SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
แบ่งตามความข้นได้ 4 ชนิดคือ
 ชนิดเหลว Light body or syringe consistency
 ชนิดเหลวปานกลาง Medium body or regular consistency
 ชนิดข้น Heavy body or tray consistency
 ชนิดข้นคล้ายดินน้ามัน หรือชนิดข้นมาก Very heavy body or putty consistency
รูปวัสดุ ส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยา ความหนืด สมบัติเด่น
ส่วนพื้นฐาน ประกอบด้วยซิลิโคนพอลิเมอร์ ที่มีน้าหนักโมเลกุลต่าปานกลาง
กลุ่มpolydimethyl siloxane
ตัวเร่ง ประกอบด้วยพอลิเมอร์ น้าหนักโมเลกุลต่า มีกลุ่มไวนิลอยู่ที่ปลายห่วงโซ่และ
วัสดุตัวเติม มีchloroplatinic acid เป็นตัวเร่ง
ตัวหน่วง (retarder) เป็นของเหลว ประกอบด้วยโพลิเมอร์ที่มีน้าหนักโมเลกุลต่า
เป็นพอลิเมอร์ชนิดเดียวกับในส่วนพื้นฐาน จะเป็นตัวเพิ่มเวลาทางาน และเวลาก่อตัว
ส่วนประกอบรูปวัสดุ ส่วนประกอบ ความหนืด สมบัติเด่น
 Additional polymerization : No byproducts
 ซิลิโคนชนิดเติม เมื่อสัมผัสกับถุงมือลาเท็กซ์ ทาให้ก่อตัวช้าลงหรืออาจไม่ก่อตัว
การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ส่วนประกอบ ความหนืด สมบัติเด่น
วัสดุพิมพ์ปากชนิดอิลาสโตเมอร์ เป็นวัสดุที่มีสมบัติข้นหนืด (viscoelastic)
ซิลิโคนมีความหนืดน้อยกว่าชนิดอื่น ทาให้ผสมได้ง่าย มีเวลาทางานสั้นกว่า
พอลิซัลไฟด์ แต่นานกว่าพอลิอีเทอร์
ความหนืดส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ สมบัติเด่น
Short setting time
Addition silicone is extremely hydrophobic
ความทนต่อแรงฉีกขาด (tear strength) เป็นความสามารถของวัสดุที่ทนต่อ
แรงฉีกขาด
Polysulphide>addition silicone>condensation silicone>polyether
วัสดุพิมพ์ประเภทอิลาสโตเมอร์ เมื่อแข็งตัวมีความยืดหยุ่น สามารถดึงผ่านความป่องของ
ตัวฟันหรือสันเหงือกได้
Addition silicone>condensation silicone>polyether> polysulphide
ซิลิโคนชนิดเติมมีการคืนตัวกลับลักษณะเดิมดีที่สุด
สมบัติเด่นส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ความหนืด
มีปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ เป็นชนิดการเกิดพอลิเมอร์ด้วยไอออน
(ionic polymerization)
การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิเพิ่มขึ้น จะทาให้วัสดุพิมพ์อิลาสโตเมอร์
ก่อตัวเร็วขึ้น นั่นคือเวลาทางานและเวลาก่อตัวจะลดลง
ซิลิโคนชนิดเติม มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะก่อตัว (dimensional change on
setting) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในช่วงเวลาหลังจากดึงรอยพิมพ์ออกจาก
ปากผู้ป่วยแล้ว 2 นาที จนถึง 24 ชั่วโมง น้อยที่สุดประมาณ ร้อยละ 5
สมบัติเด่นส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ความหนืด
แบ่งตามความข้นได้ 4 ชนิดคือ
 ชนิดเหลว Light body or syringe consistency
 ชนิดเหลวปานกลาง Medium body or regular consistency
 ชนิดข้น Heavy body or tray consistency
 ชนิดข้นคล้ายดินน้ามัน หรือชนิดข้นมาก Very heavy body or putty consistency
รูปวัสดุ ส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยา ความหนืด สมบัติเด่น
 ส่วนพื้นฐาน คือ Polydimethyl siloxane เป็นซิลิโคนพอลิเมอร์ที่มีน้ามวลโมเลกุลค่อนข้างต่า มีกลุ่ม
ไวต่อปฏิกิริยาเป็นกลุ่มไฮดร็อกซิลอยู่ที่ปลายห่วงโซ่
 วัสดุเติม เป็น copper carbonate หรือ silica
 ส่วนเร่ง อาจเป็นของเหลว ประกอบด้วย stanneous octoate เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และ alkyl silicate
เป็นตัวทาปฏิกิริยา
ส่วนประกอบรูปวัสดุ ส่วนประกอบ ความหนืด สมบัติเด่น
 ปฏิกิริยาระหว่างส่วนพื้นฐานกับตัวเร่ง
เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน อุณหภูมิเพิ่มขึ้นประมาณ 1 C ทาให้เกิดสารลักษณะคล้ายยาง
โมเลกุลกลายเป็นตาข่าย3มิติ และให้ethyl alcohol เป็นผลพลอยได้
 ปฏิกิริยาการก่อตัว
เป็นปฏิกิริยาการเกิดแบบ Condensation polymerization
การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ส่วนประกอบ ความหนืด สมบัติเด่น
เกิดจากปัจจัยต่างๆดังนี้
 วัสดุตัวเติม copper carbonate กับ silica
 น้าหนักโมเลกุลของ Polydimethyl siloxane
ความหนืดส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ สมบัติเด่น
• ปฏิกิริยาระหว่างส่วนพื้นฐานกับตัวเร่ง ได้ผลพลอยได้ คือ
ethyl alcohol
• หลังจากดึงรอยพิมพ์ออกจากปากแล้ว ซิลิโคนชนิดควบแน่นจะยังคงมีปฏิกิริยา
การก่อตัวไปอีก 2 สัปดาห์หรือมากกว่า
• มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะก่อตัวมากกว่าชนิดเติม เนื่องจากมีการหดตัวจาก
การระเหยของผลพลอยได้ที่เกิดขึ้น
สมบัติเด่นส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ความหนืด
สมาชิก

