเพื่อหวังค่าสินไหมทดแทน(วางเพลิงทรัพย์สินตนเอง) T.
 สภาวะภัยทางจริยธรรม / อุปนิสัย (Morale Hazard)
เช่น การกระทาที่ไม่เจตนา แต่ประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวังในการ
ป้องกัน(ไม่ล็อครถ, สูบบุหรี่บนที่นอน)
1. กลุ่มวิธีการด้านการควบคุมความเสี่ยงภัย (Risk Control)
1.1 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงภัย
1.2 การป้องกันการเกิดความเสียหาย
1.3 การบรรเทาความเสียหาย
1.4 การแยกภัย
1.5 การทาสาเนา
การจัดการความเสี่ยงภัย
การจัดการความเสี่ยงภัย(ต่อ)
2. กลุ่มวิธีการด้านการจัดการทางการเงินสาหรับความเสี่ยงภัย (Risk
Financing)
2.1 การรับเสี่ยงภัยไว้เอง
2.2 การโอนความเสี่ยงภัย
2.3 Combination Techniques คือ การโอนภาระความเสี่ยงใน
รูปแบบประกันภัย และ การรับความเสี่ยงภัยไว้เองบางส่วน
 ความคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils) ระบุสิ่งที่ให้ความคุ้มครองไว้โดยแจ้งชัด
วิธีการเขียนระบุความคุ้มครองในกรมธรรม์ประกันวินาศภัย
 ความคุ้มครองแบบสรรพภัย (All Risks) ระบุสิ่งที่ไม่ให้ความคุ้มครองไว้โดยแจ้งชัด
“ บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความสูญเสียของเงินขณะที่ทาการขนส่งโดย
พนักงานรับ-ส่งเงินอันเกิดจากการชิงทรัพย์ปล้นทรัพย์หรือความพยายามกระทาการดังกล่าว ”
“ ภายใต้ข้อบังคับของข้อตกลงคุ้มครอง เงื่อนไขทั่วไปข้อกาหนด ข้อยกเว้น และเอกสารแนบท้าย
แห่งกรมธรรม์ประกันภัย บริษัทประกันภัยให้ความคุ้มครองความสูญหายหรือเสียหายทางกายภาพ
ของทรัพย์สินที่เอาประกันภัยโดยอุบัติภัยใดๆที่มิได้ระบุข้อยกเว้นไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย ”
เช่น กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย, กรมธรรม์ประกันภัยโจรกรรม
เช่น กรมธรรม์ประกันภัยการปฏิบัติงานตามสัญญา, กรมธรรม์ประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิด
การเอาประกันภัยสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริง
คือ การที่ผู้เอาประกันภัยกาหนดจานวนเงินเอาประกันภัยสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย
การเอาประกันภัยต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริง
คือ การที่ผู้เอาประกันภัยกาหนดจานวนเงินเอาประกันภัยต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน
ความรับผิดส่วนแรก (Deductible / Excess) T.
คือ จานวนเงินค่าสินไหมทดแทนส่วนแรก ที่ผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบเอง
อนุญาโตตุลาการ
คือ ผู้พิจารณาชี้ขาดข้อพิพาทระหว่างผู้เอาประกันภัย และ/หรือผู้เสียหายกับผู้รับประกันภัย
การประกันภัยร่วม (Co-Insurance)
การที่ผู้รับประกันภัยหลายราย
ตกลงร่วมกันรับประกันภัยรายเดียวกัน
ตามอัตราส่วนที่ตกลงกันไว้
การประกันภัยต่อ (Reinsurance)
การที่ผู้รับประกันภัยแบ่งภาระด้านความเสี่ยงภัยไปให้แก่
ผู้รับประกันภัยอื่นอีกทอดหนึ่ง
เป็นวิธีการกระจายการเสี่ยงภัยของบริษัทผู้รับประกันภัยวิธีหนึ่ง เนื่องจากบริษัทมี
ขีดความสามารถในการรับความเสี่ยงภัยไว้เองที่จากัดจึงจาเป็นต้องกระจายการเสี่ยงภัยส่วนที่
เกินจากขีดความสามารถของตนไปให้กับผู้รับประกันภัยรายอื่นซึ่งเรียกว่า
บริษัทผู้รับประกันภัยต่อ (Reinsurer)
- Facultative Reinsurance เป็นประกันภัยต่อที่เก่าแก่มากที่สุด
การประกันวินาศภัยในประเทศไทยแบ่งเป็น 4 ประเภท
 ประกันภัยรถยนต์
 ประกันอัคคีภัย
 ประกันภัยทางทะเล(มารีน)และขนส่ง
 ประกันภัยเบ็ดเตล็ด
ภาคสมัครใจ : ค่าบาเหน็จสูงสุด ไม่เกินร้อยละ 18
ภาคบังคับ : ค่าดาเนินการสูงสุดไม่เกินร้อยละ 12
ค่าบาเหน็จสูงสุด ไม่เกินร้อยละ 23
ค่าบาเหน็จสูงสุด ไม่เกินร้อยละ 13
ค่าบาเหน็จสูงสุด ไม่เกินร้อยละ 18
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
1. คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะส่งเบี้ยประกันภัย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรียกว่า
อย่างไร
( ) ก. ผู้รับประโยชน์
( ) ข. ผู้เอาประกันภัย
( ) ค. ผู้รับประกันภัย
( ) ง. ถูกทุกข้อ
2. คากล่าวที่ว่า สัญญาประกันภัยเป็นสัญญาต่างตอบแทน ถูกต้องหรือไม่
( ) ก. ไม่ถูกต้อง เพราะเป็นหน้าที่ฝ่ายเดียวของผู้รับประกันภัยที่จะต้องจ่ายค่าสินไหม
ทดแทน
( ) ข. ถูกต้อง เพราะผู้รับประกันภัยมีหน้าที่จ่ายค่าสินไหมทดแทน และผู้เอา
ประกันภัยมีหน้าที่จ่ายเบี้ยประกันภัย
( ) ค. ไม่ถูกต้อง เพราะเป็นสัญญาฝ่ายเดียว
( ) ง. ไม่ถูกต้อง เพราะเป็นสัญญาระหว่างผู้รับประกันภัย ผู้เอาประกันภัยและผู้รับ
ประโยชน์
3. เมื่อผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัยตกลงทาสัญญาประกันภัยแล้ว ผู้รับประกันภัย
จะต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือไม่
( ) ก. ต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยให้ ถ้าผู้เอาประกันภัยร้องขอ
( ) ข. ต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยให้ แม้ผู้เอาประกันภัยจะไม่ร้องขอ
( ) ค. จะต้องส่งมอบให้หรือไม่ ย่อมแล้วแต่ผู้รับประกันภัย
( ) ง. จะส่งมอบให้หรือไม่ก็ได้ เนื่องจากกฎหมายไม่ได้บังคับไว้
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
4. บุคคลใดมีหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามกฎหมาย
( ) ก. ผู้รับประกันภัย ( ) ข. ตัวแทนประกันภัย
( ) ค. ผู้รับประโยชน์ ( ) ง. นายหน้าประกันภัย
5. กรณีใดบ้างต่อไปนี้ที่สัญญาประกันภัยไม่คุ้มครอง
( ) ก. ผู้เอาประกันภัยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
( ) ข. ผู้เอาประกันภัยทุจริต
( ) ค. ผู้เอาประกันภัยไม่ชาระเบี้ยประกันภัย
( ) ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
6. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันวินาศภัย คือข้อใด
( ) ก. ชดใช้ตามความเสียหายที่แท้จริง
( ) ข. ชดใช้ตามความเสียหายที่แท้จริง แต่ไม่เกินกว่าจานวนเงินเอาประกันภัย
( ) ค. ชดใช้เป็นเงินจานวนแน่นอนตามจานวนเงินซึ่งเอาประกันภัยไว้
( ) ง. ชดใช้ตามที่ผู้รับประกันภัยเห็นสมควร
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
7. นายหน้าประกันวินาศภัยประเภทนิติบุคคล ไม่ลงรายการในสมุดทะเบียนและสมุดบัญชี
ตามที่นายทะเบียนกาหนด ต้องระวางโทษปรับ....
( ) ก. ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท
( ) ข. ไม่เกินสองหมื่นบาท
( ) ค. ไม่เกินสามหมื่นบาท
( ) ง. ไม่เกินห้าหมื่นบาท
8. กรมธรรม์ประกันภัยนั้น กฏหมายบัญญัติว่าต้องลงลายมือชื่อของ...
( ) ก. ผู้รับประกันภัย
( ) ข. ผู้เอาประกันภัย
( ) ค. ผู้รับประโยชน์
( ) ง. ผู้รับประกันภัยร่วมกับผู้เอาประกันภัย
9. กรมธรรม์ประกันภัย กฏหมายกาหนดให้มีรายการดังต่อไปนี้เสมอ
( ) ก. ราคาแห่งมูลประกันภัย
( ) ข. วัตถุที่เอาประกันภัย
( ) ค. ชื่อผู้รับประโยชน์
( ) ง. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค.
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
10. กรณีใดที่ผู้รับประกันภัยรถยนต์ไม่ต้องรับผิดตามสัญญาประกันภัย
( ) ก. ผู้เอาประกันภัยประมาทเลินเล่อทาให้รถยนต์เสียหาย
( ) ข. ผู้รับประโยชน์ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงทาให้รถยนต์เสียหาย
( ) ค. บุคคลภายนอกจงใจทาให้รถยนต์เสียหาย
( ) ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข.
