SlideShare a Scribd company logo
เทคนิคการถ่ายภาพ
เทคนิคการถ่ายภาพพลุ
หลักการถ่ายภาพพลุ
การถ่ายภาพพลุก็มีหลักเหมือนการถ่ายภาพทั่วไปคือ ตัวรับแสงควรได้รับแสงในปริมาณที่พอเพียง
แต่เนื่องจากพลุมักจุดในเวลาค่าคืนดังนั้น ความเร็วชัตเตอร์จึงมีความสาคัญน้อยมาก
สิ่งที่ควบคุมความสว่างหรือมืดของภาพอยู่ที่เอฟนัมเบอร์เป็นหลัก
ระยะเวลาในการเปิดปิดชัตเตอร์นั้นมีผลต่อจานวนพลุที่จะปรากฏในภาพ หากใช้เวลาน้อยๆ
ก็ได้จานวนน้อย หากใช้เวลานานก็ได้จานวนมาก อย่างไรก็ดีถ้านานเกินไป
ภาพพลุก็จะซ้อนกันจนเกิดเป็นภาพ over ได้
และเนื่องจากต้องถ่ายภาพในเวลากลางคืนขาตั้งกล้องมีความสาคัญเป็นอย่างมาก
กล้องควรยึดอยู่บนขาตั้งกล้องที่มีความแข็งแรงเพียงพอ
การเลือกเอฟนัมเบอร์
เอฟนัมเบอร์ที่เหมาะสมขึ้นกับปัจจัยหลายประการคือ
1. ความสว่างของพลุ พลุแต่ละลูกมีความสว่างแตกต่างกัน
พลุที่สว่างมากก็ต้องเปิดหน้ากล้องให้แคบกว่าพลุที่สว่างน้อย
อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติจริงเป็นไปได้น้อยมาก
เพราะเราไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าพลุลูกไหนจะสว่างมากหรือน้อย
ทั้งนี้เราไม่ต้องกังวลมากนักกับความสว่างของพลุที่ต่างกัน เพราะพลุเป็นแต่แสงสี ที่เคลื่อนที่
ไม่มีโทน(tone) ไม่มีรายละเอียด
ดังนั้นเพียงแต่เลือกเอฟนัมเบอร์ที่พอบันทึกภาพให้เห็นสีที่ไม่มืดหรือสว่างจนเป็นสีขาวก็ถือว่าเป็นภาพที่ดีแ
ล้ว ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในระหว่าง f8-f16
2. ความไวแสงของ CCD หรือ ISO speed หากเราตั้งความไวแสงของกล้องให้มีค่ามากเช่น 200 หรือ 400
ก็จะทาให้ต้องใช้หน้ากล้องแคบลง แต่เนื่องจากจะมี noise เกิดขึ้นบนภาพ
ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงความไวแสงสูงๆ และควรตั้งค่าต่าที่สุดที่กล้องมีให้ เช่นที่ 100หรือ 50 เป็นต้น
3 ระยะทาง หากกล้องอยู่ห่างจากพลุมาก ก็ควรเปิดหน้ากล้องให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยใช้ inverse square law
หรือ กฏผกผันกาลังสอง กล่าวคือหากระยะทางจากแหล่งกาเนิดแสงอยู่ห่างไปจากเดิมหนึ่งเท่า
ปริมาณแสงจะลดลงสองเท่า นั่นคือหากเราถ่ายภาพพลุด้วยระยะห่าง 100เมตรด้วย f/11
แต่ถ้าอยู่ห่างออกไป สองร้อยเมตร ควรใช้ f/8การเลือกชัตเตอร์สปีด ควรใช้ชัตเตอร์ B
แต่ถ้ากล้องที่ใช้ไม่มีให้ก็ควรใช้ความเร็ว ประมาณ 2-8 วินาที ขึ้นกับว่า ช่วงเวลานั้นๆ
พลุถูกจุดด้วยความถี่มากหรือน้อย
เทคนิคการถ่ายภาพ
สาหรับกล้องที่มีชัตเตอร์ Bก็ควรพกกระดาษแข็งสีดาไปด้วย
แล้วใช้เปิดปิดหน้ากล้องเพื่อเลือกบันทึกแสงจากพลุลูกใดลูกหนึ่งหรือหลายๆ ลูกไปในเฟรมเดียวกัน
หากต้องการภาพพลุเพียงลูกใดลูกหนึ่ง ควรสังเกตจุดที่เป็นบริเวณที่วางพลุ
หากเห็นแสงหรือควันไฟพุ่งออกมาแสดงว่า พลุได้ถูกจุดแล้ว
ซึ่งเราต้องรีบดึงกระดาษดาออกเพื่อบันทึกภาพ พอหมดแสงพลุลูกนั้นก็ต้องรีบปิดกระดาษ หรือ ปิดชัตเตอร์
กรณีนี้ใช้ได้เฉพาะเมื่ออยู่ในทาเลที่ดีมากๆ และพลุไม่ถูกจุดพร้อมๆ กัน เท่านั้น
ภาพด้านล่างนี้เป็นภาพที่ผมถ่ายงานแสดงพลุในประเทศญี่ปุ่น
อันที่จริงแล้วภาพพลุอย่างเดียวเป็นภาพที่น่าสนใจน้อยกว่า ภาพพลุที่มีแสงจากอาคารบ้านเรือน
ประกอบอยู่ในภาพด้วย ภาพแสงไฟจากตึกสวยๆ สะพานโค้ง และอื่นๆ จะทาให้ภาพดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้น
นอกจากนี้แล้วหลังพระอาทิตย์ตกดินไม่นานนัก ท้องฟ้ายังมีแสง สนธยาลางๆ
ให้เห็นก็จะยิ่งสร้างบรรยากาศให้น่าดู น่าชม
เทคนิคการถ่ายภาพ Panorama
การถ่ายภาพ Panorama ควรใช้โปรแกรม Panorama
assist ที่สามารถเลือกได้ว่าจะถ่ายและหันกล้องเพื่อถ่ายภาพต่อไป จากทางขวาไปทางซ้าย
หรือจากทางซ้ายมาทางขวา (ปกติจะถ่ายจากขวาไปซ้าย) หรือจากบนลงมาข้างล่าง
หรือจากล่างขึ้นข้างบนก็ได้ โดยกดแป้นMultiselector (แป้นบังคับทิศทาง 4ทิศ)
และดูรูปสามเหลี่ยมว่าชี้ไปทางไหน แต่ต้องใช้ขาตั้งกล้องเสมอ
เพื่อการช่วยในการรักษาระดับของการแพนกล้องจะทาให้ได้รับความสะดวก
และแน่นอนมากขึ้น เมื่อใช้โหมดนี้ และเลือกถ่ายจากทางขวาไปทางซ้าย หลังจากเริ่มถ่ายภาพแรกแล้ว
กล้องจะล็อคค่าแสงและโฟกัสไว้ เพื่อการถ่ายภาพต่อไปจะได้ความสว่างคงที่
เวลานาภาพไปต่อกันจะได้สีและแสงที่เท่ากันทั้งหมด เมื่อถ่ายภาพแรกเสร็จแล้ว
ในจอภาพจะเห็นภาพเดิมทางด้านขวาประมาณ 1/3 ของภาพ (ลักษณะเป็นเงา อยู่ในจอภาพทางซ้าย
เพื่อเวลาแพน(หัน)กล้อง ก็ควรให้ภาพเดิมทับภาพใหม่ในจอ จะได้รู้ว่าจะต้องหันไปประมาณเท่าใด
และถ่ายภาพต่อๆ จนครบตามที่ต้องการ เมื่อถ่ายภาพชุดแรกครบตามต้องการแล้ว
ให้กดปุ่ม OKหรือ Enter กล้องจะเลิกการล็อคค่าแสง เมื่อถ่ายชุดใหม่ก็จะเก็บภาพไว้ในโฟลเดอร์ใหม่
และเริ่มล็อคค่าแสงใหม่
*TIP* ก่อนถ่ายภาพควรปรับระยะซูมเลนส์ไว้ในช่วงกลางๆ และถ่ายภาพเพื่อนาไปต่อกันไม่เกิน 16
ภาพต่อชุด การถ่ายควรถ่ายติดต่อกันไปจนครบ เพราะถ้าเว้นช่วงเวลานานเกินไป
ระบบวัดแสงของกล้องดับไป(เพราะถึวเวลาที่ตั้งให้กล้องปิดเองอัตโนมัติ)
และที่สาคัญคือสภาพแสงของบริเวณที่ถ่ายอาจเปลี่ยนแปลงได้
สาหรับกรณีที่ในตัวกล้องไม่มีโปรแกรม Panorama assist เพื่อการถ่ายภาพพาโนรามา
การถ่ายภาพในลักษณะดังกล่าวก็สามารถทาได้เช่นเดียวกัน
เพียงแต่ใช้วิธีการจดจาหรือความเป็นคนช่างสังเกตเล็กน้อย
โดยไม่ว่าจะเป็นการถ่ายจากขวาเลื่อนไปทางซ้าย หรือกลับกัน
ก็จะต้องถ่ายภาพโดยจะต้องมีส่วนที่เป็นส่วนของภาพเดิม ประมาณ 15-20% เพื่อใช้เป็นส่วนที่ใช้ในการภาพ
ในขั้นต่อไป
*Tip* ต้องใช้ขาตั้งกล้องเสมอ และใช้ระบบล็อคค่าแสงไว้
และเมื่อถ่ายภาพแล้วก็หันกล้องโดยปรับให้ภาพมีการเหลื่อมกันประมาณ หนึ่งในสามของภาพ
หรือเกือบครึ่งภาพก็ได้ การเลือกใช้เลนส์ ควรเป็นเลนส์ขนาดมาตรฐาน คือความยาวโฟกัสประมาณ 50
mm แต่ถ้าเป็นเลนส์ซูม ก็ควรปรับไว้ประมาณนี้ เพราะเป็นเลนส์ช่วงที่มีการบิดเบี้ยวของภาพน้อย
(เวลาต่อภาพจะต่อได้ง่าย และสวยงาม)
เสร็จแล้วนาภาพชุดดังกล่าวไปต่อให้เป็นภาพเดียวกันโดยใช้โปรแกรม Panorama
Maker ที่มีแถมให้ในชุด CD-ROM ที่มาพร้อมกล้อง Coolpix ทุกรุ่น แต่จะไม่มีในกล้อง D-SLR
การใช้งานโปรแกรม Panorama maker
ปกติโปรแกรมนี้จะมาพร้อมกับโปรแกรม Nikon View หรือ PictureProject เมื่อลงโปรแกรมแล้ว