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

Elastomers
ElastomersElastomers
Elastomers
 
Principle of tooth preparation
Principle of tooth preparationPrinciple of tooth preparation
Principle of tooth preparation
 
Polyethers and polysulfides
Polyethers and polysulfidesPolyethers and polysulfides
Polyethers and polysulfides
 
cements.pptx
cements.pptxcements.pptx
cements.pptx
 
History of dentures
History of denturesHistory of dentures
History of dentures
 
Rheological properties (physical properties) of dental materials
Rheological properties (physical properties) of dental materialsRheological properties (physical properties) of dental materials
Rheological properties (physical properties) of dental materials
 
Denture base materials
Denture base materialsDenture base materials
Denture base materials
 
Model and die material
Model and die materialModel and die material
Model and die material
 
2022 Elastomeric impression materials lec 9.pptx
2022 Elastomeric impression materials lec 9.pptx2022 Elastomeric impression materials lec 9.pptx
2022 Elastomeric impression materials lec 9.pptx
 
Dental composites
Dental composites Dental composites
Dental composites
 
Impression materials
Impression materialsImpression materials
Impression materials
 
Investment materials
Investment materialsInvestment materials
Investment materials
 
Glass ionomer
Glass ionomer Glass ionomer
Glass ionomer
 
Elastomeric impression materials
Elastomeric impression materialsElastomeric impression materials
Elastomeric impression materials
 
Alloys in fpd /dental education courses
Alloys in fpd /dental education coursesAlloys in fpd /dental education courses
Alloys in fpd /dental education courses
 
Casting procedure and casting defects
Casting procedure and casting defectsCasting procedure and casting defects
Casting procedure and casting defects
 
Dental polymer part 1
Dental polymer part 1Dental polymer part 1
Dental polymer part 1
 
Gic
GicGic
Gic
 
Dental cements part 1
Dental cements part 1Dental cements part 1
Dental cements part 1
 
Finishing and polishing
Finishing and polishingFinishing and polishing
Finishing and polishing
 