11. คาว่า “ค่าสินไหมทดแทน” หมายถึง
( ) ก. ค่าเสียหายที่จะต้องจ่ายตามสัญญาประกันวินาศภัย
( ) ข. ค่าเบี้ยประกันภัย
( ) ค. ราคาทรัพย์สินที่เอาประกันภัย
( ) ง. จานวนเงินเอาประกันภัย
12. กรณีใดที่สัญญาประกันภัยไม่มีผลผูกพันคู่สัญญา
( ) ก. ผู้เอาประกันภัยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง
( ) ข. ผู้เอาประกันภัยจงใจทาให้ทรัพย์สินเสียหาย
( ) ค. ผู้เอาประกันภัยไม่มีส่วนได้เสียในทรัพย์สินที่เอาประกันภัย
( ) ง. ถูกทุกข้อ
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
13. สัญญาประกันภัยมีผู้เกี่ยวข้องอยู่ 3 ฝ่ายคือ
( ) ก. ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และผู้ชาระเบี้ยประกันภัย
( ) ข. ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และตัวแทนนายหน้าประกันภัย
( ) ค. ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และผู้ขอเอาประกันภัย
( ) ง. ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และผู้รับประโยชน์
14. ผู้รับประกันภัยรับช่วงสิทธิ์ได้ในกรณีใด
( ) ก. วินาศภัยอันเกิดจากการกระทาผิดของบุคคลภายนอก
( ) ข. วินาศภัยอันเกิดจากการกระทาผิดของผู้เอาประกันภัย
( ) ค. วินาศภัยอันเกิดจากการกระทาผิดของผู้รับประโยชน์
( ) ง. ถูกทุกข้อ
15. ผู้เอาประกันภัยกับผู้รับประโยชน์จะเป็นบุคคลเดียวกันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด
( ) ก. ได้ เพราะกฎหมายระบุไว้
( ) ข. ไม่ได้ เพราะกฎหมายห้ามไว้
( ) ค. ไม่ได้ เพราะไม่ถูกต้องตามหลักการประกันภัย
( ) ง. ได้หรือไม่ แล้วแต่บริษัทจะอนุมัติให้เป็นรายๆไป
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
16. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “ราคาแห่งมูลประกันภัย” หมายความถึง
( ) ก. ราคาของวัตถุที่เอาประกันภัย
( ) ข. ราคาของวัตถุที่เอาประกันภัย หักด้วยราคาความเสื่อมสภาพ
( ) ค. ราคาของส่วนได้เสียที่กาหนดไว้ในสัญญาประกันภัย
( ) ง. ราคาที่จะได้รับการชดใช้เมื่อเกิดความเสียหาย
17. สัญญาประกันภัยเกิดขึ้นเมื่อใด
( ) ก. เมื่อผู้เอาประกันภัยได้รับกรมธรรม์ประกันภัยจากบริษัทประกันภัยแล้ว
( ) ข. เมื่อผู้เอาประกันภัยได้รับกรมธรรม์และชาระเบี้ยให้กับบริษัทแล้ว
( ) ค. เมื่อผู้เอาประกันภัยได้ชาระเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัทประกันภัยแล้ว
( ) ง. เมื่อบริษัทประกันภัยตกลงรับประกันภัย แม้มิได้มีลายลักษณ์อักษร
18. หากผู้เอาประกันภัยทาประกันภัยมาแล้วต้องการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย จะได้รับการ
คืนเบี้ยจากบริษัทประกันภัยอย่างไร
( ) ก. คืนตามอัตราที่ผู้รับประกันภัยกาหนด
( ) ข. คืนตามอัตราเบี้ยประกันภัยระยะสั้นหรือตามที่ระบุไว้ในเงื่อนไขกรมธรรม์
( ) ค. คืนโดยหักเบี้ยประกันสาหรับระยะเวลาที่กรมธรรม์มีผลบังคับแล้วออกตามส่วน
( ) ง. คืนตามการเฉลี่ย
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
19. การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนกระทาได้ด้วยวิธีใด
( ) ก. จ่ายเป็นตัวเงิน ( ) ข. จัดการหาของทดแทน
( ) ค. จัดซ่อมแซมให้กลับสู่สภาพเดิม ( ) ง. ถูกทุกข้อ
20. บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยจะควบรวมกับบริษัทประกันภัย
วินาศภัยอื่นได้หรือไม่
( ) ก. ได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากปลัดกระทรวงการคลัง
( ) ข. ได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน
( ) ค. ไม่ได้ เนื่องจากกฎหมายห้ามไว้
( ) ง. ได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
21. พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศ
ภัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 เป็นกฏหมายที่ตราขึ้นไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการกากับดูแลใคร
( ) ก. สาขาของบริษัทประกันวินาศภัย
( ) ข. บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย
( ) ค. ตัวแทนประกันวินาศภัย และนายหน้าประกันวินาศภัย
( ) ง. ถูกทุกข้อ
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
22. หลักทรัพย์ประกันที่บริษัทประกันภัยวางไว้กับนายทะเบียนมีวัตถุประสงค์ตามข้อใด
( ) ก. เพื่อเป็นหลักประกันแก่เจ้าหนี้ของบริษัทประกันภัย
( ) ข. เพื่อให้รัฐบาลยึดไปใช้หนี้ค่าภาษีอากร
( ) ค. เพื่อไว้ใช้จ่ายคืนผู้ถือหุ้นของบริษัทประกันภัยก่อนใครอื่น เมื่อผู้ถือหุ้นร้องขอ
( ) ง. เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ในอันที่จะได้รับชาระ
หนี้เมื่อบริษัทประกันภัยเลิกกิจการหรือล้มละลาย
23. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันวินาศภัย
( ) ก. บรรลุนิติภาวะ ( ) ข. มีภูมิลาเนาในประเทศไทย
( ) ค. ไม่เป็นตัวแทนประกันวินาศภัย ( ) ง. ถูกทุกข้อ
24. รัฐมนตรีมีอานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเมื่อปรากฏว่า
บริษัทประกันวินาศภัยกระทาการใด
( ) ก. ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยต่อไปจะทาให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เอา
ประกันภัยหรือประชาชน
( ) ข. หยุดประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร
( ) ค. ประวิงการจ่ายเงินที่ต้องใช้ตามกรมธรรม์ประกันภัย หรือประวิงการคืนเบี้ย
ประกันภัยที่ต้องจ่ายหรือคืนโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือจ่ายหรือคืนไปโดยไม่
สุจริต
( ) ง. ถูกทุกข้อ
คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย
25. นายหน้าประกันวินาศภัยที่ประสงค์จะยื่นคาขอต่อใบอนุญาต จะต้องยื่นคาขอต่อ
ใบอนุญาต ต่อผู้ใด
( ) ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
( ) ข. ปลัดกระทรวงพาณิชย์
( ) ค. นายทะเบียน
( ) ง. ปลัดกระทรวงการคลัง
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด
อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด

More Related Content

Featured

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
Skeleton Technologies
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
SpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Lily Ray
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
Rajiv Jayarajah, MAppComm, ACC
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
Christy Abraham Joy
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
Vit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
MindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
GetSmarter
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
Project for Public Spaces & National Center for Biking and Walking
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
DevGAMM Conference
 

Featured (20)

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 

อบรมสอบบัตรนายหน้าล่าสุด