จะมีโปรแกรม Panorama Maker ลงในคอมพิวเตอร์ด้วย เวลาจะใช้ต้องเปิดโปรแกรมPanorama
Maker ขึ้นมาก่อน จะมีหน้าต่าง Panorama Maker 3
 ให้คลิกปุ่ม "Start" จะมีหน้าต่างทางาน ให้เลือกว่าลักษณะของภาพที่จะต่อเป็นการต่อแบบใด
เช่นต่อแนวนอน (Horiz), แนวตั้ง (Vert),ต่อเป็นวงกลม (360o) หรือเทียบภาพ (Tile)
 เลือกชนิดของเลนส์ที่ใช้ "Camera Lens" แต่ถ้าไม่ทราบก็ให้เลือกแบบ Automatic
ต่าลงมามีช่องเพื่อเลือกขนาดภาพ เช่นMedium (For display), Original (For print) และ Small (For
web) ให้เลือกเป็น Original สาหรับจะนาไปอัดขยายภาพ เสร็จแล้วคลิกที่ Next
 ตอนมุมล่างขวาจะมีหน้าต่างทางานใหม่ขึ้นมา คลิกที่ปุ่ม Add
จะมีหน้าต่างให้เลือกภาพจากโฟลเดอร์ที่ต้องการ(แนะนาให้กาหนดเป็นโฟลเดอร์ใหม่)
และไปเลือกรูปที่จะนามาต่อทั้งหมด(แต่ต่องไม่เกิน 16 ภาพ)
 *TIP* เพื่อความสะดวกควรโหลดภาพที่ต้องการต่อไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะสะดวกที่สุด
 คลิกที่ Open ภาพจะมาปรากฏในช่องตอนบน ถ้าภาพเรียงตามลาดับถูกต้อง ก็คลิกที่ปุ่ม Include All
หรือจะเลือกภาพแล้วคลิกที่ปุ่ม Include ย้ายทีละภาพก็ได้
 เมื่อครบแล้วก็คลิกที่ปุ่ม Next โปรแกรมจะต่อภาพให้จนเสร็จ ถ้ามีช่วงไหนยังต่อไม่เรียบร้อย
ให้คลิกที่เครื่องมือ Fine Tune (รูปไขควง) แล้วเลื่อมเม้าส์ไปคลิกที่ช่วงที่ต่อไม่สนิท จะมีรูป 2
รูปขึ้นมาเทียบให้ ก็เลือกปุ่มสาหรับชี้ หมายเลข 1, 2, 3 ให้ชี้ที่จุดเดียวกันในแต่ละภาพ
ควรชี้จุดที่ห่างออกไปในแนวนอน เสร็จแล้วคลิกที่ปุ่ม Okโปรแกรมจะแก้ไขให้ใหม่
เมื่อเรียบร้อยแล้วก็คลิกที่ Finish และคลิกที่ปุ่ม Save เพื่อSaveภาพไว้ในโฟลเดอร์ตามต้องการ
เหมือนการ Save ภาพตามปกติ
เทคนิคการถ่ายภาพมาโคร
มาโคร หรือการถ่ายภาพใกล้เน้นรายละเอียดของตัวแบบ อาวุธที่ถูกใช้มากที่สุดก็คือ เลนส์มาโคร 90มม.
หรือ 180 มม. พร้อมวิธีการเซตแฟลชภายนอกของกล้องที่เหมาะสม Nikon หรือ Canon , Sigma หรือ
Tamron คุณเลือกใช้ตามกล้องของคุณ
แต่เมื่อคุณเริ่มต้นกิจกรรมที่น่าตื่นเต้นนี้คุณต้องทาความข้าใจอะไรบางอย่าเสียก่อน
ความระทึกใจในการไล่ล่า
และแรงกระตุ้นขั้นสูงสุดคือการสร้างสรรค์ภาพที่ยิ่งใหญ่ของสิ่งมีชีวิตที่หายาก
มันมากกว่าการนาภาพมาเปรียบเทียบกันเพียงอย่างเดียว
การถ่ายภาพมาโครนั้นต้องใช้ความรู้ความเข้าใจ และเทคนิคบางอย่างที่แตกต่างออกไป
จากการถ่ายภาพบุคคล หรือ การถ่ายภาพสถานที่พอสมควร
โฟกัส การสร้างความคมชัด เฉพาะส่วนสาคัญ:
ด้วยเลนส์ AF มาโคร ที่หลากหลายทั้งจากของค่ายกล้องโดยตรงและจากค่ายอิสระต่างๆใน
ตลาดปัจจุบันนี้โดยทั่วไปก็ใช้งานได้อย่างดี สิ่งที่ควรคิดคือการเลือกใช้ระบบ
ออโต้โฟกัสและแมนวลโฟกัส ที่จะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่คุณต้องการ
สิ่งสาคัญบางสิ่งที่ควรจาเมื่อทาการโฟกัสภาพ:
1. เนื่องจากคุณกาลังใช้เลนส์เทเลโฟโต้ที่ให้ภาพขนาด 1/1
คุณจะได้ภาพที่มีความชัดตื้นเสมอด้วยผลที่เกิดจากการใช้เลนส์เทเลโฟโต้นั้น
หมายความว่าหากคุณถ่ายภาพที่รูรับแสง f9(เห็นเหมือนชัดทั่วทั้งภาพ)
ระยะความชัดของภาพที่เกิดขึ้นจะมีเพียงล็กน้อย
ทุกครั้งที่ถ่ายภาพแมลงโดยโฟกัสไปที่หัวขนาดเล็กของแมลง
จะได้ผลเช่นเดียวกับที่สายตามนุษย์ได้รับคือความชัดของภาพจะอยู่ที่จุดโฟกัสเท่านั้น
เหตุผลเดียวกันนี้สามารถใช้กับการถ่ายภาพบุคคลด้วยเช่นกัน ดังนั้น
เมื่อตาของคุณแนบอยู่กับกล้องต้องให้ความสาคัญกับการโฟกัสทุกครั้ง
2. ถ้าระบบออโต้โฟกัสของคุณไม่สามารถจับภาพได้ดีนัก
ให้ตั้งกล้องของคุณในจุดที่ใกล้ที่สุดที่ลนส์สามารถให้อัตราการขยายสูงสุด ปิดระบบออโต้โฟกัสซะ
แล้วใช้การเคลื่อนกล้องเข้าไปให้ใกล้ขึ้นหรือถอยห่างแทน
3. ถ้าแมลงหรือคุณมีการเคลื่อนไหว คุณอาจจะต้องใช้โหมดออโต้โฟกัสติดตามวัตถุ เช่น AISero
(Canon) หรือ GroupDynamic (Nikon)
ร่วมกับระบบถ่ายภาพต่อเนื่องเพื่อให้ได้ภาพที่โฟกัสได้ตามต้องการ
ขาตั้งกล้อง:
อย่าออกจากบ้านโดยเด็ดขาดถ้าไม่มีขาตั้งกล้อง เพราะไม่มีใครที่จะสามารถแบบทั้งกล้อง, เลนส์มาโคร
180 มม., แฟลชภายนอก และแผ่นรีเฟ็ค ได้พร้อมๆ กันด้วยสองมืออย่างแน่นอน
แสงธรรมชาติคือแสงที่ดีที่สุดในการถ่ายภาพ
แต่แมลงที่มุดซ่อนอยู่ใต้แผ่นใบไม้ขนาดใหญ่ซึ่งมืดทึบทึมนั้น จะสร้างความลาบากในการวัดแสง
ใช้ขาตั้งกล้องแบบไตรพอดที่แข็งแรงเมื่อต้องการถ่ายภาพดอกไม้
หรือใช้ขาตั้งแบบโมโนพอดเมื่อถ่ายภาพแมลงที่กาลังเคลื่อนไหวอยู่
เพื่อให้เลนส์มาโครของคุณสาแดงประสิทธิภาพได้สูงสุด
แฟลช:
อย่างที่เข้าใจว่าแสงธรรมชาติคือแสงที่ดีที่สุดในการถ่ายภาพ
แต่ร่มเงาของใบไม้และกิ่งก้านสาขาของต้นไม้จะทาให้สีสันของตัวแมลงดูแบนราบ
การใช้แสงแฟลชฟิลอินในบางส่วนของตัวแบบ จะเพิ่มความสว่างและสร้างมิติให้แบบได้มากขึ้น
1. ตั้งค่าแฟลชให้อยู่ในโหมด rear curtain sync
แสงแฟลชจะถูกปล่อยให้แสงธรรมชาติโดยรอบได้ทาหน้าที่เรียบร้อยแล้ว
ซึ่งแสงแฟลชที่เพิ่มเข้าไปนั้นจะเป็นแสงขาวที่เพิ่มเข้าไปในตอนสุดท้าย
โดยแสงที่ได้นั้นจะไม่ทาให้ภาพออกมาดูโอเวอร์
2.
สาหรับบางคนที่มีกาลังทรัพย์ที่ดีพอนั้นสามารถหาแฟลชที่ออกแบบมาเพื่อการถ่ายภาพมาโครโดยเฉพา
ะมาใช้ได้อย่างเช่นริงแฟลช SU800_SBR200 ของ Nikon ริงแฟลชสามารถควบคุมได้อย่างง่ายดาย
โดยแสงแฟลชที่ออกมาจะตกลงบนตัวซับเจคโดยที่ไม่ไปบดบังหน้าเลนส์ทาให้เกิดส่วนมืดขึ้นในภาพ
ด้วยการออกแบบมาเป็นอย่างดี
อีกแนวทางที่สามารถให้ผลคล้ายกันก็คือการแยกแฟลชออกจากตัวกล้องโดยใช้สายพ่วงแฟลช
เพื่อให้แสงแฟลชตกลงบนตัวแบบได้ตามความต้องการของผู้ถ่าย
3. สิ่งที่ควรจาอีกเรื่องหนึ่งก็คือการใช้ ซอฟต์บาซ์
ครอบไว้ที่หัวแฟลชของคุณเพื่อกระจายแสงแฟลชให้มากขึ้น
การเลื่อนไหว:
ดอกไม้และต้นไม้ไม่ได้นอนนิ่งให้เราได้ถ่ายภาพตลอดเวลา แมลงเช่นกันมันจะบินวนไปตามที่ต่างๆ
เพื่อหาอาหารหรือแม้แต่การหาคู่ (ซึ่งในบางครั้งก็น่าสนใจไม่น้อย) ดังนั้นเราจึงมีข้อแนะนาเล็กๆ น้อยๆ
เกี่ยวกับเรื่องลมและการเคลื่อนที่ การใช้ระบบออโต้โฟกัส และนี้เป็นเทคนิคบางอย่างที่เราอยากนาเสนอ
1. ใช้ร่างกายของคุณบังดอกไม้จากลมที่พัดเข้ามา
2. มองหาสถานที่ที่เป็นร่มเงาและไม่มีลมพัด
(บ่อยครั้งที่สถานที่แบบนี้เหมาะแก่การเฝ้าดูผีเสื้อที่บินมาพัก)