วัสดุพิมพ์ซิลิโคน

  • 1.
  • 2. แบ่งตามความข้นได้ 4 ชนิดคือ  ชนิดเหลว Light body or syringe consistency  ชนิดเหลวปานกลาง Medium body or regular consistency  ชนิดข้น Heavy body or tray consistency  ชนิดข้นคล้ายดินน้ามัน หรือชนิดข้นมาก Very heavy body or putty consistency รูปวัสดุ ส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยา ความหนืด สมบัติเด่น
  • 3. ส่วนพื้นฐาน ประกอบด้วยซิลิโคนพอลิเมอร์ ที่มีน้าหนักโมเลกุลต่าปานกลาง กลุ่มpolydimethyl siloxane ตัวเร่ง ประกอบด้วยพอลิเมอร์ น้าหนักโมเลกุลต่า มีกลุ่มไวนิลอยู่ที่ปลายห่วงโซ่และ วัสดุตัวเติม มีchloroplatinic acid เป็นตัวเร่ง ตัวหน่วง (retarder) เป็นของเหลว ประกอบด้วยโพลิเมอร์ที่มีน้าหนักโมเลกุลต่า เป็นพอลิเมอร์ชนิดเดียวกับในส่วนพื้นฐาน จะเป็นตัวเพิ่มเวลาทางาน และเวลาก่อตัว ส่วนประกอบรูปวัสดุ ส่วนประกอบ ความหนืด สมบัติเด่น
  • 4.  Additional polymerization : No byproducts  ซิลิโคนชนิดเติม เมื่อสัมผัสกับถุงมือลาเท็กซ์ ทาให้ก่อตัวช้าลงหรืออาจไม่ก่อตัว การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ส่วนประกอบ ความหนืด สมบัติเด่น
  • 5. วัสดุพิมพ์ปากชนิดอิลาสโตเมอร์ เป็นวัสดุที่มีสมบัติข้นหนืด (viscoelastic) ซิลิโคนมีความหนืดน้อยกว่าชนิดอื่น ทาให้ผสมได้ง่าย มีเวลาทางานสั้นกว่า พอลิซัลไฟด์ แต่นานกว่าพอลิอีเทอร์ ความหนืดส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ สมบัติเด่น
  • 6. Short setting time Addition silicone is extremely hydrophobic ความทนต่อแรงฉีกขาด (tear strength) เป็นความสามารถของวัสดุที่ทนต่อ แรงฉีกขาด Polysulphide>addition silicone>condensation silicone>polyether วัสดุพิมพ์ประเภทอิลาสโตเมอร์ เมื่อแข็งตัวมีความยืดหยุ่น สามารถดึงผ่านความป่องของ ตัวฟันหรือสันเหงือกได้ Addition silicone>condensation silicone>polyether> polysulphide ซิลิโคนชนิดเติมมีการคืนตัวกลับลักษณะเดิมดีที่สุด สมบัติเด่นส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ความหนืด
  • 7. มีปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ เป็นชนิดการเกิดพอลิเมอร์ด้วยไอออน (ionic polymerization) การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ถ้าอุณหภูมิเพิ่มขึ้น จะทาให้วัสดุพิมพ์อิลาสโตเมอร์ ก่อตัวเร็วขึ้น นั่นคือเวลาทางานและเวลาก่อตัวจะลดลง ซิลิโคนชนิดเติม มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะก่อตัว (dimensional change on setting) ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในช่วงเวลาหลังจากดึงรอยพิมพ์ออกจาก ปากผู้ป่วยแล้ว 2 นาที จนถึง 24 ชั่วโมง น้อยที่สุดประมาณ ร้อยละ 5 สมบัติเด่นส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ความหนืด
  • 8.
  • 9. แบ่งตามความข้นได้ 4 ชนิดคือ  ชนิดเหลว Light body or syringe consistency  ชนิดเหลวปานกลาง Medium body or regular consistency  ชนิดข้น Heavy body or tray consistency  ชนิดข้นคล้ายดินน้ามัน หรือชนิดข้นมาก Very heavy body or putty consistency รูปวัสดุ ส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยา ความหนืด สมบัติเด่น
  • 10.  ส่วนพื้นฐาน คือ Polydimethyl siloxane เป็นซิลิโคนพอลิเมอร์ที่มีน้ามวลโมเลกุลค่อนข้างต่า มีกลุ่ม ไวต่อปฏิกิริยาเป็นกลุ่มไฮดร็อกซิลอยู่ที่ปลายห่วงโซ่  วัสดุเติม เป็น copper carbonate หรือ silica  ส่วนเร่ง อาจเป็นของเหลว ประกอบด้วย stanneous octoate เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา และ alkyl silicate เป็นตัวทาปฏิกิริยา ส่วนประกอบรูปวัสดุ ส่วนประกอบ ความหนืด สมบัติเด่น
  • 11.  ปฏิกิริยาระหว่างส่วนพื้นฐานกับตัวเร่ง เป็นปฏิกิริยาคายความร้อน อุณหภูมิเพิ่มขึ้นประมาณ 1 C ทาให้เกิดสารลักษณะคล้ายยาง โมเลกุลกลายเป็นตาข่าย3มิติ และให้ethyl alcohol เป็นผลพลอยได้  ปฏิกิริยาการก่อตัว เป็นปฏิกิริยาการเกิดแบบ Condensation polymerization การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ส่วนประกอบ ความหนืด สมบัติเด่น
  • 12. เกิดจากปัจจัยต่างๆดังนี้  วัสดุตัวเติม copper carbonate กับ silica  น้าหนักโมเลกุลของ Polydimethyl siloxane ความหนืดส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ สมบัติเด่น
  • 13. • ปฏิกิริยาระหว่างส่วนพื้นฐานกับตัวเร่ง ได้ผลพลอยได้ คือ ethyl alcohol • หลังจากดึงรอยพิมพ์ออกจากปากแล้ว ซิลิโคนชนิดควบแน่นจะยังคงมีปฏิกิริยา การก่อตัวไปอีก 2 สัปดาห์หรือมากกว่า • มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะก่อตัวมากกว่าชนิดเติม เนื่องจากมีการหดตัวจาก การระเหยของผลพลอยได้ที่เกิดขึ้น สมบัติเด่นส่วนประกอบ การเกิดปฏิกิริยารูปวัสดุ ความหนืด

