SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้างล่าง
“เด็กหญิงดาลัดมีปากกามากกว่าเด็กชายชานนท์5 ด้าม”
1) นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเด็กหญิงดาลัดและเด็กชายชานนท์มีปากกาคนละกี่ด้าม (ไม่ทราบ)
2) ถ้าเด็กหญิงดาลัดมีปากกา 7 ด้าม เด็กชายชานนท์จะมีปากกากี่ด้าม (เด็กชายชานนท์จะมี
ปากกา 2 ด้าม)
3) ถ้าเด็กชายชานนท์มีปากกา 4 ด้าม เด็กหญิงดาลัดจะมีปากกากี่ด้าม (เด็กหญิงดาลัดจะ
มีปากกา 9 ด้าม)
4) ถ้ากาหนดจานวนปากกาของเด็กหญิงดาลัดหรือจานวนปากกาของเด็กชายชานนท์อย่างใด
อย่างหนึ่งให้นักเรียนคิดว่าจะสามารถหาจานวนปากกาของเด็กชายชานนท์หรือจานวนปากกาของ
เด็กหญิงดาลัดที่เหลือได้หรือไม่ (สามารถหาได้)
5) ถ้ากาหนดให้จานวนปากกาของเด็กหญิงดาลัดเป็น x แท่ง
และจานวนปากกาของเด็กชายชานนท์เป็น y แท่ง
ดังนั้น จากข้อความข้างต้นเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้x – y = 5
เมื่อนามาเขียนเป็นคู่อันดับจะได้(6, 1), (7, 2), ((8, 3), (9, 4), (10, 5), (11, 6), ...)
นามาเขียนกราฟจะได้
ลักษณะของกราฟ (เป็นจุดเรียงกันในแนวรังสี)
จากนั้นครูยกตัวอย่างเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปรให้นักเรียนพิจารณาพร้อมทั้ง
คาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียนจากตัวอย่าง ดังนี้
ตัวอย่างที่ 1 ผลต่างของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 2 จงเขียนคู่อันดับและกราฟ
ของจานวนเต็มทั้งสองนี้
ให้ x และ y เป็นจานวนเต็มสองจานวน
เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้
x – y = 2
พิจารณาแทนค่า x และ y ที่ทาให้สมการเป็นจริง 3-5 ค่า แล้วเขียนในรูปคู่อันดับ
โดยกาหนดแทนค่าตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งในที่นี้แทนค่า x ดังนี้
1) แทน x ด้วย –1 ในสมการ
จะได้ – 1 – y = 2
y = –3
คาตอบของสมการ คือ (–1, –3)
2) แทน x ด้วย 0 ในสมการ
จะได้ 0 – y = 2
y = –2
คาตอบของสมการ คือ (0, –2)
3) ให้นักเรียนแทนค่า x ในสมการต่อไปตามความเหมาะสม
นาคู่อันดับที่เป็นคาตอบของสมการแทนค่าในรูปตารางความสัมพันธ์จะได้
x … –1 0 1 2 …
y … –3 –2 –1 0 …
นามาเขียนกราฟจะได้ดังนี้
1) สมการข้างต้นมีค่าตัวแปรกี่จานวน อะไรบ้าง (2 จานวน คือ x, y)
2) เลขชี้กาลังตัวแปรมีค่าเท่าไร (เท่ากับ 1)
3) คาตอบที่ทาให้สมการเป็นจริงเขียนเป็นคู่อันดับได้หรือไม่ (ได้)
4) คาตอบของสมการที่นามาเขียนเป็นคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ของ
คาตอบนี้ระบุได้หรือไม่ว่ามีกี่คู่อันดับ (ไม่สามารถระบุได้)
5) กราฟที่ได้จากคู่อันดับมีลักษณะเป็นอย่างไร (เป็นแนวเส้นตรง)
6) สมการลักษณะข้างต้นนี้เรียกว่าสมการอะไร (สมการเชิงเส้นสองตัวแปร)
5. ให้นักเรียนร่วมกันอธิบายและสรุปเกี่ยวกับลักษณะของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
โดยเชื่อมโยงจากตัวอย่างที่ครูอธิบายพร้อมทั้งกิจกรรมที่นักเรียนทาข้างต้นและคาตอบที่ได้จาก
คาถาม ดังนี้
สมการที่มีตัวแปรสองตัว เลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็น 1 และไม่มีการคูณกันของ
ตัวแปร เรียกว่า สมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ซึ่งคาตอบของสมการเชิงเส้นที่มี x และ y เป็นตัวแปรคือค่า x และ y ที่ทาให้สมการเป็นจริง