  • 2. ระเบียบการสมัคร 1) สมัครผ่านเว็บไซส์ คปภ.  สมัครผ่าน http://www.oic.or.th/th/exambroker/index.php  กรอกข้อมูลครบถ้วน พิมพ์ใบแจ้งหนี้ ชาระค่าธรรมเนียมการสอบผ่านธนาคาร กรุงไทย ทุกสาขา ภายในวันเดียวกับที่สมัครสอบ **เพื่อมิให้สิทธิในการสารองที่นั่งถูกยกเลิก** 2) สมัครสอบรอบพิเศษ **ต้องผ่านการอบรมจาก บริษัทฯ**  ส่งข้อมูลการสมัครผ่าน แผนกการตลาด บริษัท ศรีกรุงโบรคเกอร์ จากัด  ส่งเอกสารการสมัครผ่าน สาขา ของ บริษัท ศรีกรุงโบรคเกอร์ จากัด ทุกสาขา การขอรับใบอนุญาตเอกสารประกอบคาขอรับใบอนุญาตประกอบด้วย 1) สาเนาบัตรประจาตัวประชาชน 2) สาเนาทะเบียนบ้าน 3) รูปถ่าย 1 นิ้ว จานวน 2 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน) 4) ค่าธรรมเนียมใบอนุญาต300 บาท ระเบียบการสอบ 1) **นาหลักฐานการชาระเงิน และ บัตรประจาตัวประชาชน มาแสดงในวันสอบ** - กรณีสมัครผ่านเว็บ คปภ. ต้องนาหลักฐานการชาระที่ได้ชาระผ่าน ธนาคารกรุงไทย มาแสดงด้วย - กรณีสมัครรอบพิเศษของบริษัทฯ ให้มารับหลักฐานการชาระเงินในวันจัดสอบ 2) ผู้สมัครสอบติดต่อเพื่อลงทะเบียนรับ user/password ณ สถานที่สอบล่วงหน้าก่อนสอบประมาณ 10 นาที 3) เมื่อกาหนดเวลาสอบผ่านไปแล้ว 15 นาที ผู้สมัครสอบไม่มีสิทธิเข้าห้องสอบ 4) แต่งกายสุภาพ
  • 3. หัวข้อวิชา จานวนข้อ เกณฑ์ 1. จรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัย 10 70% 2. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยประกันภัย 20 60% 3. พ.ร.บ.ประกันวินาศภัยพ.ศ.2535 ฉบับแก้ไข(2) พ.ศ.2551 20 4. ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประกันวินาศภัย/หลักประกันวินาศภัย 70 5. ประกันอัคคีภัย 6. ประกันภัยรถยนต์ 7. ประกันภัยทางทะเลและขนส่ง 8. ประกันภัยเบ็ดเตล็ด หัวข้อวิชา และเกณฑ์การสอบ 120 ข้อ
  • 5. ข้อที่ 1 : ประกอบธุรกิจด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต และไม่สนับสนุนการกระทาอันเป็น ความผิดตามกฎหมาย ผิดศีลธรรม และผิดจรรยาบรรณใดๆ ข้อที่ 2 : ปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม และยึดถือประโยชน์ของลูกค้าเป็นสาคัญ ข้อที่ 3 : ปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ และพัฒนาความรู้ความสามารถให้รองรับ ต่อการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจโดยตลอด ข้อที่ 4 : รักษาความลับของลูกค้าที่ตนได้ล่วงรู้มาจากการดาเนินธุรกิจอย่างดี และไม่ เปิดเผยแก่บุคคลภายนอกอื่นใด ยกเว้นเป็นการเปิดเผยตามหน้าที่ หรือตาม กฎหมาย ข้อที่ 5 : ประกอบธุรกิจโดยมีระบบการดาเนินงานที่เป็นมาตรฐาน มีการควบคุมที่ดี มีความโปร่งใสเพียงพอที่จะสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนได้ ข้อที่ 6 : ไม่ใช้ถ้อยคาหรือการแสดงออกในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์กิจการที่เกิน จริง หรือก่อให้เกิดความเข้าใจผิด
  • 6. 1. นายไมตรีเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยได้แนะนาให้นายไข่ทาประกันรถยนต์ประเภท 1 ทั้งที่ทราบว่ารถยนต์ของนายไข่เพิ่งเสียหายจากการเฉี่ยวชนต้นไม้ โดยไม่ได้แจ้งให้บริษัท ทราบว่ารถเพิ่งเกิดอุบัติเหตุมา ถามว่านายไมตรีเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ดีหรือไม่ ( ) ก. เป็นนายหน้าที่ไม่ดี เพราะการแนะนาเช่นนั้น เป็นการไม่ซื่อสัตย์ต่อบริษัท ( ) ข. เป็นนายหน้าที่ดี ที่พยายามช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน ( ) ค. เป็นนายหน้าที่ดี เพราะพยายามช่วยเหลือนายไข่และไม่ได้ปกปิดความจริง ( ) ง. เป็นนายหน้าที่ดี เพราะซื่อสัตย์ต่อบริษัทประกัน คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 7. คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย 2. ข้อใดที่นายหน้าประกันวินาศภัยควรปฏิบัติมากที่สุดในการขายประกันวินาศภัยตาม หลักจรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย ( ) ก. ลดเบี้ยประกันภัย เพื่อช่วยเหลือผู้เอาประกันภัยให้จ่ายเบี้ยประกันภัยน้อยลง ( ) ข. ช่วยเหลือผู้เอาประกันภัย ให้ได้ทาประกันวินาศภัย ( ) ค. แนะนาให้ผู้เอาประกันภัยทาประกันภัย โดยให้มีจานวนเงินเอาประกันวินาศ ภัยที่สูงมาก เพื่อจะได้ผลประโยชน์ที่สูง ( ) ง. ปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็นธรรม และให้บริการที่ดีอย่างสม่าเสมอ ชี้แจงให้ ผู้เอาประกันภัยทราบถึงสิทธิและหน้าที่ เงื่อนไขความคุ้มครองเพื่อรักษา ผลประโยชน์ของผู้เอาประกันภัย
  • 8. 3. นายมั่นเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ส่งงานให้กับบริษัทประกันวินาศภัย 3-4 บริษัท นาย มั่นทางานมาเป็นเวลานานและคงยึดมั่นในแบบประกันวินาศภัยเดิมที่เคยนาเสนอต่อผู้เอา ประกันภัย และคิดว่าแบบประกันวินาศภัยเดิมเพียงพอแล้วสาหรับทุกสภาวการณ์ จึงไม่ สนใจในการศึกษาแบบประกันวินาศภัยใหม่ๆ ดังนี้ ท่านเห็นว่าเหมาะสมหรือไม่ ( ) ก. ไม่เหมาะสม เพราะเป็นหน้าที่ของนายหน้าประกันวินาศภัยที่จะต้องศึกษาแบบ ประกันวินาศภัยใหม่ๆ เพื่อให้เหมาะสมกับสภาวะภัยที่เปลี่ยนแปลงไป และ สามารถแนะนาผู้เอาประกันภัยได้ ( ) ข. ไม่เหมาะสม เพราะนายหน้าประกันวินาศภัยจะต้องรู้ทุกเรื่อง ( ) ค. เหมาะสม เพราะแบบประกันวินาศภัยทุกแบบย่อมมีคุณภาพดีอยู่แล้ว ( ) ง. เหมาะสม เพราะแบบประกันวินาศภัยใหม่ๆ มักจะมีเบี้ยประกันภัยแพงกว่าเก่า คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 9. 4. นายเกมส์เป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ส่งงานให้กับบริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง ได้ชักชวน นายแพทย์ชัยทาประกันภัยความรับผิดต่อวิชาชีพ และเมื่อนายแพทย์ชัยตกลงทาประกัน ดังกล่าวและจ่ายเบี้ยประกันภัยไปแล้ว ปรากฎว่านายเกมส์ไม่ได้นาใบคาขอเอาประกันภัย และเบี้ยประกันภัยของนายแพทย์ชัยส่งบริษัทเพื่อออกกรมธรรม์ เมื่อนายแพทย์ชัยทวง ถามกรมธรรม์ประกันภัย นายเกมส์บอกว่าบริษัทกาลังดาเนินการอยู่ให้คอยไปอีกระยะ หนึ่งก่อนไม่ต้องเป็นห่วง ท่านคิดว่านายเกมส์ทาผิดจรรยาบรรณหรือไม่ ( ) ก. ไม่ผิด เพราะอย่างไรเสีย นายแพทย์ชัยก็ได้กรมธรรม์ฯอยู่ดี แม้จะช้าไปบ้าง ( ) ข. ผิด เพราะนายเกมส์ไม่มีความขยันในการให้บริการแก่ผู้เอาประกันภัย ( ) ค. ผิด เพราะนายเกมส์ไม่มีความซื่อสัตย์ต่อผู้เอาประกันภัยและบริษัทประกันภัย ( ) ง. ไม่ผิด เพราะนายแพทย์ชัยไม่ได้เสียประโยชน์ คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 10. 5. จากคากล่าวที่ว่า “นายหน้าประกันวินาศภัยที่ดีนั้น ควรปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างเป็ นธรรม ให้บริการที่ดีและสม่าเสมอแก่ผู้เอาประกันภัย โดยไม่มีความจาเป็ นต้องชี้แจงให้ผู้เอา ประกันภัยได้ทราบถึงสิทธิ หน้าที่และผลประโยชน์ที่ผู้เอาประกันภัยควรจะได้รับ” ท่านคิด ว่าคากล่าวข้างต้นนี้ถูกต้องหรือไม่ ( ) ก. ถูก การบริการที่ดีอย่างสม่าเสมอ ก็เพียงพอแล้วสาหรับการเป็นนายหน้า ประกันวินาศภัยที่ดี ( ) ข. ถูก เพราะสิทธิ หน้าที่ และผลประโยชน์ผู้เอาประกันภัยจะต้องศึกษาให้เข้าใจ ด้วยตนเองเท่านั้น ไม่จาเป็นที่นายหน้าประกันวินาศภัยต้องไปชี้แจงให้เข้าใจ ( ) ค. ผิด เพราะการให้คาชี้แจงแก่ผู้เอาประกันภัยได้ทราบถึงสิทธิ หน้าที่ และ ผลประโยชน์ที่ควรจะได้รับ เป็นการกระทาอีกอย่างหนึ่งที่นายหน้าประกัน วินาศภัยที่ดีควรจะกระทา ( ) ง. ไม่มีข้อใดถูก คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 11. 