3. พยายามถ่ายภาพในตอนเช้าก่อนที่พื้นดินจะร้อนมากขึ้นและเป็นเหตุให้เกิดลมที่ร้อนตามมาด้วย
4. ก้มต่าลงบนพื้น
5. คิดถึงเรื่องสิ่งที่ช่วยยึดจับต้นไม้ด้วย เพื่อให้ได้มุมภาพที่ต้องการ (ไม่ควรตัดหรือทาลายต้นไม้)
6. ศึกษาถึงธรรมชาติของแมลงที่คุณต้องการว่ามันควรจะมุ่งหน้าไปที่ใด
โดยวิเคราะห์จากสายพันธุ์ของมัน ว่ากินอาหารแบบใด ดอกไม้อะไร ที่มันชื่นชอบ
7. ใช้ระบบออโต้โฟกัสให้คล่องแคล่ว
ช่วงความชัด:
การรู้จักกล้องของคุณมากขึ้นจะทา
ให้คุณถ่ายภาพแมลงและดอกไม้ได้
ในทุกๆ อากัปกิริยา
ปัญหาก็คือหากคุณไม่เข้าใจเรื่องขอ
งระยะความชัดมันจะทาให้คุณลาบ
ากแน่นอน
ดังนั้นเราจะบอกทริคในการแก้ปัญ
หาเรื่องช่วงความชัดที่ชัดตื้นให้ทดลองดู
1. เซตตัวคุณและกล้องของคุณให้อยู่ขนานกับแมลงที่เล็งไว้
ทาให้แน่ใจว่าอยู่ในแนวเส้นตรงแล้วและควรให้หัวและหางของแมลงตัวนั้นอยู่ในโฟกัสด้วย
2. ใช้รูรับแสงที่เล็กอย่าง f9หรือ f11 หรือใหญ่กว่าเล็กน้อย
3. ใช้ปุ่มเช็คชัดลึกตรวจดูภาพทุกครั้งหากกล้องของคุณมี
4.
ใช้แฟลชเมื่อคุณต้องการแสงเพิ่มบนตัวแบบเพื่อเพิ่มรูรับแสงและความเร็วชัดเตอร์ที่มากขึ้นตามที่คุณต้อ
งการ
10 เทคนิคการถ่ายภาพอย่างง่าย
1. ทากล้องให้มั่นคงไม่สั่นไหว
ปัญหาหาการถ่ายภาพออกมาแล้วไม่ชัดถือว่าเป็นปัญหาหลัก แต่มีเทคนิคง่ายๆที่
สามารถทาได้ถ่ายภาพได้ดีขึ้น ซึ่งจะช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่าภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่น ไหว
สิ่งที่ดีที่จะช่วยไม่ให้ภาพสั่นไหวคือ การใช้ขาตั้งกล้องในการถ่ายภาพ แต่ถ้า คุณไม่มีขาตั้งกล้อง
หรือไปใน สถานที่ไม่สามารถนาขาตั้งกล้องไปได้ ก็ให้หา สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้ เช่น
บนโต๊ะ, ฝากระโปรงรถ, หรืออะไรก็ ตามที่สามารถวางกล้องได้ แต่ถ้ายังไม่มีอยากให้ทาตามวิธีง่าย 4
ขั้นตอนตามนี้
1. ถือกล้องด้วย 2มือ
2. ให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก และให้แขนแนบชิดกับลาตัว
3. อย่าเกรงปล่อยตัวตามสบาย
4. หายใจลึกๆ และให้กลั้นหายในระหว่างที่กาลังจะกดซัตเตอร์
เพื่อไม่ให้มือสั่นในระหว่างการกดซัตเตอร์
2. การถ่ายภาพแนวนอนกับแนวตั้ง
ในการถ่ายภาพนั้นอยากให้ลองถ่ายรูปในแบบแนวนอน ปกติ และ แบบแนวตั้งดูบ้าง
ในบางสถานการณ์การ ถ่ายภาพแบบแนวตั้งและแนวนอนจะให้อารมณ์ของ
ภาพที่ออกมานั้นต่างกันไปด้วย เช่นในการถ่ายภาพตึก หรือต้นไม้ หรือวัตถุที่มีความสูง
เมื่อถ่ายภาพในแนวตั้ง จะแสดงออกถึงความสูงได้อย่างเด่นชัด และถ้า ต้องการจะสื่อให้เห็นถึงความกว้าง
ก็ให้ถ่ายในลักษณะ แนวนอน ซึ่งจะเหมาะสมกับการถ่ายภาพวิว
3. การวางเส้นขอบฟ้ าในการถ่ายวิว
เทคนิคในการถ่ายภาพวิวให้สวยนั้นควร คานึงถึงการจัดองค์ประกอบของภาพด้วย โดยเฉพาะ เส้นขอบฟ้า
โดยเฉพาะเมื่อคุณ ต้องการที่จะเน้นท้องฟ้าที่สวยงาม โดยที่ให้ คุณจัดองค์ประกอบภาพโดยให้ ท้องฟ้าอยู่
ต่าลงมา แต่ถ้าต้องการ เน้นวัตถุ หรือ วิว ที่อยู่ข้างหน้าก็ให้เน้นที่วัตถุโดยให้ เส้นขอบ
ฟ้าอยู่ในระดับสูงในภาพ
4. Rule of Third
นอกเหนือจากการวางองค์ประกอบของภาพให้อยู่ตรงกลางของภาพแล้ว อยากให้
ลองวิธีการวางองค์ประกอบของภาพแบบใหม่ๆดูกัน ด้วยวิธีการง่ายๆ ขั้นแรกให้แบ่ง หน้าจอ LCD
บนตัวกล้องของคุณออกเป็น 9ส่วน เหมือนในภาพ ทีนี้ลองวางสิ่งที่ ต้องการเน้นในภาพ เช่น
ภาพคนให้อยู่จุดที่เส้นแนวตั้งและแนวนอนตัดกัน โดยวิธีนี้
จะทาให้มีความสมดุลและเป็นธรรมชาติมากกว่าให้คนอยู่ตรงกลางของภาพ ยิ่งไป
กว่านั้นถ้าให้ดวงตาของคนในภาพอยู่ระหว่างจุดตัด จะทาให้ภาพดูนุ่มนวลกว่าอยู่ ตรงกลาง
หรือถ้าคุณต้องการถ่ายภาพวิวโดยจะเน้นส่วนไหนก็ให้ส่วนนั้นที่ต้องการ จะเน้น มีสัดส่วน 2 ต่อ 3
ในภาพ
5. ช่วงเวลาในการถ่ายภาพ
ช่วงเวลาในการถ่ายภาพนั้นก็มีส่วนสาคัญในการถ่ายภาพ
เหมือนกันโดยช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการถ่ายภาพที่แจ้งก็ คือ
ตอนเช้าโดยที่แสงอาทิตย์ในยามเช้านั้นจะให้อารมณ์ ของ ความเป็นธรรมชาติหรือถ้าจะถ่ายดวงอาทิตย์
ช่วง ตอนเย็นๆ ก่อนพระอาทิตย์จะตกเต็มที่ก็จะให้แสงที่ สวยงาม
แต่อย่างไรก็ตามช่วงเวลาที่ควรจะเลี่ยงในการ ถ่ายภาพก็คือ ช่วงกลางวัน หรือตอนบ่ายโมงถึง บ่าย
สองโมง เนื่องจากแสงอาทิตย์ช่วงเวลานี้จะให้แสงจ้าไม่ เป็นธรรมชาติ
6. ถ่ายภาพให้ใกล้ขึ้น
การถ่ายให้ใกล้กับวัตถุมากขึ้นนั้นก็สามารถเปลื่ยนอารมณ์ และสื่อให้เห็นความสวยงาม
ของภาพได้มากยิ่งขึ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การถ่ายภาพ ดอกไม้ที่สวยงาม หรือ แจกัน
คริสตัล โดยการถ่ายภาพระยะใกล้นั้นสามารถทาได้ อย่างง่ายโดยใช้โหมดถ่ายภาพ
Marco ซึ่งมีอยู่ในกล้อง Cyber-shot ทุกรุ่น
7. การถ่ายภาพแบบมีเงาหรือมีเงาสะท้อน
นอกเหนือจากการถ่ายรูปวิว หรือ รูปบุคคลแบบปกติแล้ว การเล่นกับเงาของวัตถุ
หรือการสะท้อนของเงากับ กระจก, ผิวน้า สิ่งที่สะท้อนเงาได้
ก็ถือเป็นแสดงอารมณ์ของภาพอีกรูปแบบหนึ่ง นอกเหนือจากการถ่ายรูปแบบปกติ
8. นาสิ่งที่ต้องการเน้นออกจากตรงกลางของภาพ
การวางภาพไว้ตรงกลางนั้นก็ถือว่าเป็นภาพที่สวยแล้ว
แต่ถ้าลองเปลื่ยนตาแหน่งให้มาอยู่ทางด้านซ้ายหรือทางด้านขวานั้น
ก็จะทาให้ภาพหรือสิ่งที่ต้องการเน้นดูมีสีสันแล้วมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น โดยสามารถใช้หลักการ Rule of
Third ที่ได้นาเสนอในเบื้องต้นมาประยุกต์ประกอบกันได้
9. คุณรู้จักระยะแฟลชของกล้องคุณหรือเปล่า?
สิ่งหนึ่งที่เป็นข้อผิดพลาดในการถ่ายภาพด้วยแฟลชนั้นคือ ถ่ายภาพที่อยู่ระยะเกินกว่าระยะของแฟลช
ทาไมถึงถือเป็นข้อผิดพลาดก็เพราะว่า ภาพที่ถ่ายอยู่เกินระยะแฟลชนั้นจะทาให้ภาพ, ฉากหลัง หรือวัตถุ
นั้นมืดไม่สวยงาม ดังนั้นควรจะรู้ว่าระยะแฟลชของกล้องนั้นมีระยะเท่าไร
แต่ถ้าไม่รู้ก็ให้ลองเล่นกับแฟลชดู แต่โดยปกติแล้วระยะของแฟลชจะอยู่ที่ 1-3 เมตร
ดังนั้นควรให้อยู่ระยะที่ปลอดภัยที่สุดคือ ไม่เกิน 1เมตร
10. เทคนิคการใช้แฟลช
บางคนอาจจะคิดว่าแฟลชนั้นใช้เฉพาะถ่ายภาพตอนกลางคืน แต่จริงๆแล้ว
แฟลชนั้นก็สามารถใช้ในสถานการณ์ที่มีแสงสว่างพอแต่ในหน้าบุคคลในภาพมี ความมืดมาก
ก็สามารถใช้แฟลชช่วยในการทาให้ใบหน้ามีความสว่างยิ่งขึ้น
อันนี้สามารถใช้ในกรณีถ่ายภาพย้อนแสงได้ด้วย