More Related Content

Viewers also liked

แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯทับทิม เจริญตา
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2ทับทิม เจริญตา
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3Kwanchai Buaksuntear
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)ทับทิม เจริญตา
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยJareewon Ritthong
 
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุดชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุดทับทิม เจริญตา
 
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลังแบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (20)

กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯแผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
แผนที่ 6 การเขียนกราฟของสมการฯ
 
กราฟ04
กราฟ04กราฟ04
กราฟ04
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ฝึกคิดเลขเร็ว ป4(4)
ฝึกคิดเลขเร็ว   ป4(4)ฝึกคิดเลขเร็ว   ป4(4)
ฝึกคิดเลขเร็ว ป4(4)
 
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
สมบัติของการคูณเลขยกกำลังฯ2
 
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
แบบทดสอบกราฟ คณิตศาสตร์3
 
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
 
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
แบบฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป 2(2)
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
 
ม.1
ม.1ม.1
ม.1
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
แบบฝึกทักษะที่ เลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะที่ เลขยกกำลังแบบฝึกทักษะที่ เลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะที่ เลขยกกำลัง
 
พื้นที่ผิวทรงกลมุุ6
พื้นที่ผิวทรงกลมุุ6พื้นที่ผิวทรงกลมุุ6
พื้นที่ผิวทรงกลมุุ6
 
แผนภาพต้นไม้16
แผนภาพต้นไม้16แผนภาพต้นไม้16
แผนภาพต้นไม้16
 
ประโค
ประโคประโค
ประโค
 
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุดชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6  20 ชุด
ชุดฝึกคิดเลขเร็ว สูตรคูณ ป. 6 20 ชุด
 
ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01ระบบสมการเชิงเส้น01
ระบบสมการเชิงเส้น01
 
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลังแบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
แบบฝึกทักษะเรื่องเลขยกกำลัง
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลังความหมายของเลขยกกำลัง
ความหมายของเลขยกกำลัง
 