6. นายองอาจเป็ นนายหน้าประกันวินาศภัยได้ชักชวนนายโอ้อวด สามีของนางดวงใจ ทา ประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล จากข้อมูลในใบคาขอเอาประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล นาย องอาจทราบว่านายโอ้อวดไม่ได้ระบุให้นางดวงใจซึ่งเป็ นเพื่อนสนิทของตนเป็ นผู้รับ ประโยชน์ตามกรมธรรม์ แต่ได้ระบุให้นางสาวดวงตา ภรรยาน้อยเป็นผู้รับประโยชน์ นาย องอาจจึงได้นาเรื่องนี้ไปบอกให้นางดวงใจทราบ การกระทาของนายองอาจผิด จรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัยหรือไม่ ( ) ก. ไม่ผิด เพราะนางดวงใจเป็นภรรยาที่ถูกต้องตามกฎหมายของนายโอ้อวด การ เปิดเผยเรื่องดังกล่าวต่อนางดวงใจจึงไม่ใช่การเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก ( ) ข. ไม่ผิด เพราะนายหน้าประกันวินาศภัย ต้องมีความซื่อสัตย์ต่อเพื่อน และนาย โอ้อวดประพฤติผิดศีลธรรมอันดี ( ) ค. ผิด เพราะอาจทาให้เกิดปัญหาทะเลาะวิวาทขึ้นในครอบครัวของนายโอ้อวด ( ) ง. ผิด เพราะนาเรื่องซึ่งได้รับรู้จากใบคาขอเอาประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคล ซึ่งถือ เป็นความลับอันมิควรเปิดเผยของผู้เอาประกันภัยไปเปิดเผยต่อบุคคลภายนอก คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 12. 7. นายดอกรักเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยที่ส่งงานให้บริษัทประกันภัยแห่งหนึ่ง และทราบ ว่าสมุหบัญชีของบริษัทประกันภัยนี้ยักยอกเงินไปเล่นการพนันฟุตบอล นายดอกรักจึงได้ แจ้งเรื่องดังกล่าวแก่กรรมการบริษัท แต่เมื่อเวลาผ่านไปนาน สานักงานใหญ่ก็มิได้กระทา การอย่างใดแก่สมุหบัญชีคนนั้น นายดอกรักจึงได้นาเรื่องดังกล่าวไปแจ้งแก่นายไม้เมืองซึ่ง เป็นบุคคลภายนอก การกระทาของนายดอกรักผิดจรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัย หรือไม่ ( ) ก. ผิด เพราะเปิดเผยความลับของบริษัทประกันภัยต่อบุคคลภายนอก ( ) ข. ผิด เพราะทาให้บริษัทประกันภัยเสียประโยชน์ ( ) ค. ไม่ผิด เพราะสิ่งที่นายดอกรักพูดเป็นความจริง ( ) ง. ไม่ผิด เพราะนายดอกรัก พูดไปโดยมิได้ตั้งใจ คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 13. 8. ญาติของนางสมศรี มาขอให้นางสมศรีซึ่งเป็ นนายหน้าประกันวินาศภัยช่วยจัดหาแบบ กรมธรรม์ประกันอัคคีภัยสาหรับบ้านที่อยู่อาศัย นางสมศรีควรแนะนาให้ญาติทา ประกันภัยกับบริษัทประกันวินาศภัยแห่งใด ( ) ก. บริษัทประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองสูงสุดภายใต้เบี้ยประกันภัยที่กาหนด ( ) ข. บริษัทประกันภัยที่เป็นบริษัทลูกของธนาคารที่ให้ญาติของนางสมศรีกู้ซื้อบ้าน ( ) ค. บริษัทประกันภัยที่ให้ค่าตอบแทนนางสมศรีสูงที่สุด ( ) ง. บริษัทประกันภัยที่มีกาไรสุทธิในปีที่ผ่านมาสูงสุด คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 14. 9. การที่นายหน้าประกันวินาศภัยสามารถส่งงานได้หลายบริษัท จะมีผลดีต่อผู้เอาประกันภัย อย่างไร จงเลือกตอบข้อที่ถูกต้องมากที่สุด ( ) ก. ผู้เอาประกันภัยได้รับข้อมูลข่าวสารของบริษัทประกันภัย โดยที่นายหน้าประกัน วินาศภัยยังไม่ได้ศึกษาข้อมูลอย่างแท้จริง ( ) ข. ผู้เอาประกันภัยเกิดความเชื่อถือเพราะนายหน้าประกันวินาศภัยส่งงานกับ บริษัทประกันภัยที่มีชื่อเสียง ( ) ค. ผู้เอาประกันภัยได้รับการเสนอรูปแบบกรมธรรม์ประกันภัยที่หลากหลาย และ สามารถเลือกซื้อได้ตามความเหมาะสม ( ) ง. ผู้เอาประกันภัยมีความภูมิใจที่ได้ซื้อกรมธรรม์ประกันภัยกับนายหน้าประกัน วินาศภัยที่ส่งงานได้หลายบริษัท คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 15. 10. นายไก่เป็นนายหน้าประกันวินาศภัยมีการพัฒนาความรู้ต่างๆเกี่ยวกับการประกันวินาศภัย รวมทั้งมีการอบรมเทคนิคการขายประกันวินาศภัยอย่างสม่าเสมอ เพื่อที่จะนาความรู้ไปใช้ ในการให้คาแนะนาแก่ผู้เอาประกันภัยอย่างถูกต้อง ดังนั้นนายไก่ปฏิบัติตามหลัก จรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัยข้อใด ( ) ก. มีความซื่อสัตย์ต่อเพื่อนร่วมอาชีพ ( ) ข. หมั่นศึกษาหาความรู้ในวิชาชีพเพิ่มเติมอยู่เสมอ เพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถให้รองรับต่อการเปลี่ยนแปลงของธุรกิจ ( ) ค. ให้บริการที่ดีอย่างสม่าเสมอ ( ) ง. ประพฤติตนอยู่ในศีลธรรมประเพณีอันดีงาม คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 16. 11. นาย ก. เป็นนายหน้าประกันวินาศภัย นาย ก. ซึ่งเป็นคนที่มีความรู้ทางโหราศาสตร์เป็น อย่างดี ได้ให้คาแนะนาแก่ นายหน้าประกันวินาศภัยคนอื่นว่าควรที่จะหาความรู้เพิ่มเติม ทางโหราศาสตร์ เพราะสามารถจะนามาใช้ในการเพิ่มยอดขายได้ นาย ข. ซึ่งเป็นนายหน้า ประกันวินาศภัย จึงได้ไปเรียนวิชาโหราศาสตร์ตามคาแนะนาของนาย ก. ดังนั้น นาย ข. ปฏิบัติตามหลักจรรยาบรรณนายหน้าประกันวินาศภัยในข้อใด ( ) ก. หมั่นศึกษาหาความรู้ในวิชาชีพเพิ่มเติมอยู่เสมอ ( ) ข. ให้บริการที่ดีอย่างสม่าเสมอ ( ) ค. มีความซื่อสัตย์ต่อเพื่อนร่วมอาชีพ ( ) ง. ไม่มีข้อใดถูก คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 17. 12. นาย ก. ได้ขอเอาประกันภัยโรคมะเร็ง ผ่านนาย ข. นายหน้าประกันวินาศภัย แต่บริษัท ประกันวินาศภัยไม่รับเนื่องจากป่ วยเป็ นโรคร้ายแรง นาย ข. ได้บอกเรื่องนี้ต่อ บุคคลภายนอกทราบ ท่านว่า นาย ข. ผิดหลักจรรยาบรรณหรือไม่ ( ) ก. ไม่ผิด เพราะ นาย ก. ไม่ได้เป็นผู้เอาประกันภัย ( ) ข. ไม่ผิด เพราะเป็นความจริงหากเฝ้าดูใกล้ชิดก็รู้ว่าเป็นโรคร้ายแรง ( ) ค. ผิด เพราะทาให้นาย ก. เป็นที่รังเกียจต่อผู้ใกล้ชิด ( ) ง. ผิด เพราะเปิดเผยความลับของผู้เอาประกันภัย คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 18. 13. นาย ก. เป็นนายหน้าประกันวินาศภัย ได้เสนอขายประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคลให้แก่ นาย ข. พร้อมทั้งบอกกับ นาย ข. ว่าเบี้ยประกันภัยอุบัติเหตุส่วนบุคคล ที่ นาย ข. จ่าย สามารถนาไปหักลดหย่อนภาษีเงินได้ การกล่าวของ นาย ก. ผิดจรรยาบรรณ เพราะ ( ) ก. นาย ก. กล่าวเท็จเพื่อจูงใจให้ นาย ข. ทาประกันภัย ( ) ข. นาย ก. ไม่หมั่นศึกษาหาความรู้ในวิชาชีพ ( ) ค. ชี้แจงให้ นาย ข. ทราบในสิ่งที่ผิด ( ) ง. ถูกทุกข้อ คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 19. 14. นางสาว ก. ได้ทาประกันอุบัติเหตุส่วนบุคคลตามคาชักชวนของ นาย ข. ซึ่งเป็นนายหน้า ประกันภัยวินาศภัยของบริษัทแห่งหนึ่ง แต่ไม่ได้รับการบริการที่ดีจาก นาย ข. จึงได้ไป ปรึกษากับ นาย ค. ซึ่งเป็นนายหน้าของบริษัทประกันวินาศภัยอีกแห่งหนึ่ง โดย นาย ค. ได้ แนะนาให้ นางสาว ก. ยกเลิกกรมธรรม์ที่ทาไว้กับบริษัทเดิมแล้วมาทาประกันอุบัติเหตุ ส่วนบุคคลกับบริษัทใหม่ที่ นาย ค. เป็ นนายหน้าประกันวินาศภัยอยู่และได้เสนอที่จะ ให้บริการที่ดี ท่านคิดว่าข้อใดถูกต้องที่สุด ( ) ก. การกระทาของ นาย ข. ผิดจรรยาบรรณ ( ) ข. การกระทาของ นาย ค. ไม่ผิดจรรยาบรรณ ( ) ค. การกระทาของ นาย ค. ผิดจรรยาบรรณ ( ) ง. การกระทาของ นาย ข. และ นาย ค. ผิดจรรยาบรรณ คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 20. 15. นาย ก. เป็นนายหน้าประกันวินาศภัยพบ นาย ข. ซึ่งเป็นเพื่อนเก่าที่ไม่ได้พบกันหลายปีแล้ว นาย ข. ขอให้ นาย ก. จัดหาประกันอัคคีภัยใหม่กับโรงงานของตน ซึ่งจะครบกาหนดต่ออายุกรมธรรม์ ฉบับเก่าในอีก 30 วันข้างหน้า นาย ข. ทราบถึงอัตราค่าเบี้ยประกันว่าถ้ามีอุปกรณ์ป้องกันไฟไหม้ จะได้ส่วนลดจากบริษัทประกันวินาศภัย แต่โรงงาน นาย ข. ไม่ได้มีการติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันไฟ ไหม้แต่อย่างใด นาย ก. ต้องการช่วยเพื่อนและอยากได้ธุรกิจจากเพื่อน จึงทาเรื่องขอให้บริษัท ประกันวินาศภัย จ. พิจารณาอัตราค่าเบี้ยสาหรับโรงงาน นาย ข. โดยระบุว่ามีอุปกรณ์ป้องกันไฟ ไหม้ครบถ้วน บริษัทประกันวินาศภัย จ. เสนออัตราค่าเบี้ยประกันต่ากว่าบริษัทประกันภัยวินาศภัย เดิมที่ นาย ข. ใช้อยู่ นาย ข. จึงย้ายการทาประกันอัคคีภัยโรงงานของตนมาอยู่กับบริษัทประกัน วินาศภัย จ. แทน จากเหตุการณ์ นาย ก. บกพร่องในหลักจรรยาบรรณ ที่เกี่ยวกับการยึดถือ ประโยชน์ของลูกค้าเป็นสาคัญหรือไม่ อย่างไร ( ) ก. ไม่บกพร่อง เพราะทาให้ลูกค้าได้ส่วนลดจากอัตราค่าเบี้ยประกันภัยที่ถูกลงแล้ว ( ) ข. ไม่บกพร่อง เพราะบริษัทประกันวินาศภัย จ. ดีกว่าบริษัทประกันภัยเดิม ( ) ค. บกพร่อง เพราะไม่ได้ทาเรื่องขอให้บริษัทประกันวินาศภัย 2 รายขึ้นไปนาเสนอ ความคุ้มครอง มาให้พิจารณา ( ) ง. บกพร่อง เพราะบริษัทประกันวินาศภัยเดิม ดีกว่าบริษัทประกันวินาศภัย จ. คาถามวิชา จรรยาบรรณของนายหน้าประกันวินาศภัย