More Related Content

What's hot

7เทคนิคการถ่ายภาพ
7เทคนิคการถ่ายภาพ7เทคนิคการถ่ายภาพ
7เทคนิคการถ่ายภาพsompriaw aums
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพtelecentreacademy
 
นายนภสินธุ์ แผ่พร
นายนภสินธุ์  แผ่พรนายนภสินธุ์  แผ่พร
นายนภสินธุ์ แผ่พร
Gamee Nopnop
 
นายนภสินธุ์ แผ่พร
นายนภสินธุ์  แผ่พรนายนภสินธุ์  แผ่พร
นายนภสินธุ์ แผ่พร
Gamee Nopnop
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
Nara Tuntratisthan
 
Janti55540089
Janti55540089Janti55540089
Janti55540089
Mook Jpd
 
55540089
5554008955540089
55540089
Mook Jpd
 
5Technical photographs
5Technical photographs5Technical photographs
5Technical photographs
Sutthiya Tangnu
 
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7Jele Raviwan Napijai
 
เทคนิคการใช้ photo shop
เทคนิคการใช้ photo shopเทคนิคการใช้ photo shop
เทคนิคการใช้ photo shop
viparatudomrak
 
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
James James
 
กล้องดิจิตอล
กล้องดิจิตอลกล้องดิจิตอล
กล้องดิจิตอลtewlekdee
 
Canon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d ThaiCanon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d Thai
Nara Tuntratisthan
 
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscapeเปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
aucharapon theemcle
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
edtech29
 
Basic Creating Virtual Reality with HDR Panoramic Photography Technique - Day...
Basic Creating Virtual Reality with HDR Panoramic Photography Technique - Day...Basic Creating Virtual Reality with HDR Panoramic Photography Technique - Day...
Basic Creating Virtual Reality with HDR Panoramic Photography Technique - Day...
Rachabodin Suwannakanthi
 
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตรการใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
aucharapon theemcle
 

What's hot (19)

7เทคนิคการถ่ายภาพ
7เทคนิคการถ่ายภาพ7เทคนิคการถ่ายภาพ
7เทคนิคการถ่ายภาพ
 
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
การถ่ายภาพเร่งเวลา (Time-Lapse)
 
คู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพคู่มือถ่ายภาพ
คู่มือถ่ายภาพ
 
นายนภสินธุ์ แผ่พร
นายนภสินธุ์  แผ่พรนายนภสินธุ์  แผ่พร
นายนภสินธุ์ แผ่พร
 
นายนภสินธุ์ แผ่พร
นายนภสินธุ์  แผ่พรนายนภสินธุ์  แผ่พร
นายนภสินธุ์ แผ่พร
 
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทยคู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
คู่มือ Canon EOS 500D ภาษาไทย
 
Janti55540089
Janti55540089Janti55540089
Janti55540089
 
55540089
5554008955540089
55540089
 
5Technical photographs
5Technical photographs5Technical photographs
5Technical photographs
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
การบรรยายครั้งที่ 7 cma 448 บทที่ 7
 
เทคนิคการใช้ photo shop
เทคนิคการใช้ photo shopเทคนิคการใช้ photo shop
เทคนิคการใช้ photo shop
 
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
งานอาจารภูเบศ22610 มุก (1)
 
กล้องดิจิตอล
กล้องดิจิตอลกล้องดิจิตอล
กล้องดิจิตอล
 
Canon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d ThaiCanon Eos1000d Thai
Canon Eos1000d Thai
 
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscapeเปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
เปลี่ยน พื้นหลังให้รูปภาพด้วยโปรแกรมฟรีแวร์ Photoscape
 
Macro phography
Macro phographyMacro phography
Macro phography
 
Basic Creating Virtual Reality with HDR Panoramic Photography Technique - Day...
Basic Creating Virtual Reality with HDR Panoramic Photography Technique - Day...Basic Creating Virtual Reality with HDR Panoramic Photography Technique - Day...
Basic Creating Virtual Reality with HDR Panoramic Photography Technique - Day...
 
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตรการใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
การใช้งาน Photoscape ในการทำรูปติดบัตร
 

Viewers also liked

Innovation in joint health command clinical governance murphy
Innovation in joint health command clinical governance  murphyInnovation in joint health command clinical governance  murphy
Innovation in joint health command clinical governance murphyLeishman Associates
 
ソーシャルニュースの未来 勉強会 newsing資料
ソーシャルニュースの未来 勉強会 newsing資料ソーシャルニュースの未来 勉強会 newsing資料
ソーシャルニュースの未来 勉強会 newsing資料ひでゆき ふじかわ
 
01 introduc.exposicion
01 introduc.exposicion01 introduc.exposicion
01 introduc.exposicionJose Rivas
 
н.платонова портфолио
н.платонова портфолион.платонова портфолио
н.платонова портфолиоNastya Platonova
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBA
sasupe
 
Verkorte Presentatie Promotie Versie 1.2.1
Verkorte Presentatie Promotie Versie 1.2.1Verkorte Presentatie Promotie Versie 1.2.1
Verkorte Presentatie Promotie Versie 1.2.1taalj
 
Electron beams
Electron beamsElectron beams
Electron beams
mrmeredith
 
Photos from greece_by_fred_boissonnas
Photos from greece_by_fred_boissonnasPhotos from greece_by_fred_boissonnas
Photos from greece_by_fred_boissonnasKostas Grigoreas
 
Arquitetura Mundial
Arquitetura MundialArquitetura Mundial
Arquitetura Mundial
Vera Oliveira
 
Séta a kerepesi_temetoben
Séta a kerepesi_temetobenSéta a kerepesi_temetoben
Séta a kerepesi_temetobenAntal Tamas
 