ระบบสมการเชิงเส้น

  • 1. ให้นักเรียนพิจารณาข้อความต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามข้างล่าง “เด็กหญิงดาลัดมีปากกามากกว่าเด็กชายชานนท์5 ด้าม” 1) นักเรียนทราบหรือไม่ว่าเด็กหญิงดาลัดและเด็กชายชานนท์มีปากกาคนละกี่ด้าม (ไม่ทราบ) 2) ถ้าเด็กหญิงดาลัดมีปากกา 7 ด้าม เด็กชายชานนท์จะมีปากกากี่ด้าม (เด็กชายชานนท์จะมี ปากกา 2 ด้าม) 3) ถ้าเด็กชายชานนท์มีปากกา 4 ด้าม เด็กหญิงดาลัดจะมีปากกากี่ด้าม (เด็กหญิงดาลัดจะ มีปากกา 9 ด้าม) 4) ถ้ากาหนดจานวนปากกาของเด็กหญิงดาลัดหรือจานวนปากกาของเด็กชายชานนท์อย่างใด อย่างหนึ่งให้นักเรียนคิดว่าจะสามารถหาจานวนปากกาของเด็กชายชานนท์หรือจานวนปากกาของ เด็กหญิงดาลัดที่เหลือได้หรือไม่ (สามารถหาได้) 5) ถ้ากาหนดให้จานวนปากกาของเด็กหญิงดาลัดเป็น x แท่ง และจานวนปากกาของเด็กชายชานนท์เป็น y แท่ง ดังนั้น จากข้อความข้างต้นเขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้x – y = 5 เมื่อนามาเขียนเป็นคู่อันดับจะได้(6, 1), (7, 2), ((8, 3), (9, 4), (10, 5), (11, 6), ...) นามาเขียนกราฟจะได้ ลักษณะของกราฟ (เป็นจุดเรียงกันในแนวรังสี) จากนั้นครูยกตัวอย่างเกี่ยวกับสมการเชิงเส้นสองตัวแปรให้นักเรียนพิจารณาพร้อมทั้ง คาถามกระตุ้นความคิดของนักเรียนจากตัวอย่าง ดังนี้
  • 2. ตัวอย่างที่ 1 ผลต่างของจานวนเต็มสองจานวนเท่ากับ 2 จงเขียนคู่อันดับและกราฟ ของจานวนเต็มทั้งสองนี้ ให้ x และ y เป็นจานวนเต็มสองจานวน เขียนเป็นประโยคสัญลักษณ์ได้ x – y = 2 พิจารณาแทนค่า x และ y ที่ทาให้สมการเป็นจริง 3-5 ค่า แล้วเขียนในรูปคู่อันดับ โดยกาหนดแทนค่าตัวแปรตัวใดตัวหนึ่งในที่นี้แทนค่า x ดังนี้ 1) แทน x ด้วย –1 ในสมการ จะได้ – 1 – y = 2 y = –3 คาตอบของสมการ คือ (–1, –3) 2) แทน x ด้วย 0 ในสมการ จะได้ 0 – y = 2 y = –2 คาตอบของสมการ คือ (0, –2) 3) ให้นักเรียนแทนค่า x ในสมการต่อไปตามความเหมาะสม นาคู่อันดับที่เป็นคาตอบของสมการแทนค่าในรูปตารางความสัมพันธ์จะได้ x … –1 0 1 2 … y … –3 –2 –1 0 … นามาเขียนกราฟจะได้ดังนี้
  • 3. 1) สมการข้างต้นมีค่าตัวแปรกี่จานวน อะไรบ้าง (2 จานวน คือ x, y) 2) เลขชี้กาลังตัวแปรมีค่าเท่าไร (เท่ากับ 1) 3) คาตอบที่ทาให้สมการเป็นจริงเขียนเป็นคู่อันดับได้หรือไม่ (ได้) 4) คาตอบของสมการที่นามาเขียนเป็นคู่อันดับแสดงความสัมพันธ์ของ คาตอบนี้ระบุได้หรือไม่ว่ามีกี่คู่อันดับ (ไม่สามารถระบุได้) 5) กราฟที่ได้จากคู่อันดับมีลักษณะเป็นอย่างไร (เป็นแนวเส้นตรง) 6) สมการลักษณะข้างต้นนี้เรียกว่าสมการอะไร (สมการเชิงเส้นสองตัวแปร) 5. ให้นักเรียนร่วมกันอธิบายและสรุปเกี่ยวกับลักษณะของสมการเชิงเส้นสองตัวแปร โดยเชื่อมโยงจากตัวอย่างที่ครูอธิบายพร้อมทั้งกิจกรรมที่นักเรียนทาข้างต้นและคาตอบที่ได้จาก คาถาม ดังนี้ สมการที่มีตัวแปรสองตัว เลขชี้กาลังของตัวแปรแต่ละตัวเป็น 1 และไม่มีการคูณกันของ ตัวแปร เรียกว่า สมการเชิงเส้นสองตัวแปร ซึ่งคาตอบของสมการเชิงเส้นที่มี x และ y เป็นตัวแปรคือค่า x และ y ที่ทาให้สมการเป็นจริง