  • 22. ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 861 บัญญัติว่า “ อันว่าสัญญาประกันภัยนั้น คือ สัญญาซึ่งบุคคลหนึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือใช้เงินจานวนหนึ่งให้ ในกรณีวินาศภัยหากมีขึ้นหรือในเหตุอย่างอื่นในอนาคตดังได้ระบุไว้ในสัญญา และในการนี้บุคคลอีกคนหนึ่งตกลงจะส่งเงินซึ่งเรียกว่า เบี้ยประกันภัย ”
  • 23. คู่สัญญา มี 2 ฝ่าย  ผู้รับประกันภัย คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะใช้ค่าสินไหมทดแทนหรือใช้เงินจานวนหนึ่งให้  ผู้เอาประกันภัย คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะส่งเงินค่าเบี้ยประกันภัย บุคคลที่เกี่ยวข้องกับสัญญาประกันภัย มี 3 คน  ผู้รับประกันภัย  ผู้เอาประกันภัย  ผู้รับประโยชน์ (มีหรือไม่มีก็ได้)
  • 24. ลักษณะของสัญญาประกันภัย 1. เป็นสัญญาที่ไม่มีแบบ เกิดขึ้นและมีผลตามกฎหมาย โดยอาศัยคาเสนอ และสนองที่ต้องตรงกัน T. 2. เป็นสัญญาที่ต้องมีหลักฐานเป็นหนังสือ จึงจะฟ้องร้องบังคับคดีกันได้ 3. เป็นสัญญาต่างตอบแทน T. 4. เป็นสัญญาที่มีค่าตอบแทนไม่เท่าเทียมกัน 5. เป็นสัญญาเพื่อการเสี่ยงภัยหรือเสี่ยงโชค 6. เป็นสัญญาเพื่อการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน 7. เป็นสัญญาที่อาศัยเหตุการณ์ในอนาคตอันไม่แน่นอน 8. เป็นสัญญาเพื่อประโยชน์แก่บุคคลภายนอก
  • 25. โมฆียะกรรม (มาตรา 865) “ ถ้าในเวลาทาสัญญาประกันภัย ผู้เอาประกันภัยก็ดีหรือในกรณีประกันชีวิต บุคคลอันการ ใช้เงินย่อมอาศัยความทรงชีพหรือมรณะของเขานั้นก็ดี รู้อยู่แล้วละเว้นเสียไม่เปิดเผยข้อความ จริงซึ่งอาจจะได้จูงใจผู้รับประกันภัยให้เรียกเก็บเบี้ยสูงขึ้นอีก หรือให้บอกปัดไม่ยอมทาสัญญา หรือว่ารู้อยู่แล้วแถลงข้อความนั้นเป็นความเท็จไซร้ ท่านว่าสัญญานั้นเป็นโมฆียะ ถ้ามิได้ใช้สิทธิ บอกล้างภายในกาหนดเดือนหนึ่งนับแต่วันที่ผู้รับประกันภัยทราบมูลอันจะบอกล้างได้ก็ดี หรือ มิได้ใช้สิทธินั้นภายในกาหนดห้าปีนับแต่วันทาสัญญาก็ดี ท่านว่าสิทธินั้นเป็นอันระงับสิ้นไป ” T. สรุป โมฆียะกรรมหมายถึง การกระทาที่ใช้บังคับได้ตามกฎหมาย จนกว่าจะถูกบอกล้าง โดยการบอกล้างต้องกระทาภายใน 1 เดือนนับแต่ทราบข้อมูลอันบอกล้างได้ สัญญาประกันภัยค้าจุน (มาตรา 887) สัญญาซึ่งผู้รับประกันภัยตกลงว่าจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อวินาศภัยอันเกิดแก่บุคคล อีกคนหนึ่งในนามของผู้เอาประกัน (T. คุ้มครองความรับผิดของผู้เอาประกันที่มีต่อบุคคลภายนอกตามกฎหมาย)
  • 26. วัตถุที่เอาประกันภัยได้ คือ (T. ประกันภัยโดยทั่วไปแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ?) 1. บุคคล 2. ทรัพย์สิน 3. ความรับผิดตามกฎหมาย กรมธรรม์ประกันภัย (มาตรา 867) T.  เป็นหลักฐานแห่งสัญญาประกันภัย ต้องมีเนื้อความต้องตามสัญญาประกันภัย (หากไม่มี หลักฐาน ฟ้องร้องไม่ได้)  ผู้รับประกันภัยต้องส่งมอบกรมธรรม์ให้แก่ผู้เอาประกันภัย แม้ผู้เอาประกันภัยจะไม่ร้องขอ  กรมธรรม์ประกันภัย ต้องระบุ “ วันทาสัญญา ” หมายถึง วันที่สัญญาประกันภัยเกิดขึ้น  กรมธรรม์ประกันภัย ต้องลงลายมือชื่อของผู้รับประกันภัย รายการที่ต้องมีเสมอในกรมธรรม์ 3 สิ่ง T.  ชื่อผู้เอาประกันภัย  ชื่อผู้รับประกันภัย  วัตถุที่เอาประกันภัย
  • 27. บุคคลผู้มีสิทธิได้รับค่าสินไหมทดแทนตามกฎหมาย - ผู้เอาประกันภัย - ผู้รับประโยชน์ - ผู้เสียหาย Question : นาย ส. เช่าตึก 2 ชั้นมีมูลค่า 1,200,000 บาท ในราคาเดือนละ 10,000 บาท โดยนาย ส.ผู้เช่าได้ทา ประกันอัคคีภัยตึกที่เช่านี้กับบริษัท A 800,000 บาท อีก 1 เดือนทาประกันภัยตัวตึกกับบริษัท B อีก 400,000 บาท รวมทั้งเฟอร์นิเจอร์ในวงเงิน 100,000 บาท โดยทั้ง 2 กรมธรรม์ระบุนาย ส. เป็นผู้เอาประกันภัยและผู้รับประโยชน์ ต่อมาเกิดไฟฟ้าลัดวงจรไฟไหม้ตึกเสียหาย 200,000 บาท เฟอร์นิเจอร์เสียหาย 20,000 บาท นาย ส.จะได้รับค่า สินไหมทดแทนอย่างไร Answer : - ตัวอาคารไม่คุ้มครองเนื่องจากนาย ส.ไม่มีส่วนได้เสียในตัวตึก เพราะเป็นเพียงผู้เช่า - ส่วนทรัพย์สินที่เสียหาย บริษัทจะจ่ายค่าสินไหมให้ 20,000 บาท(ตามความเสียหายที่แท้จริงและ ไม่เกินทุนประกัน) เนื่องจากเป็นทรัพย์สินของนาย ส. ผู้มีส่วนได้เสียในกรมธรรม์ T.  บุคคลที่เป็นทายาทโดยธรรม ของผู้เอาประกันภัย  บุคคลที่ได้รับความเสียหายจากการเอาประกันภัย  บุคคลที่ได้รับความเสียหายจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
  • 28. การสิ้นผลบังคับของสัญญาประกันภัย  ผู้เอาประกันภัยบอกเลิก : คืนเบี้ยแบบระยะสั้น Short Rate  ผู้รับประกันภัยบอกเลิก : คืนเบี้ยตามสัดส่วน Pro rata กฏหมายเกี่ยวกับการประกันภัยมีความเกี่ยวข้องกับกฎหมายละเมิดมากที่สุด (T.) อายุความฟ้องร้องตามสัญญาประกันวินาศภัย = 2 ปี (ม.882) กรณีที่บริษัทจะไม่จ่ายค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันภัย (ม.879) (T.)  ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงหรือทุจริต  ความไม่สมประกอบในเนื้อวัตถุที่เอาประกันภัย เช่น อาคารถล่ม เนื่องจากสัดส่วนปูน ไม่ได้มาตรฐาน (T. ตัวอย่างความไม่สมประกอบในเนื้อวัตถุที่เอาประกัน คือข้อใด?)  ผู้เอาประกันภัยจะได้รับการชดใช้ตามจานวนที่ตนได้รับความเสียหายจริง  ผู้รับประกันภัยจะต้องทาการชดใช้โดยแบ่งตามสัดส่วนที่ตนได้รับประกันไว้ (กรณีทาพร้อมกัน)  ผู้รับประกันภัยจะต้องทาการชดใช้ก่อนหลังตามลาดับวันเวลาการรับประกัน (กรณีทาสืบเนื่อง) สัญญาประกันภัยซ้าซ้อน (ที่ถือว่าทาพร้อมกัน หมายถึง ทาวันเดียวกัน (ม.870))
  • 29. พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2558 พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551
  • 30. “ ผู้รักษาการ ” (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง) “ นายทะเบียน ” (เลขาธิการคณะกรรมการ คปภ. หรือ ผู้ซึ่งเลขาธิการฯ มอบหมาย) “ คณะกรรมการ คปภ. ” - การให้ / ควบรวม / เพิกถอนใบอนุญาต ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย - การแต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. ประกันวินาศภัย - กาหนดหลักสูตรการสอบ/อบรมเพื่อขอรับ ใบอนุญาตตัวแทน/นายหน้า - พิจารณาอุทธรณ์เมื่อตัวแทน / นายหน้าถูก เพิกถอนใบอนุญาต - กาหนดแบบของสมุดทะเบียน / สมุดบัญชี ของนายหน้านิติบุคคล - กาหนดให้บริษัทจัดสรรเงินสารองต่างๆ - กาหนดให้เบี้ยประกันไปลงทุนธุรกิจใดได้ - กาหนดหลักเกณฑ์เรื่องการประวิงการจ่าย ค่าสินไหมทดแทน จัดตั้ง / ควบรวม เป็นอำนำจหน้ำที่ของ รมว.คลัง โดยอนุมัติ ครม.