RSC ChemSpider Science Commons Symposium Pacific Northwest #scspn
RSC ChemSpider Science Commons Symposium Pacific Northwest #scspnRSC ChemSpider Science Commons Symposium Pacific Northwest #scspn
RSC ChemSpider Science Commons Symposium Pacific Northwest #scspn
US Environmental Protection Agency (EPA), Center for Computational Toxicology and Exposure
 
Fractals
FractalsFractals
Fractals
Ziogaite
 
BúSqueda BibliográFica En Cinahl
BúSqueda BibliográFica En CinahlBúSqueda BibliográFica En Cinahl
BúSqueda BibliográFica En Cinahlmariajmp
 
Сектор Новых информационных технологий МГДД(Ю)Т
Сектор Новых информационных технологий МГДД(Ю)ТСектор Новых информационных технологий МГДД(Ю)Т
Сектор Новых информационных технологий МГДД(Ю)ТMIREA
 
Pemrograman berorientasi objek ii 13 mengakses sql server melalui visual basic
Pemrograman berorientasi objek ii   13 mengakses sql server melalui visual basicPemrograman berorientasi objek ii   13 mengakses sql server melalui visual basic
Pemrograman berorientasi objek ii 13 mengakses sql server melalui visual basicEdri Yunizal
 
Plástica Turno Mañana Profe Liliana
Plástica Turno Mañana Profe LilianaPlástica Turno Mañana Profe Liliana
Plástica Turno Mañana Profe LilianaBettFra
 
Digital Signal Processing 2009 - LCI MICC -
Digital Signal Processing 2009  - LCI MICC -Digital Signal Processing 2009  - LCI MICC -
Digital Signal Processing 2009 - LCI MICC -
ICL - Image Communication Laboratory
 
Comprehensive Soldier Fitness Concept- Baker
Comprehensive Soldier Fitness Concept- BakerComprehensive Soldier Fitness Concept- Baker
Comprehensive Soldier Fitness Concept- BakerLeishman Associates
 
Reputation Management for Social Business
Reputation Management for Social BusinessReputation Management for Social Business
Reputation Management for Social Business
Duncan Connor
 

Viewers also liked (20)

Innovation in joint health command clinical governance murphy
Innovation in joint health command clinical governance  murphyInnovation in joint health command clinical governance  murphy
Innovation in joint health command clinical governance murphy
 
ソーシャルニュースの未来 勉強会 newsing資料
ソーシャルニュースの未来 勉強会 newsing資料ソーシャルニュースの未来 勉強会 newsing資料
ソーシャルニュースの未来 勉強会 newsing資料
 
01 introduc.exposicion
01 introduc.exposicion01 introduc.exposicion
01 introduc.exposicion
 
н.платонова портфолио
н.платонова портфолион.платонова портфолио
н.платонова портфолио
 
SBU MBA
SBU MBASBU MBA
SBU MBA
 
Verkorte Presentatie Promotie Versie 1.2.1
Verkorte Presentatie Promotie Versie 1.2.1Verkorte Presentatie Promotie Versie 1.2.1
Verkorte Presentatie Promotie Versie 1.2.1
 
Electron beams
Electron beamsElectron beams
Electron beams
 
Portfolio 2010
Portfolio 2010Portfolio 2010
Portfolio 2010
 
Photos from greece_by_fred_boissonnas
Photos from greece_by_fred_boissonnasPhotos from greece_by_fred_boissonnas
Photos from greece_by_fred_boissonnas
 
Arquitetura Mundial
Arquitetura MundialArquitetura Mundial
Arquitetura Mundial
 
Séta a kerepesi_temetoben
Séta a kerepesi_temetobenSéta a kerepesi_temetoben
Séta a kerepesi_temetoben
 
RSC ChemSpider Science Commons Symposium Pacific Northwest #scspn
RSC ChemSpider Science Commons Symposium Pacific Northwest #scspnRSC ChemSpider Science Commons Symposium Pacific Northwest #scspn
RSC ChemSpider Science Commons Symposium Pacific Northwest #scspn
 
Fractals
FractalsFractals
Fractals
 
BúSqueda BibliográFica En Cinahl
BúSqueda BibliográFica En CinahlBúSqueda BibliográFica En Cinahl
BúSqueda BibliográFica En Cinahl
 
Сектор Новых информационных технологий МГДД(Ю)Т
Сектор Новых информационных технологий МГДД(Ю)ТСектор Новых информационных технологий МГДД(Ю)Т
Сектор Новых информационных технологий МГДД(Ю)Т
 
Pemrograman berorientasi objek ii 13 mengakses sql server melalui visual basic
Pemrograman berorientasi objek ii   13 mengakses sql server melalui visual basicPemrograman berorientasi objek ii   13 mengakses sql server melalui visual basic
Pemrograman berorientasi objek ii 13 mengakses sql server melalui visual basic
 
Plástica Turno Mañana Profe Liliana
Plástica Turno Mañana Profe LilianaPlástica Turno Mañana Profe Liliana
Plástica Turno Mañana Profe Liliana
 
Digital Signal Processing 2009 - LCI MICC -
Digital Signal Processing 2009  - LCI MICC -Digital Signal Processing 2009  - LCI MICC -
Digital Signal Processing 2009 - LCI MICC -
 
Comprehensive Soldier Fitness Concept- Baker
Comprehensive Soldier Fitness Concept- BakerComprehensive Soldier Fitness Concept- Baker
Comprehensive Soldier Fitness Concept- Baker
 
Reputation Management for Social Business
Reputation Management for Social BusinessReputation Management for Social Business
Reputation Management for Social Business
 