Editor's Notes

  1. พูดเสริมส่วนพื้นฐาน >>ซึ่งอาจมีเพนแดนต์(หมู่ห้อย)กลุ่มไฮโดรไซเลนประมาณ 3 ถึง 10 กลุ่ม หรือมีกลุ่มไฮโดรไซเลนอยู่ที่ปลายห่วงโซ่ และวัสดุตัวเติม
  2. พูดเสริมของหัวข้อที่สอง เนื่องจากภายหลังผสม ความหนืดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วเพราะเกิดปฏิกิริยาการเกิดพอลิเมอร์ ดังนั้นช่วงเวลาการทำงาน คือ ผสมแล้วนำเข้าไปพิมพ์ในปากจึงสั้น
  3. วัสดุพิมพ์ประเภทอิลาสโตเมอร์ เมื่อแข็งตัว มีความยืดหยุ่น สามารถดึงผ่านความป่องของตัวฟันหรือสันเหงือกได้ โดยวัสดุจะยืดออกขณะผ่านความป่องแล้วจะคืนลักษณะเดิม
  4. พูดเสริมหัวข้อแรก โดยวัสดุจะยืดออกขณะผ่านความป่องแล้วจะคืนลักษณะเดิม (recovery from deformation) ซิลิโคนชนิดเติมมีการคืนตัวกลับลักษณะเดิมดีที่สุด พูดเสริมหัวข้อที่สอง แต่บางครั้งพบว่ามีก๊าซไฮโดรเจนเกิดขึ้น พูดเสริมหัวข้อที่สาม ซิลิโคนชนิดเติม จะไวต่อการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิยิ่งกว่าพอลิซัลไฟด์ ในการทำให้ซิลิโคนชนิดเติมก่อตัวช้าลงนั้น นอกจากจะทำได้โดยใช้อุปกรณ์ผสมที่ทำให้เย็นแล้ว อาจเติมตัวหน่วงลงไป หรือนำวัสดุที่จะใช้ไปใส่ตู้เย็นไว้ก่อนจะใช้ ปล.จะพูดหรือไม่พูดตรงไหนตามใจ แค่ใส่ไว้ให้เผื่ออยากมีอะไรพูดเฉยๆ
  5. บอกไปว่าเหมือนกับซิลิโคนชนิดเติมนั่นแหละ โดยรูปแบบของการบรรจุ สามชนิดแรกผลิตออกมาใช้ในลักษณะเป็นครีมเพสต์(paste) โดยบรรจุในหลอด2หลอด หลอดนึงเป็นส่วนพื้นฐาน(base) อีกหลอดเป็นตัวเร่ง ส่วนชนิดข้นคล้ายดินน้ำมัน บรรจุในกระปุก2กระปุก หรือ1ปุก1หลอด มีช้อนสำหรับตวงให้มา ชื่อทางการค้า ของชนิดควบแน่น=coltoflax และcoltex
  6. วัสดุตัวเติม -เป็นคอปเปอร์คาร์บอเนต (copper carbonate) หรือซิลิกา (silica) ซึ่งมีขนาดอนุภาค 2-8 ไมโครเมตร ในความเข้มข้นร้อยละ 35 สำหรับชนิดเหลวและร้อยละ 75 สำหรับชนิดข้นคล้ายดินน้ำมัน
  7. ปฏิกิริยาระหว่างส่วนพื้นฐานกับตัวเร่ง ------ ไม่เกิดรูพรุนทำให้เหมาะแก่การนำไปใช้มากกว่าชนิดแบบเติม
  8. 1copper carbonate กับ silica ถ้ามีความเข้มข้นมากก็จะทำให้วัสดุมีความข้นมาก เช่น 35%สำหรับของเหลว 75%สำหรับชนิดข้นคล้ายดินน้ำมัน 2ถ้าความข้นของวัสดุมากก้ใช้ Polydimethyl siloxane น้ำหนักโมเลกุลมาก