  • 31. เพื่อควบคุม  บริษัทประกันภัย (INSURANCE COMPANY) o บริษัทมหาชนจากัด o สาขาของบริษัทประกันภัยต่างประเทศ  ตัวแทน (AGENT)  นำยหน้ำ (BROKER) วัตถุประสงค์ในกำรออกพรบ.ประกันวินำศภัย
  • 32. คำนิยำม “ บริษัท ” บริษัทมหาชนจากัดที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย รวมถึงสาขาของบริษัท ประกันวินาศภัยต่างประเทศที่ได้รับใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยในราชอาณาจักร กำรขอใบอนุญำตประกอบธุรกิจของบริษัทประกัน  บริษัทต้องยื่นคาขอรับใบอนุญาตต่อรัฐมนตรีกระทรวงการคลังโดยอนุมัติ คณะรัฐมนตรี โดยพ.ร.บ.กาหนดให้บริษัท 1. ต้องวางหลักทรัพย์ประกันไว้กับนายทะเบียนตามจานวนที่กาหนดเพื่อเป็นหลักประกัน ให้แก่ผู้เอาประกันภัย เมื่อบริษัทเลิกกิจการ(หากหลักทรัพย์ไม่พอ ต้องเพิ่มภายใน 2 เดือน) 2. ดารงไว้ซึ่งเงินกองทุน (กองทุนขาด ต้องเสนอโครงการภายใน 30 วัน)สัดส่วนจำนวนหุ้น  บริษัทต้องมีจานวนหุ้นที่บุคคลผู้มีสัญชาติไทยถืออยู่ไม่ต่ากว่าร้อยละ 75 และ ต้องมีกรรมการเป็นบุคคลซึ่งมีสัญชาติไทยไม่ต่ากว่า 3 ใน 4 ของจานวนกรรมการทั้งหมด  หำกมีเหตุสมควร อาจให้ชาวต่างชาติถือหุ้นได้ถึง 49% และให้มีกรรมการที่เป็น ชาวต่างชาติได้เกิน 1 ใน 4 แต่ไม่ถึงกึ่งหนึ่งของจานวนกรรมการทั้งหมด
  • 33. คำนิยำม “ ตัวแทนประกันวินำศภัย ” ผู้ซึ่งบริษัทมอบหมายให้ทาการชักชวนให้บุคคลทาสัญญาประกันภัยกับบริษัท คำนิยำม “ นำยหน้ำประกันวินำศภัย ” ผู้ชี้ช่องหรือจัดการให้บุคคลทาสัญญาประกันภัยกับบริษัท โดยกระทาเพื่อบาเหน็จเนื่องจาก การนั้น  การรับชาระเบี้ยประกันภัย ตัวแทน : สามารถรับชาระเบี้ยประกันภัยได้โดยไม่ต้องมีหนังสือมอบอานาจรับเบี้ยประกันภัย นายหน้า / พนักงานเก็บเงินของบริษัทประกัน : ต้องได้รับมอบอานาจเป็นหนังสือจากบริษัท ก่อน ถึงจะรับเบี้ยประกันภัยได้  การทาสัญญาประกันภัย ตัวแทน / นายหน้า : จะเข้าทาสัญญาประกันวินาศภัยในนามบริษัทประกันภัยได้ ต้องได้รับมอบ อานาจเป็นหนังสือจากบริษัทก่อน
  • 34. คุณสมบัติการเป็นตัวแทน / นายหน้าประกันวินาศภัย 1) บรรลุนิติภาวะ 2) มีภูมิลาเนาในประเทศไทย 3) ไม่เป็นคนวิกลจริตหรือจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ 4) ไม่เคยต้องโทษจาคุกโดยคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุกในความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ที่กระทา โดยทุจริต เว้นแต่ได้พ้นโทษมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต 5) ไม่เป็นบุคคลล้มละลาย 6) ไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นตัวแทนประกันวินาศภัยหรือใบอนุญาต เป็นนายหน้าประกันวินาศภัยในระยะเวลา 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต
  • 35. นายหน้าแบ่งเป็น 2 ประเภท  นายหน้าบุคคลธรรมดา (คุณสมบัติคล้ายกับตัวแทนประกันวินาศภัย)  นายหน้านิติบุคคล  ต้องมีสานักงานใหญ่ในประเทศไทย  ต้องมีพนักงาน / ลูกจ้าง ที่ได้รับใบอนุญาตนายหน้าอย่างน้อย 5 คน  นิติบุคคลนั้นต้องไม่เคยถูกเพิกถอนใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยในระยะ เวลา 5 ปีก่อนวันขอรับใบอนุญาต ใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันวินาศภัยสิ้นสุดเมื่อ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการ / ผู้จัดการ / พนักงาน / ลูกจ้างบริษัทประกันวินาศภัย  ใบอนุญำตนำยหน้ำประกันวินำศภัยมีกำหนดอำยุ 1 ปีนับแต่วันที่ออกใบอนุญำต  ต่ออำยุ 1 ปี 2 ครำวแล้ว ครำวต่อไปจะเป็นแบบ 5 ปี (ไม่มีใบอนุญำตแบบตลอดชีพ)  กำรต่ออำยุบัตรสำมำรถต่ออำยุล่วงหน้ำภำยใน 2 เดือนหรือไม่เกินวันที่บัตรหมดอำยุ  บุคคลที่มีอำนำจเพิกถอนใบอนุญำตตัวแทน / นำยหน้ำคือ นำยทะเบียน (หำกไม่พอใจสำมำรถ อุทธรณ์คำสั่งนำยทะเบียนต่อคณะกรรมกำร คปภ.ได้ภำยใน 15 วัน)
  • 36. บทกาหนดโทษสาหรับบริษัทประกันภัย  ไม่เกิน 300,000 บาท - ฝ่าฝืนเรื่องการออกกรมธรรม์ประกันภัย หรือเอกสารประกอบหรือแนบท้ายประกันภัย - กาหนดอัตราเบี้ยประกันภัยโดยฝ่าฝืน  ไม่เกิน 500,000 บาท - ประวิงการจ่ายค่าสินไหมทดแทน / ประวิงการคืนเบี้ยโดยไม่มีเหตุอันสมควร (ถ้าเป็นการกระทาความผิดต่อเนื่อง ให้ปรับอีกไม่เกินวันละ 20,000 บาทตลอดเวลาที่ฝ่าฝืน)
  • 37. บทกาหนดโทษสาหรับตัวแทน / นายหน้าประกันวินาศภัย  จาคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ - กรณีกระทาการเป็นตัวแทน/นายหน้าโดยไม่ได้รับใบอนุญาต  จาคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ) - กรณีตัวแทน / นายหน้า / พนักงานบริษัทเข้าทาสัญญาประกันภัย - กรณีนายหน้า / พนักงานบริษัทรับเบี้ยโดยไม่ได้รับหนังสือมอบอานาจจากบริษัท  ปรับไม่เกิน 30,000 บาท - กรณีนายหน้าไม่แสดงใบอนุญาตเมื่อชี้ช่อง - กรณีนายหน้าไม่แสดงหนังสือมอบอานาจรับเบี้ยประกันภัยจากบริษัท/ไม่ออกเอกสารรับเงินของบริษัท (จำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกิน 30,000 บำท หรือทั้งจำทั้งปรับ หำกทำให้เกิดควำมเสียหำยแก่บริษัท/ผู้เอำประกันภัย)  ปรับไม่เกิน 50,000 บาท - กรณีนายหน้าไม่ลงรายการในสมุดทะเบียนภายใน7วัน (นายหน้าต้องเก็บรักษาสมุดทะเบียน/บัญชีไว้ที่สานักงานไม่น้อยกว่า 5 ปีนับแต่วันลงรายการครั้งสุดท้าย)
  • 38. หลักการประกันภัย  หลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัย (Insurable Interest)  หลักสุจริตต่อกันอย่างยิ่ง (Utmost Good Faith) ***  หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเป็นจริง (Indemnity)  หลักการรับช่วงสิทธิ์ (Subrogation) ***  หลักการเฉลี่ย (Contribution) ***  หลักสาเหตุใกล้ชิด (Proximate Cause)
  • 39. หลักส่วนได้เสียในเหตุที่เอาประกันภัย ส่วนได้เสียที่อาจเอาประกันภัยได้กล่าวคือ ผู้เอาประกันภัยจะต้องมีกรรมสิทธิ์ สิทธิ ประโยชน์หรือความรับผิดตามกฎหมายในวัตถุที่เอาประกันภัย ในขณะที่ทาสัญญา ดังนั้น หากในระหว่างสัญญาประกันภัย การเสี่ยงภัยได้หมดไปหรือได้มีการโอนวัตถุที่ เอาประกันภัยไปให้ผู้อื่นแล้ว ส่วนได้เสียในเหตุประกันภัยนั้นก็จะหมดไปด้วย ซึ่งจะทาให้สัญญา ประกันภัยนั้นไม่มีผลผูกพันกับผู้ที่ไม่มีส่วนได้เสียในเหตุประกันภัยนั้นอีกต่อไป ป.พ.พ. มาตรา 863 “ อันสัญญาประกันภัยนั้น ถ้าผู้เอาประกันภัยมิได้มีส่วนได้เสียในเหตุที่ ประกันภัยไว้นั้นไซร้ ท่านว่าย่อมไม่ผูกพันคู่สัญญาแต่อย่างหนึ่งอย่างใด ”
  • 40. หลักสุจริตต่อกันอย่างยิ่ง  การเปิดเผยข้อความจริง  การไม่แถลงข้อความเท็จ  การปฏิบัติตามข้อรับรอง (Warranties) หมายถึง การที่ผู้เอาประกันภัยให้คารับรองต่อผู้รับประกันภัยว่า ผู้เอาประกันภัย จะต้องกระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งหรือไม่กระทาการอย่างใดอย่างหนึ่งเพื่อประโยชน์ใน การเสี่ยงภัยของผู้รับประกันภัย การไม่ปฏิบัติตามคารับรองมีผลเป็นการปฏิบัติผิดเงื่อนไขอันเป็นสาระสาคัญของ สัญญาประกันภัย ผู้รับประกันภัยมีสิทธิปฏิเสธความรับผิดตามสัญญาได้ (T. หลักสุจริตใจอย่างยิ่งเป็นหลักที่ใช้บังคับกับฝ่ายใด? ทั้งผู้เอาประกันและผู้รับประกันภัย) (T. หลักสุจริตต่อกันอย่างยิ่งตามกฎหมายประกันภัย หมายถึงการกระทาของผู้ใด? ผู้เอาประกันภัย) ฝ่าฝืน = โมฆียะ (T.)
  • 41. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามความเป็นจริง หลักการนี้เพื่อป้องกันมิให้ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ได้รับกาไร จากการประกันภัย โดยจะยึดหลักเพื่อให้ผู้เอาประกันกลับคืนสู่สถานะเดิม โดยเร็วที่สุด ซึ่งมีวิธีการทั่วไปสาหรับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนดังนี้  การจ่ายเป็นตัวเงิน (Cash Payment) : กรณีเสียหายโดยสิ้นเชิง (วิธีที่ง่ายที่สุด)  การซ่อมแซม (Repair) : กรณีเสียหายบางส่วน ยังสามารถซ่อมแซมได้  การหาของมาทดแทน (Replacement) : กรณีซ่อมไม่ได้ (ใช้กับ สังหาริมทรัพย์)  การทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิม (Reinstatement) : ซ่อมไม่ได้ สร้างให้ใหม่ (T. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันวินาศภัย คือ ชดใช้ตามความเสียหายที่ แท้จริง แต่ไม่เกินกว่าจานวนเงินเอาประกันภัย)
  • 42. หลักการรับช่วงสิทธิ์ หลักการนี้ให้สิทธิแก่ผู้รับประกันภัยไปเรียกร้องค่าเสียหายคืนจากผู้ทาละเมิด โดยผู้รับประกันภัยจะรับช่วงสิทธิ์เกินกว่าจานวนที่ได้จ่ายค่าสินไหมทดแทนไปไม่ได้ • การรับช่วงสิทธิ์จะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อเป็นวินาศภัยที่เกิดขึ้นจากการกระทาของมนุษย์เท่านั้น • หลักการรับช่วงสิทธิ์เป็นหลักที่ใช้เฉพาะการประกันวินาศภัยเท่านั้น ไม่สามารถนาไปใช้กับ การประกันชีวิตได้ (T.) • การรับช่วงสิทธิ์ในการเรียกร้องค่าสินไหมทดแทน เป็นสิทธิและหน้าที่ของผู้รับประกันภัย (T.)