เทคนิคการถ่ายภาพ

  • 1. เทคนิคการถ่ายภาพ เทคนิคการถ่ายภาพพลุ หลักการถ่ายภาพพลุ การถ่ายภาพพลุก็มีหลักเหมือนการถ่ายภาพทั่วไปคือ ตัวรับแสงควรได้รับแสงในปริมาณที่พอเพียง แต่เนื่องจากพลุมักจุดในเวลาค่าคืนดังนั้น ความเร็วชัตเตอร์จึงมีความสาคัญน้อยมาก สิ่งที่ควบคุมความสว่างหรือมืดของภาพอยู่ที่เอฟนัมเบอร์เป็นหลัก ระยะเวลาในการเปิดปิดชัตเตอร์นั้นมีผลต่อจานวนพลุที่จะปรากฏในภาพ หากใช้เวลาน้อยๆ ก็ได้จานวนน้อย หากใช้เวลานานก็ได้จานวนมาก อย่างไรก็ดีถ้านานเกินไป ภาพพลุก็จะซ้อนกันจนเกิดเป็นภาพ over ได้ และเนื่องจากต้องถ่ายภาพในเวลากลางคืนขาตั้งกล้องมีความสาคัญเป็นอย่างมาก กล้องควรยึดอยู่บนขาตั้งกล้องที่มีความแข็งแรงเพียงพอ การเลือกเอฟนัมเบอร์ เอฟนัมเบอร์ที่เหมาะสมขึ้นกับปัจจัยหลายประการคือ 1. ความสว่างของพลุ พลุแต่ละลูกมีความสว่างแตกต่างกัน พลุที่สว่างมากก็ต้องเปิดหน้ากล้องให้แคบกว่าพลุที่สว่างน้อย อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัติจริงเป็นไปได้น้อยมาก เพราะเราไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าพลุลูกไหนจะสว่างมากหรือน้อย ทั้งนี้เราไม่ต้องกังวลมากนักกับความสว่างของพลุที่ต่างกัน เพราะพลุเป็นแต่แสงสี ที่เคลื่อนที่
  • 2. ไม่มีโทน(tone) ไม่มีรายละเอียด ดังนั้นเพียงแต่เลือกเอฟนัมเบอร์ที่พอบันทึกภาพให้เห็นสีที่ไม่มืดหรือสว่างจนเป็นสีขาวก็ถือว่าเป็นภาพที่ดีแ ล้ว ซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในระหว่าง f8-f16 2. ความไวแสงของ CCD หรือ ISO speed หากเราตั้งความไวแสงของกล้องให้มีค่ามากเช่น 200 หรือ 400 ก็จะทาให้ต้องใช้หน้ากล้องแคบลง แต่เนื่องจากจะมี noise เกิดขึ้นบนภาพ ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงความไวแสงสูงๆ และควรตั้งค่าต่าที่สุดที่กล้องมีให้ เช่นที่ 100หรือ 50 เป็นต้น 3 ระยะทาง หากกล้องอยู่ห่างจากพลุมาก ก็ควรเปิดหน้ากล้องให้มากขึ้นกว่าเดิม โดยใช้ inverse square law หรือ กฏผกผันกาลังสอง กล่าวคือหากระยะทางจากแหล่งกาเนิดแสงอยู่ห่างไปจากเดิมหนึ่งเท่า ปริมาณแสงจะลดลงสองเท่า นั่นคือหากเราถ่ายภาพพลุด้วยระยะห่าง 100เมตรด้วย f/11 แต่ถ้าอยู่ห่างออกไป สองร้อยเมตร ควรใช้ f/8การเลือกชัตเตอร์สปีด ควรใช้ชัตเตอร์ B แต่ถ้ากล้องที่ใช้ไม่มีให้ก็ควรใช้ความเร็ว ประมาณ 2-8 วินาที ขึ้นกับว่า ช่วงเวลานั้นๆ พลุถูกจุดด้วยความถี่มากหรือน้อย เทคนิคการถ่ายภาพ สาหรับกล้องที่มีชัตเตอร์ Bก็ควรพกกระดาษแข็งสีดาไปด้วย แล้วใช้เปิดปิดหน้ากล้องเพื่อเลือกบันทึกแสงจากพลุลูกใดลูกหนึ่งหรือหลายๆ ลูกไปในเฟรมเดียวกัน หากต้องการภาพพลุเพียงลูกใดลูกหนึ่ง ควรสังเกตจุดที่เป็นบริเวณที่วางพลุ หากเห็นแสงหรือควันไฟพุ่งออกมาแสดงว่า พลุได้ถูกจุดแล้ว ซึ่งเราต้องรีบดึงกระดาษดาออกเพื่อบันทึกภาพ พอหมดแสงพลุลูกนั้นก็ต้องรีบปิดกระดาษ หรือ ปิดชัตเตอร์ กรณีนี้ใช้ได้เฉพาะเมื่ออยู่ในทาเลที่ดีมากๆ และพลุไม่ถูกจุดพร้อมๆ กัน เท่านั้น ภาพด้านล่างนี้เป็นภาพที่ผมถ่ายงานแสดงพลุในประเทศญี่ปุ่น อันที่จริงแล้วภาพพลุอย่างเดียวเป็นภาพที่น่าสนใจน้อยกว่า ภาพพลุที่มีแสงจากอาคารบ้านเรือน ประกอบอยู่ในภาพด้วย ภาพแสงไฟจากตึกสวยๆ สะพานโค้ง และอื่นๆ จะทาให้ภาพดูน่าสนใจมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้แล้วหลังพระอาทิตย์ตกดินไม่นานนัก ท้องฟ้ายังมีแสง สนธยาลางๆ ให้เห็นก็จะยิ่งสร้างบรรยากาศให้น่าดู น่าชม
  • 3. เทคนิคการถ่ายภาพ Panorama การถ่ายภาพ Panorama ควรใช้โปรแกรม Panorama assist ที่สามารถเลือกได้ว่าจะถ่ายและหันกล้องเพื่อถ่ายภาพต่อไป จากทางขวาไปทางซ้าย หรือจากทางซ้ายมาทางขวา (ปกติจะถ่ายจากขวาไปซ้าย) หรือจากบนลงมาข้างล่าง หรือจากล่างขึ้นข้างบนก็ได้ โดยกดแป้นMultiselector (แป้นบังคับทิศทาง 4ทิศ) และดูรูปสามเหลี่ยมว่าชี้ไปทางไหน แต่ต้องใช้ขาตั้งกล้องเสมอ เพื่อการช่วยในการรักษาระดับของการแพนกล้องจะทาให้ได้รับความสะดวก และแน่นอนมากขึ้น เมื่อใช้โหมดนี้ และเลือกถ่ายจากทางขวาไปทางซ้าย หลังจากเริ่มถ่ายภาพแรกแล้ว กล้องจะล็อคค่าแสงและโฟกัสไว้ เพื่อการถ่ายภาพต่อไปจะได้ความสว่างคงที่ เวลานาภาพไปต่อกันจะได้สีและแสงที่เท่ากันทั้งหมด เมื่อถ่ายภาพแรกเสร็จแล้ว ในจอภาพจะเห็นภาพเดิมทางด้านขวาประมาณ 1/3 ของภาพ (ลักษณะเป็นเงา อยู่ในจอภาพทางซ้าย เพื่อเวลาแพน(หัน)กล้อง ก็ควรให้ภาพเดิมทับภาพใหม่ในจอ จะได้รู้ว่าจะต้องหันไปประมาณเท่าใด และถ่ายภาพต่อๆ จนครบตามที่ต้องการ เมื่อถ่ายภาพชุดแรกครบตามต้องการแล้ว ให้กดปุ่ม OKหรือ Enter กล้องจะเลิกการล็อคค่าแสง เมื่อถ่ายชุดใหม่ก็จะเก็บภาพไว้ในโฟลเดอร์ใหม่ และเริ่มล็อคค่าแสงใหม่ *TIP* ก่อนถ่ายภาพควรปรับระยะซูมเลนส์ไว้ในช่วงกลางๆ และถ่ายภาพเพื่อนาไปต่อกันไม่เกิน 16
  • 4. ภาพต่อชุด การถ่ายควรถ่ายติดต่อกันไปจนครบ เพราะถ้าเว้นช่วงเวลานานเกินไป ระบบวัดแสงของกล้องดับไป(เพราะถึวเวลาที่ตั้งให้กล้องปิดเองอัตโนมัติ) และที่สาคัญคือสภาพแสงของบริเวณที่ถ่ายอาจเปลี่ยนแปลงได้ สาหรับกรณีที่ในตัวกล้องไม่มีโปรแกรม Panorama assist เพื่อการถ่ายภาพพาโนรามา การถ่ายภาพในลักษณะดังกล่าวก็สามารถทาได้เช่นเดียวกัน เพียงแต่ใช้วิธีการจดจาหรือความเป็นคนช่างสังเกตเล็กน้อย โดยไม่ว่าจะเป็นการถ่ายจากขวาเลื่อนไปทางซ้าย หรือกลับกัน ก็จะต้องถ่ายภาพโดยจะต้องมีส่วนที่เป็นส่วนของภาพเดิม ประมาณ 15-20% เพื่อใช้เป็นส่วนที่ใช้ในการภาพ ในขั้นต่อไป *Tip* ต้องใช้ขาตั้งกล้องเสมอ และใช้ระบบล็อคค่าแสงไว้ และเมื่อถ่ายภาพแล้วก็หันกล้องโดยปรับให้ภาพมีการเหลื่อมกันประมาณ หนึ่งในสามของภาพ หรือเกือบครึ่งภาพก็ได้ การเลือกใช้เลนส์ ควรเป็นเลนส์ขนาดมาตรฐาน คือความยาวโฟกัสประมาณ 50 mm แต่ถ้าเป็นเลนส์ซูม ก็ควรปรับไว้ประมาณนี้ เพราะเป็นเลนส์ช่วงที่มีการบิดเบี้ยวของภาพน้อย (เวลาต่อภาพจะต่อได้ง่าย และสวยงาม) เสร็จแล้วนาภาพชุดดังกล่าวไปต่อให้เป็นภาพเดียวกันโดยใช้โปรแกรม Panorama Maker ที่มีแถมให้ในชุด CD-ROM ที่มาพร้อมกล้อง Coolpix ทุกรุ่น แต่จะไม่มีในกล้อง D-SLR การใช้งานโปรแกรม Panorama maker ปกติโปรแกรมนี้จะมาพร้อมกับโปรแกรม Nikon View หรือ PictureProject เมื่อลงโปรแกรมแล้ว จะมีโปรแกรม Panorama Maker ลงในคอมพิวเตอร์ด้วย เวลาจะใช้ต้องเปิดโปรแกรมPanorama Maker ขึ้นมาก่อน จะมีหน้าต่าง Panorama Maker 3  ให้คลิกปุ่ม "Start" จะมีหน้าต่างทางาน ให้เลือกว่าลักษณะของภาพที่จะต่อเป็นการต่อแบบใด เช่นต่อแนวนอน (Horiz), แนวตั้ง (Vert),ต่อเป็นวงกลม (360o) หรือเทียบภาพ (Tile)  เลือกชนิดของเลนส์ที่ใช้ "Camera Lens" แต่ถ้าไม่ทราบก็ให้เลือกแบบ Automatic ต่าลงมามีช่องเพื่อเลือกขนาดภาพ เช่นMedium (For display), Original (For print) และ Small (For web) ให้เลือกเป็น Original สาหรับจะนาไปอัดขยายภาพ เสร็จแล้วคลิกที่ Next  ตอนมุมล่างขวาจะมีหน้าต่างทางานใหม่ขึ้นมา คลิกที่ปุ่ม Add จะมีหน้าต่างให้เลือกภาพจากโฟลเดอร์ที่ต้องการ(แนะนาให้กาหนดเป็นโฟลเดอร์ใหม่) และไปเลือกรูปที่จะนามาต่อทั้งหมด(แต่ต่องไม่เกิน 16 ภาพ)  *TIP* เพื่อความสะดวกควรโหลดภาพที่ต้องการต่อไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ก่อนจะสะดวกที่สุด  คลิกที่ Open ภาพจะมาปรากฏในช่องตอนบน ถ้าภาพเรียงตามลาดับถูกต้อง ก็คลิกที่ปุ่ม Include All
  • 5. หรือจะเลือกภาพแล้วคลิกที่ปุ่ม Include ย้ายทีละภาพก็ได้  เมื่อครบแล้วก็คลิกที่ปุ่ม Next โปรแกรมจะต่อภาพให้จนเสร็จ ถ้ามีช่วงไหนยังต่อไม่เรียบร้อย ให้คลิกที่เครื่องมือ Fine Tune (รูปไขควง) แล้วเลื่อมเม้าส์ไปคลิกที่ช่วงที่ต่อไม่สนิท จะมีรูป 2 รูปขึ้นมาเทียบให้ ก็เลือกปุ่มสาหรับชี้ หมายเลข 1, 2, 3 ให้ชี้ที่จุดเดียวกันในแต่ละภาพ ควรชี้จุดที่ห่างออกไปในแนวนอน เสร็จแล้วคลิกที่ปุ่ม Okโปรแกรมจะแก้ไขให้ใหม่ เมื่อเรียบร้อยแล้วก็คลิกที่ Finish และคลิกที่ปุ่ม Save เพื่อSaveภาพไว้ในโฟลเดอร์ตามต้องการ เหมือนการ Save ภาพตามปกติ เทคนิคการถ่ายภาพมาโคร มาโคร หรือการถ่ายภาพใกล้เน้นรายละเอียดของตัวแบบ อาวุธที่ถูกใช้มากที่สุดก็คือ เลนส์มาโคร 90มม. หรือ 180 มม. พร้อมวิธีการเซตแฟลชภายนอกของกล้องที่เหมาะสม Nikon หรือ Canon , Sigma หรือ Tamron คุณเลือกใช้ตามกล้องของคุณ แต่เมื่อคุณเริ่มต้นกิจกรรมที่น่าตื่นเต้นนี้คุณต้องทาความข้าใจอะไรบางอย่าเสียก่อน ความระทึกใจในการไล่ล่า และแรงกระตุ้นขั้นสูงสุดคือการสร้างสรรค์ภาพที่ยิ่งใหญ่ของสิ่งมีชีวิตที่หายาก มันมากกว่าการนาภาพมาเปรียบเทียบกันเพียงอย่างเดียว การถ่ายภาพมาโครนั้นต้องใช้ความรู้ความเข้าใจ และเทคนิคบางอย่างที่แตกต่างออกไป จากการถ่ายภาพบุคคล หรือ การถ่ายภาพสถานที่พอสมควร โฟกัส การสร้างความคมชัด เฉพาะส่วนสาคัญ: ด้วยเลนส์ AF มาโคร ที่หลากหลายทั้งจากของค่ายกล้องโดยตรงและจากค่ายอิสระต่างๆใน ตลาดปัจจุบันนี้โดยทั่วไปก็ใช้งานได้อย่างดี สิ่งที่ควรคิดคือการเลือกใช้ระบบ ออโต้โฟกัสและแมนวลโฟกัส ที่จะนาไปสู่ผลลัพธ์ที่คุณต้องการ
  • 6. สิ่งสาคัญบางสิ่งที่ควรจาเมื่อทาการโฟกัสภาพ: 1. เนื่องจากคุณกาลังใช้เลนส์เทเลโฟโต้ที่ให้ภาพขนาด 1/1 คุณจะได้ภาพที่มีความชัดตื้นเสมอด้วยผลที่เกิดจากการใช้เลนส์เทเลโฟโต้นั้น หมายความว่าหากคุณถ่ายภาพที่รูรับแสง f9(เห็นเหมือนชัดทั่วทั้งภาพ) ระยะความชัดของภาพที่เกิดขึ้นจะมีเพียงล็กน้อย ทุกครั้งที่ถ่ายภาพแมลงโดยโฟกัสไปที่หัวขนาดเล็กของแมลง จะได้ผลเช่นเดียวกับที่สายตามนุษย์ได้รับคือความชัดของภาพจะอยู่ที่จุดโฟกัสเท่านั้น เหตุผลเดียวกันนี้สามารถใช้กับการถ่ายภาพบุคคลด้วยเช่นกัน ดังนั้น เมื่อตาของคุณแนบอยู่กับกล้องต้องให้ความสาคัญกับการโฟกัสทุกครั้ง 2. ถ้าระบบออโต้โฟกัสของคุณไม่สามารถจับภาพได้ดีนัก ให้ตั้งกล้องของคุณในจุดที่ใกล้ที่สุดที่ลนส์สามารถให้อัตราการขยายสูงสุด ปิดระบบออโต้โฟกัสซะ แล้วใช้การเคลื่อนกล้องเข้าไปให้ใกล้ขึ้นหรือถอยห่างแทน 3. ถ้าแมลงหรือคุณมีการเคลื่อนไหว คุณอาจจะต้องใช้โหมดออโต้โฟกัสติดตามวัตถุ เช่น AISero (Canon) หรือ GroupDynamic (Nikon) ร่วมกับระบบถ่ายภาพต่อเนื่องเพื่อให้ได้ภาพที่โฟกัสได้ตามต้องการ ขาตั้งกล้อง: อย่าออกจากบ้านโดยเด็ดขาดถ้าไม่มีขาตั้งกล้อง เพราะไม่มีใครที่จะสามารถแบบทั้งกล้อง, เลนส์มาโคร 180 มม., แฟลชภายนอก และแผ่นรีเฟ็ค ได้พร้อมๆ กันด้วยสองมืออย่างแน่นอน แสงธรรมชาติคือแสงที่ดีที่สุดในการถ่ายภาพ แต่แมลงที่มุดซ่อนอยู่ใต้แผ่นใบไม้ขนาดใหญ่ซึ่งมืดทึบทึมนั้น จะสร้างความลาบากในการวัดแสง ใช้ขาตั้งกล้องแบบไตรพอดที่แข็งแรงเมื่อต้องการถ่ายภาพดอกไม้ หรือใช้ขาตั้งแบบโมโนพอดเมื่อถ่ายภาพแมลงที่กาลังเคลื่อนไหวอยู่ เพื่อให้เลนส์มาโครของคุณสาแดงประสิทธิภาพได้สูงสุด แฟลช:
  • 7. อย่างที่เข้าใจว่าแสงธรรมชาติคือแสงที่ดีที่สุดในการถ่ายภาพ แต่ร่มเงาของใบไม้และกิ่งก้านสาขาของต้นไม้จะทาให้สีสันของตัวแมลงดูแบนราบ การใช้แสงแฟลชฟิลอินในบางส่วนของตัวแบบ จะเพิ่มความสว่างและสร้างมิติให้แบบได้มากขึ้น 1. ตั้งค่าแฟลชให้อยู่ในโหมด rear curtain sync แสงแฟลชจะถูกปล่อยให้แสงธรรมชาติโดยรอบได้ทาหน้าที่เรียบร้อยแล้ว ซึ่งแสงแฟลชที่เพิ่มเข้าไปนั้นจะเป็นแสงขาวที่เพิ่มเข้าไปในตอนสุดท้าย โดยแสงที่ได้นั้นจะไม่ทาให้ภาพออกมาดูโอเวอร์ 2. สาหรับบางคนที่มีกาลังทรัพย์ที่ดีพอนั้นสามารถหาแฟลชที่ออกแบบมาเพื่อการถ่ายภาพมาโครโดยเฉพา ะมาใช้ได้อย่างเช่นริงแฟลช SU800_SBR200 ของ Nikon ริงแฟลชสามารถควบคุมได้อย่างง่ายดาย โดยแสงแฟลชที่ออกมาจะตกลงบนตัวซับเจคโดยที่ไม่ไปบดบังหน้าเลนส์ทาให้เกิดส่วนมืดขึ้นในภาพ ด้วยการออกแบบมาเป็นอย่างดี อีกแนวทางที่สามารถให้ผลคล้ายกันก็คือการแยกแฟลชออกจากตัวกล้องโดยใช้สายพ่วงแฟลช เพื่อให้แสงแฟลชตกลงบนตัวแบบได้ตามความต้องการของผู้ถ่าย 3. สิ่งที่ควรจาอีกเรื่องหนึ่งก็คือการใช้ ซอฟต์บาซ์ ครอบไว้ที่หัวแฟลชของคุณเพื่อกระจายแสงแฟลชให้มากขึ้น การเลื่อนไหว: ดอกไม้และต้นไม้ไม่ได้นอนนิ่งให้เราได้ถ่ายภาพตลอดเวลา แมลงเช่นกันมันจะบินวนไปตามที่ต่างๆ เพื่อหาอาหารหรือแม้แต่การหาคู่ (ซึ่งในบางครั้งก็น่าสนใจไม่น้อย) ดังนั้นเราจึงมีข้อแนะนาเล็กๆ น้อยๆ เกี่ยวกับเรื่องลมและการเคลื่อนที่ การใช้ระบบออโต้โฟกัส และนี้เป็นเทคนิคบางอย่างที่เราอยากนาเสนอ 1. ใช้ร่างกายของคุณบังดอกไม้จากลมที่พัดเข้ามา 2. มองหาสถานที่ที่เป็นร่มเงาและไม่มีลมพัด (บ่อยครั้งที่สถานที่แบบนี้เหมาะแก่การเฝ้าดูผีเสื้อที่บินมาพัก) 3. พยายามถ่ายภาพในตอนเช้าก่อนที่พื้นดินจะร้อนมากขึ้นและเป็นเหตุให้เกิดลมที่ร้อนตามมาด้วย 4. ก้มต่าลงบนพื้น 5. คิดถึงเรื่องสิ่งที่ช่วยยึดจับต้นไม้ด้วย เพื่อให้ได้มุมภาพที่ต้องการ (ไม่ควรตัดหรือทาลายต้นไม้) 6. ศึกษาถึงธรรมชาติของแมลงที่คุณต้องการว่ามันควรจะมุ่งหน้าไปที่ใด โดยวิเคราะห์จากสายพันธุ์ของมัน ว่ากินอาหารแบบใด ดอกไม้อะไร ที่มันชื่นชอบ 7. ใช้ระบบออโต้โฟกัสให้คล่องแคล่ว