  • 43. หลักการร่วมชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (หลักการเฉลี่ย) หลักการนี้มีความมุ่งหมายเพื่อให้ผู้รับประกันภัยในวัตถุที่เอาประกันภัย อันเดียวกันต้องรับผิดในส่วนความเสียหายที่ตนมีอยู่ตามอัตราส่วนที่ตนได้รับ ประกันภัยไว้ (T.) หลักการเฉลี่ยจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อครบองค์ประกอบดังต่อไปนี้ : • มีกรมธรรม์สองฉบับหรือมากกว่านั้น • ให้ความคุ้มครองภัยชนิดเดียวกัน • มีวัตถุที่เอาประกันภัยเดียวกัน T. สัญญาประกันภัยซ้าซ้อน ที่ถือว่าทาพร้อมกันหมายถึง สัญญาที่ทาวันเดียวกัน
  • 44. หลักสาเหตุใกล้ชิด สาเหตุใกล้ชิด คือ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นต่อเนื่องไม่ขาดตอน และเป็น ผลโดยตรงจากภัยที่ได้ระบุไว้ในสัญญาประกันภัย สาระสาคัญของหลักสาเหตุใกล้ชิด มีดังนี้ : • ต้องมีภัยที่รับประกันภัยไว้เกิดขึ้นจริง • ความเสียหายที่เกิดขึ้นกับวัตถุที่เอาประกันภัยเป็นผลโดยตรงจากภัยที่ระบุไว้ในสัญญา ประกันภัย • เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นนั้นต่อเนื่องกันโดยไม่ขาดตอน (T.ลักษณะสาคัญของสาเหตุใกล้ชิด)
  • 45. ความเสี่ยงภัย T. คือ โอกาส / ความเป็นไปได้ที่จะเกิดเหตุการณ์อย่างใดอย่างหนึ่งที่ ไม่แน่นอนขึ้นในอนาคตและจะนามาซึ่งความเสียหายทางเศรษฐกิจ ประเภทของความเสี่ยงภัย  ความเสี่ยงภัยที่แท้จริง (Pure Risk) * Ex : การเสี่ยงภัยจากน้าท่วมบ้าน T.  ความเสี่ยงภัยจาเพาะ (Particular Risk)  ความเสี่ยงภัยคงที่ (Static Risk)  ความเสี่ยงภัยที่เอาประกันภัยได้ (Insurable Risk)
  • 46. ภัย (Peril) สาเหตุที่ทาให้เกิดความเสียหาย สาเหตุที่ทาให้เกิดความเสียหายแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ :  สาเหตุความเสียหายจากธรรมชาติ (Natural Perils) เช่น ไฟไหม้ ฟ้าผ่า แผ่นดินไหว  สาเหตุความเสียหายจากบุคคล (Human Perils) การกระทาของมนุษย์ เช่น การลอบวางเพลิง การโจรกรรม  สาเหตุความเสียหายจากเศรษฐกิจ (Economic Perils) เช่น เงินเฟ้อ การเปลี่ยนรสนิยมของประชาชน
  • 47. สภาวะภัย (Hazard) สภาวะที่อาจเพิ่มระดับความรุนแรงของความเสียหายให้มากขึ้น หรือเพิ่มโอกาสที่จะเกิดความเสียหายให้บ่อยขึ้น หรือลดน้อยลง สภาวะภัยแบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท :  สภาวะภัยทางด้านกายภาพ (Physical Hazard) เช่น ประเภทสิ่งปลูกสร้าง (ไม้/ครึ่งตึกครึ่งไม้), ที่ตั้งของทรัพย์สิน(ชุมชนแออัด)  สภาวะภัยทางด้านศีลธรรม / คุณธรรม (Moral Hazard) เช่น กระทาโดยทุจริตเพื่อหวังค่าสินไหมทดแทน(วางเพลิงทรัพย์สินตนเอง) T.  สภาวะภัยทางจริยธรรม / อุปนิสัย (Morale Hazard) เช่น การกระทาที่ไม่เจตนา แต่ประมาทเลินเล่อ ขาดความระมัดระวังในการ ป้องกัน(ไม่ล็อครถ, สูบบุหรี่บนที่นอน)
  • 48. 1. กลุ่มวิธีการด้านการควบคุมความเสี่ยงภัย (Risk Control) 1.1 การหลีกเลี่ยงความเสี่ยงภัย 1.2 การป้องกันการเกิดความเสียหาย 1.3 การบรรเทาความเสียหาย 1.4 การแยกภัย 1.5 การทาสาเนา การจัดการความเสี่ยงภัย
  • 49. การจัดการความเสี่ยงภัย(ต่อ) 2. กลุ่มวิธีการด้านการจัดการทางการเงินสาหรับความเสี่ยงภัย (Risk Financing) 2.1 การรับเสี่ยงภัยไว้เอง 2.2 การโอนความเสี่ยงภัย 2.3 Combination Techniques คือ การโอนภาระความเสี่ยงใน รูปแบบประกันภัย และ การรับความเสี่ยงภัยไว้เองบางส่วน
  • 50.  ความคุ้มครองแบบระบุภัย (Named Perils) ระบุสิ่งที่ให้ความคุ้มครองไว้โดยแจ้งชัด วิธีการเขียนระบุความคุ้มครองในกรมธรรม์ประกันวินาศภัย  ความคุ้มครองแบบสรรพภัย (All Risks) ระบุสิ่งที่ไม่ให้ความคุ้มครองไว้โดยแจ้งชัด “ บริษัทจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเพื่อความสูญเสียของเงินขณะที่ทาการขนส่งโดย พนักงานรับ-ส่งเงินอันเกิดจากการชิงทรัพย์ปล้นทรัพย์หรือความพยายามกระทาการดังกล่าว ” “ ภายใต้ข้อบังคับของข้อตกลงคุ้มครอง เงื่อนไขทั่วไปข้อกาหนด ข้อยกเว้น และเอกสารแนบท้าย แห่งกรมธรรม์ประกันภัย บริษัทประกันภัยให้ความคุ้มครองความสูญหายหรือเสียหายทางกายภาพ ของทรัพย์สินที่เอาประกันภัยโดยอุบัติภัยใดๆที่มิได้ระบุข้อยกเว้นไว้ในกรมธรรม์ประกันภัย ” เช่น กรมธรรม์ประกันอัคคีภัย, กรมธรรม์ประกันภัยโจรกรรม เช่น กรมธรรม์ประกันภัยการปฏิบัติงานตามสัญญา, กรมธรรม์ประกันความเสี่ยงภัยทุกชนิด
  • 51. การเอาประกันภัยสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริง คือ การที่ผู้เอาประกันภัยกาหนดจานวนเงินเอาประกันภัยสูงกว่ามูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการประกันภัย การเอาประกันภัยต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริง คือ การที่ผู้เอาประกันภัยกาหนดจานวนเงินเอาประกันภัยต่ากว่ามูลค่าที่แท้จริงของทรัพย์สิน ความรับผิดส่วนแรก (Deductible / Excess) T. คือ จานวนเงินค่าสินไหมทดแทนส่วนแรก ที่ผู้เอาประกันภัยต้องรับผิดชอบเอง อนุญาโตตุลาการ คือ ผู้พิจารณาชี้ขาดข้อพิพาทระหว่างผู้เอาประกันภัย และ/หรือผู้เสียหายกับผู้รับประกันภัย
  • 53. การประกันภัยต่อ (Reinsurance) การที่ผู้รับประกันภัยแบ่งภาระด้านความเสี่ยงภัยไปให้แก่ ผู้รับประกันภัยอื่นอีกทอดหนึ่ง เป็นวิธีการกระจายการเสี่ยงภัยของบริษัทผู้รับประกันภัยวิธีหนึ่ง เนื่องจากบริษัทมี ขีดความสามารถในการรับความเสี่ยงภัยไว้เองที่จากัดจึงจาเป็นต้องกระจายการเสี่ยงภัยส่วนที่ เกินจากขีดความสามารถของตนไปให้กับผู้รับประกันภัยรายอื่นซึ่งเรียกว่า บริษัทผู้รับประกันภัยต่อ (Reinsurer) - Facultative Reinsurance เป็นประกันภัยต่อที่เก่าแก่มากที่สุด
  • 54. การประกันวินาศภัยในประเทศไทยแบ่งเป็น 4 ประเภท  ประกันภัยรถยนต์  ประกันอัคคีภัย  ประกันภัยทางทะเล(มารีน)และขนส่ง  ประกันภัยเบ็ดเตล็ด ภาคสมัครใจ : ค่าบาเหน็จสูงสุด ไม่เกินร้อยละ 18 ภาคบังคับ : ค่าดาเนินการสูงสุดไม่เกินร้อยละ 12 ค่าบาเหน็จสูงสุด ไม่เกินร้อยละ 23 ค่าบาเหน็จสูงสุด ไม่เกินร้อยละ 13 ค่าบาเหน็จสูงสุด ไม่เกินร้อยละ 18
  • 55. คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 1. คู่สัญญาฝ่ายซึ่งตกลงจะส่งเบี้ยประกันภัย ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ เรียกว่า อย่างไร ( ) ก. ผู้รับประโยชน์ ( ) ข. ผู้เอาประกันภัย ( ) ค. ผู้รับประกันภัย ( ) ง. ถูกทุกข้อ 2. คากล่าวที่ว่า สัญญาประกันภัยเป็นสัญญาต่างตอบแทน ถูกต้องหรือไม่ ( ) ก. ไม่ถูกต้อง เพราะเป็นหน้าที่ฝ่ายเดียวของผู้รับประกันภัยที่จะต้องจ่ายค่าสินไหม ทดแทน ( ) ข. ถูกต้อง เพราะผู้รับประกันภัยมีหน้าที่จ่ายค่าสินไหมทดแทน และผู้เอา ประกันภัยมีหน้าที่จ่ายเบี้ยประกันภัย ( ) ค. ไม่ถูกต้อง เพราะเป็นสัญญาฝ่ายเดียว ( ) ง. ไม่ถูกต้อง เพราะเป็นสัญญาระหว่างผู้รับประกันภัย ผู้เอาประกันภัยและผู้รับ ประโยชน์
  • 56. 3. เมื่อผู้เอาประกันภัยและผู้รับประกันภัยตกลงทาสัญญาประกันภัยแล้ว ผู้รับประกันภัย จะต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัยหรือไม่ ( ) ก. ต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยให้ ถ้าผู้เอาประกันภัยร้องขอ ( ) ข. ต้องส่งมอบกรมธรรม์ประกันภัยให้ แม้ผู้เอาประกันภัยจะไม่ร้องขอ ( ) ค. จะต้องส่งมอบให้หรือไม่ ย่อมแล้วแต่ผู้รับประกันภัย ( ) ง. จะส่งมอบให้หรือไม่ก็ได้ เนื่องจากกฎหมายไม่ได้บังคับไว้ คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 4. บุคคลใดมีหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามกฎหมาย ( ) ก. ผู้รับประกันภัย ( ) ข. ตัวแทนประกันภัย ( ) ค. ผู้รับประโยชน์ ( ) ง. นายหน้าประกันภัย 5. กรณีใดบ้างต่อไปนี้ที่สัญญาประกันภัยไม่คุ้มครอง ( ) ก. ผู้เอาประกันภัยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ( ) ข. ผู้เอาประกันภัยทุจริต ( ) ค. ผู้เอาประกันภัยไม่ชาระเบี้ยประกันภัย ( ) ง. ถูกทั้งข้อ ก. และ ข.