  • 8. ช่วงความชัด: การรู้จักกล้องของคุณมากขึ้นจะทา ให้คุณถ่ายภาพแมลงและดอกไม้ได้ ในทุกๆ อากัปกิริยา ปัญหาก็คือหากคุณไม่เข้าใจเรื่องขอ งระยะความชัดมันจะทาให้คุณลาบ ากแน่นอน ดังนั้นเราจะบอกทริคในการแก้ปัญ หาเรื่องช่วงความชัดที่ชัดตื้นให้ทดลองดู 1. เซตตัวคุณและกล้องของคุณให้อยู่ขนานกับแมลงที่เล็งไว้ ทาให้แน่ใจว่าอยู่ในแนวเส้นตรงแล้วและควรให้หัวและหางของแมลงตัวนั้นอยู่ในโฟกัสด้วย 2. ใช้รูรับแสงที่เล็กอย่าง f9หรือ f11 หรือใหญ่กว่าเล็กน้อย 3. ใช้ปุ่มเช็คชัดลึกตรวจดูภาพทุกครั้งหากกล้องของคุณมี 4. ใช้แฟลชเมื่อคุณต้องการแสงเพิ่มบนตัวแบบเพื่อเพิ่มรูรับแสงและความเร็วชัดเตอร์ที่มากขึ้นตามที่คุณต้อ งการ 10 เทคนิคการถ่ายภาพอย่างง่าย 1. ทากล้องให้มั่นคงไม่สั่นไหว ปัญหาหาการถ่ายภาพออกมาแล้วไม่ชัดถือว่าเป็นปัญหาหลัก แต่มีเทคนิคง่ายๆที่ สามารถทาได้ถ่ายภาพได้ดีขึ้น ซึ่งจะช่วยให้คุณมั่นใจได้ว่าภาพที่ออกมาจะไม่มีสั่น ไหว สิ่งที่ดีที่จะช่วยไม่ให้ภาพสั่นไหวคือ การใช้ขาตั้งกล้องในการถ่ายภาพ แต่ถ้า คุณไม่มีขาตั้งกล้อง หรือไปใน สถานที่ไม่สามารถนาขาตั้งกล้องไปได้ ก็ให้หา สถานที่หรือสิ่งของที่สามารถวางกล้องได้ เช่น บนโต๊ะ, ฝากระโปรงรถ, หรืออะไรก็ ตามที่สามารถวางกล้องได้ แต่ถ้ายังไม่มีอยากให้ทาตามวิธีง่าย 4 ขั้นตอนตามนี้ 1. ถือกล้องด้วย 2มือ 2. ให้ข้อศอกอยู่ในระดับหน้าอก และให้แขนแนบชิดกับลาตัว
  • 9. 3. อย่าเกรงปล่อยตัวตามสบาย 4. หายใจลึกๆ และให้กลั้นหายในระหว่างที่กาลังจะกดซัตเตอร์ เพื่อไม่ให้มือสั่นในระหว่างการกดซัตเตอร์ 2. การถ่ายภาพแนวนอนกับแนวตั้ง ในการถ่ายภาพนั้นอยากให้ลองถ่ายรูปในแบบแนวนอน ปกติ และ แบบแนวตั้งดูบ้าง ในบางสถานการณ์การ ถ่ายภาพแบบแนวตั้งและแนวนอนจะให้อารมณ์ของ ภาพที่ออกมานั้นต่างกันไปด้วย เช่นในการถ่ายภาพตึก หรือต้นไม้ หรือวัตถุที่มีความสูง เมื่อถ่ายภาพในแนวตั้ง จะแสดงออกถึงความสูงได้อย่างเด่นชัด และถ้า ต้องการจะสื่อให้เห็นถึงความกว้าง ก็ให้ถ่ายในลักษณะ แนวนอน ซึ่งจะเหมาะสมกับการถ่ายภาพวิว 3. การวางเส้นขอบฟ้ าในการถ่ายวิว เทคนิคในการถ่ายภาพวิวให้สวยนั้นควร คานึงถึงการจัดองค์ประกอบของภาพด้วย โดยเฉพาะ เส้นขอบฟ้า โดยเฉพาะเมื่อคุณ ต้องการที่จะเน้นท้องฟ้าที่สวยงาม โดยที่ให้ คุณจัดองค์ประกอบภาพโดยให้ ท้องฟ้าอยู่ ต่าลงมา แต่ถ้าต้องการ เน้นวัตถุ หรือ วิว ที่อยู่ข้างหน้าก็ให้เน้นที่วัตถุโดยให้ เส้นขอบ ฟ้าอยู่ในระดับสูงในภาพ
  • 10. 4. Rule of Third นอกเหนือจากการวางองค์ประกอบของภาพให้อยู่ตรงกลางของภาพแล้ว อยากให้ ลองวิธีการวางองค์ประกอบของภาพแบบใหม่ๆดูกัน ด้วยวิธีการง่ายๆ ขั้นแรกให้แบ่ง หน้าจอ LCD บนตัวกล้องของคุณออกเป็น 9ส่วน เหมือนในภาพ ทีนี้ลองวางสิ่งที่ ต้องการเน้นในภาพ เช่น ภาพคนให้อยู่จุดที่เส้นแนวตั้งและแนวนอนตัดกัน โดยวิธีนี้ จะทาให้มีความสมดุลและเป็นธรรมชาติมากกว่าให้คนอยู่ตรงกลางของภาพ ยิ่งไป กว่านั้นถ้าให้ดวงตาของคนในภาพอยู่ระหว่างจุดตัด จะทาให้ภาพดูนุ่มนวลกว่าอยู่ ตรงกลาง หรือถ้าคุณต้องการถ่ายภาพวิวโดยจะเน้นส่วนไหนก็ให้ส่วนนั้นที่ต้องการ จะเน้น มีสัดส่วน 2 ต่อ 3 ในภาพ 5. ช่วงเวลาในการถ่ายภาพ ช่วงเวลาในการถ่ายภาพนั้นก็มีส่วนสาคัญในการถ่ายภาพ เหมือนกันโดยช่วงเวลาที่เหมาะสมกับการถ่ายภาพที่แจ้งก็ คือ ตอนเช้าโดยที่แสงอาทิตย์ในยามเช้านั้นจะให้อารมณ์ ของ ความเป็นธรรมชาติหรือถ้าจะถ่ายดวงอาทิตย์ ช่วง ตอนเย็นๆ ก่อนพระอาทิตย์จะตกเต็มที่ก็จะให้แสงที่ สวยงาม แต่อย่างไรก็ตามช่วงเวลาที่ควรจะเลี่ยงในการ ถ่ายภาพก็คือ ช่วงกลางวัน หรือตอนบ่ายโมงถึง บ่าย สองโมง เนื่องจากแสงอาทิตย์ช่วงเวลานี้จะให้แสงจ้าไม่ เป็นธรรมชาติ
  • 11. 6. ถ่ายภาพให้ใกล้ขึ้น การถ่ายให้ใกล้กับวัตถุมากขึ้นนั้นก็สามารถเปลื่ยนอารมณ์ และสื่อให้เห็นความสวยงาม ของภาพได้มากยิ่งขึ่น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การถ่ายภาพ ดอกไม้ที่สวยงาม หรือ แจกัน คริสตัล โดยการถ่ายภาพระยะใกล้นั้นสามารถทาได้ อย่างง่ายโดยใช้โหมดถ่ายภาพ Marco ซึ่งมีอยู่ในกล้อง Cyber-shot ทุกรุ่น 7. การถ่ายภาพแบบมีเงาหรือมีเงาสะท้อน นอกเหนือจากการถ่ายรูปวิว หรือ รูปบุคคลแบบปกติแล้ว การเล่นกับเงาของวัตถุ หรือการสะท้อนของเงากับ กระจก, ผิวน้า สิ่งที่สะท้อนเงาได้ ก็ถือเป็นแสดงอารมณ์ของภาพอีกรูปแบบหนึ่ง นอกเหนือจากการถ่ายรูปแบบปกติ
  • 12. 8. นาสิ่งที่ต้องการเน้นออกจากตรงกลางของภาพ การวางภาพไว้ตรงกลางนั้นก็ถือว่าเป็นภาพที่สวยแล้ว แต่ถ้าลองเปลื่ยนตาแหน่งให้มาอยู่ทางด้านซ้ายหรือทางด้านขวานั้น ก็จะทาให้ภาพหรือสิ่งที่ต้องการเน้นดูมีสีสันแล้วมีชีวิตชีวามากยิ่งขึ้น โดยสามารถใช้หลักการ Rule of Third ที่ได้นาเสนอในเบื้องต้นมาประยุกต์ประกอบกันได้ 9. คุณรู้จักระยะแฟลชของกล้องคุณหรือเปล่า? สิ่งหนึ่งที่เป็นข้อผิดพลาดในการถ่ายภาพด้วยแฟลชนั้นคือ ถ่ายภาพที่อยู่ระยะเกินกว่าระยะของแฟลช ทาไมถึงถือเป็นข้อผิดพลาดก็เพราะว่า ภาพที่ถ่ายอยู่เกินระยะแฟลชนั้นจะทาให้ภาพ, ฉากหลัง หรือวัตถุ นั้นมืดไม่สวยงาม ดังนั้นควรจะรู้ว่าระยะแฟลชของกล้องนั้นมีระยะเท่าไร แต่ถ้าไม่รู้ก็ให้ลองเล่นกับแฟลชดู แต่โดยปกติแล้วระยะของแฟลชจะอยู่ที่ 1-3 เมตร ดังนั้นควรให้อยู่ระยะที่ปลอดภัยที่สุดคือ ไม่เกิน 1เมตร 10. เทคนิคการใช้แฟลช บางคนอาจจะคิดว่าแฟลชนั้นใช้เฉพาะถ่ายภาพตอนกลางคืน แต่จริงๆแล้ว แฟลชนั้นก็สามารถใช้ในสถานการณ์ที่มีแสงสว่างพอแต่ในหน้าบุคคลในภาพมี ความมืดมาก ก็สามารถใช้แฟลชช่วยในการทาให้ใบหน้ามีความสว่างยิ่งขึ้น อันนี้สามารถใช้ในกรณีถ่ายภาพย้อนแสงได้ด้วย