  • 57. 6. หลักการชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามสัญญาประกันวินาศภัย คือข้อใด ( ) ก. ชดใช้ตามความเสียหายที่แท้จริง ( ) ข. ชดใช้ตามความเสียหายที่แท้จริง แต่ไม่เกินกว่าจานวนเงินเอาประกันภัย ( ) ค. ชดใช้เป็นเงินจานวนแน่นอนตามจานวนเงินซึ่งเอาประกันภัยไว้ ( ) ง. ชดใช้ตามที่ผู้รับประกันภัยเห็นสมควร คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 7. นายหน้าประกันวินาศภัยประเภทนิติบุคคล ไม่ลงรายการในสมุดทะเบียนและสมุดบัญชี ตามที่นายทะเบียนกาหนด ต้องระวางโทษปรับ.... ( ) ก. ไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท ( ) ข. ไม่เกินสองหมื่นบาท ( ) ค. ไม่เกินสามหมื่นบาท ( ) ง. ไม่เกินห้าหมื่นบาท 8. กรมธรรม์ประกันภัยนั้น กฏหมายบัญญัติว่าต้องลงลายมือชื่อของ... ( ) ก. ผู้รับประกันภัย ( ) ข. ผู้เอาประกันภัย ( ) ค. ผู้รับประโยชน์ ( ) ง. ผู้รับประกันภัยร่วมกับผู้เอาประกันภัย
  • 58. 9. กรมธรรม์ประกันภัย กฏหมายกาหนดให้มีรายการดังต่อไปนี้เสมอ ( ) ก. ราคาแห่งมูลประกันภัย ( ) ข. วัตถุที่เอาประกันภัย ( ) ค. ชื่อผู้รับประโยชน์ ( ) ง. ถูกเฉพาะข้อ ข. และ ค. คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 10. กรณีใดที่ผู้รับประกันภัยรถยนต์ไม่ต้องรับผิดตามสัญญาประกันภัย ( ) ก. ผู้เอาประกันภัยประมาทเลินเล่อทาให้รถยนต์เสียหาย ( ) ข. ผู้รับประโยชน์ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงทาให้รถยนต์เสียหาย ( ) ค. บุคคลภายนอกจงใจทาให้รถยนต์เสียหาย ( ) ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ข. 11. คาว่า “ค่าสินไหมทดแทน” หมายถึง ( ) ก. ค่าเสียหายที่จะต้องจ่ายตามสัญญาประกันวินาศภัย ( ) ข. ค่าเบี้ยประกันภัย ( ) ค. ราคาทรัพย์สินที่เอาประกันภัย ( ) ง. จานวนเงินเอาประกันภัย
  • 59. 12. กรณีใดที่สัญญาประกันภัยไม่มีผลผูกพันคู่สัญญา ( ) ก. ผู้เอาประกันภัยประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ( ) ข. ผู้เอาประกันภัยจงใจทาให้ทรัพย์สินเสียหาย ( ) ค. ผู้เอาประกันภัยไม่มีส่วนได้เสียในทรัพย์สินที่เอาประกันภัย ( ) ง. ถูกทุกข้อ คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 13. สัญญาประกันภัยมีผู้เกี่ยวข้องอยู่ 3 ฝ่ายคือ ( ) ก. ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และผู้ชาระเบี้ยประกันภัย ( ) ข. ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และตัวแทนนายหน้าประกันภัย ( ) ค. ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และผู้ขอเอาประกันภัย ( ) ง. ผู้เอาประกันภัย ผู้รับประกันภัย และผู้รับประโยชน์ 14. ผู้รับประกันภัยรับช่วงสิทธิ์ได้ในกรณีใด ( ) ก. วินาศภัยอันเกิดจากการกระทาผิดของบุคคลภายนอก ( ) ข. วินาศภัยอันเกิดจากการกระทาผิดของผู้เอาประกันภัย ( ) ค. วินาศภัยอันเกิดจากการกระทาผิดของผู้รับประโยชน์ ( ) ง. ถูกทุกข้อ
  • 60. 15. ผู้เอาประกันภัยกับผู้รับประโยชน์จะเป็นบุคคลเดียวกันได้หรือไม่ เพราะเหตุใด ( ) ก. ได้ เพราะกฎหมายระบุไว้ ( ) ข. ไม่ได้ เพราะกฎหมายห้ามไว้ ( ) ค. ไม่ได้ เพราะไม่ถูกต้องตามหลักการประกันภัย ( ) ง. ได้หรือไม่ แล้วแต่บริษัทจะอนุมัติให้เป็นรายๆไป คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 16. ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ “ราคาแห่งมูลประกันภัย” หมายความถึง ( ) ก. ราคาของวัตถุที่เอาประกันภัย ( ) ข. ราคาของวัตถุที่เอาประกันภัย หักด้วยราคาความเสื่อมสภาพ ( ) ค. ราคาของส่วนได้เสียที่กาหนดไว้ในสัญญาประกันภัย ( ) ง. ราคาที่จะได้รับการชดใช้เมื่อเกิดความเสียหาย 17. สัญญาประกันภัยเกิดขึ้นเมื่อใด ( ) ก. เมื่อผู้เอาประกันภัยได้รับกรมธรรม์ประกันภัยจากบริษัทประกันภัยแล้ว ( ) ข. เมื่อผู้เอาประกันภัยได้รับกรมธรรม์และชาระเบี้ยให้กับบริษัทแล้ว ( ) ค. เมื่อผู้เอาประกันภัยได้ชาระเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัทประกันภัยแล้ว ( ) ง. เมื่อบริษัทประกันภัยตกลงรับประกันภัย แม้มิได้มีลายลักษณ์อักษร
  • 61. 18. หากผู้เอาประกันภัยทาประกันภัยมาแล้วต้องการยกเลิกกรมธรรม์ประกันภัย จะได้รับการ คืนเบี้ยจากบริษัทประกันภัยอย่างไร ( ) ก. คืนตามอัตราที่ผู้รับประกันภัยกาหนด ( ) ข. คืนตามอัตราเบี้ยประกันภัยระยะสั้นหรือตามที่ระบุไว้ในเงื่อนไขกรมธรรม์ ( ) ค. คืนโดยหักเบี้ยประกันสาหรับระยะเวลาที่กรมธรรม์มีผลบังคับแล้วออกตามส่วน ( ) ง. คืนตามการเฉลี่ย คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 19. การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนกระทาได้ด้วยวิธีใด ( ) ก. จ่ายเป็นตัวเงิน ( ) ข. จัดการหาของทดแทน ( ) ค. จัดซ่อมแซมให้กลับสู่สภาพเดิม ( ) ง. ถูกทุกข้อ 20. บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยจะควบรวมกับบริษัทประกันภัย วินาศภัยอื่นได้หรือไม่ ( ) ก. ได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากปลัดกระทรวงการคลัง ( ) ข. ได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากนายทะเบียน ( ) ค. ไม่ได้ เนื่องจากกฎหมายห้ามไว้ ( ) ง. ได้ แต่ต้องได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
  • 62. 21. พระราชบัญญัติประกันวินาศภัย พ.ศ.2535 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติประกันวินาศ ภัย (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2551 เป็นกฏหมายที่ตราขึ้นไว้เพื่อวัตถุประสงค์ในการกากับดูแลใคร ( ) ก. สาขาของบริษัทประกันวินาศภัย ( ) ข. บริษัทที่ได้รับใบอนุญาตให้ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัย ( ) ค. ตัวแทนประกันวินาศภัย และนายหน้าประกันวินาศภัย ( ) ง. ถูกทุกข้อ คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 22. หลักทรัพย์ประกันที่บริษัทประกันภัยวางไว้กับนายทะเบียนมีวัตถุประสงค์ตามข้อใด ( ) ก. เพื่อเป็นหลักประกันแก่เจ้าหนี้ของบริษัทประกันภัย ( ) ข. เพื่อให้รัฐบาลยึดไปใช้หนี้ค่าภาษีอากร ( ) ค. เพื่อไว้ใช้จ่ายคืนผู้ถือหุ้นของบริษัทประกันภัยก่อนใครอื่น เมื่อผู้ถือหุ้นร้องขอ ( ) ง. เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู้เอาประกันภัยหรือผู้รับประโยชน์ในอันที่จะได้รับชาระ หนี้เมื่อบริษัทประกันภัยเลิกกิจการหรือล้มละลาย 23. ข้อใดเป็นคุณสมบัติของผู้ขอรับใบอนุญาตเป็นนายหน้าประกันวินาศภัย ( ) ก. บรรลุนิติภาวะ ( ) ข. มีภูมิลาเนาในประเทศไทย ( ) ค. ไม่เป็นตัวแทนประกันวินาศภัย ( ) ง. ถูกทุกข้อ
  • 63. 24. รัฐมนตรีมีอานาจสั่งเพิกถอนใบอนุญาตประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยเมื่อปรากฏว่า บริษัทประกันวินาศภัยกระทาการใด ( ) ก. ประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยต่อไปจะทาให้เกิดความเสียหายแก่ผู้เอา ประกันภัยหรือประชาชน ( ) ข. หยุดประกอบธุรกิจประกันวินาศภัยโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ( ) ค. ประวิงการจ่ายเงินที่ต้องใช้ตามกรมธรรม์ประกันภัย หรือประวิงการคืนเบี้ย ประกันภัยที่ต้องจ่ายหรือคืนโดยไม่มีเหตุอันสมควร หรือจ่ายหรือคืนไปโดยไม่ สุจริต ( ) ง. ถูกทุกข้อ คาถามวิชา กฏหมายแพ่งและพาณิชย์และ พ.ร.บ.ประกันวินาศภัย 25. นายหน้าประกันวินาศภัยที่ประสงค์จะยื่นคาขอต่อใบอนุญาต จะต้องยื่นคาขอต่อ ใบอนุญาต ต่อผู้ใด ( ) ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ( ) ข. ปลัดกระทรวงพาณิชย์ ( ) ค. นายทะเบียน ( ) ง. ปลัดกระทรวงการคลัง