SlideShare a Scribd company logo
แบบฝึกหัดโวลแทมเมตรี
21 –1 ระบุความแตกต่างระหว่าง
ก. โวลแทมเมตรีและโพลาโรกราฟฟี
ข. โพลาโรกราฟฟีสแกนเชิงเส้นตรงและโพลาโรกราฟฟีแบบพัลซ์
ค. โพลาโรกราฟฟีแบบดิฟเฟอเรนเชียลพัลซ์และโพลาโรกราฟฟีแบบสแควร์เวฟ
ง. ขั้วหยดปรอทแขวน และขั้วปรอทหยด
จ. กระแสจากัดและกระแสเรซิดวล
ฉ. กระแสจากัดและกระแสแพร่
ช. ลามินาร์โฟลวและเทอร์บูเลนท์โฟลว
ซ. ศักย์ขั้วมาตรฐานและศักย์ครึ่งคลื่นสาหรับปฏิกิริยาผันกลับได้ที่ขั้วเล็กมาก
21 –2 ให้นิยาม
ก. โวลแทมโมแกรม
ข. ไฮโดรไดนามิกโวลแทมเมตรี
ค. ชั้นแพร่เนินส์
ง. ขั้วฟิล์มปรอท
จ. ศักย์ครึ่งคลื่น
21 –3 ทาไมจึงจาเป็นต้องบัฟเฟอร์สารละลายในโวลแทมเมตรีอินทรีย์
21 –4 แสดงข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบของขั้วหยดปรอทเทียบกับขั้วเล็กมากพลาตินัมหรือคาร์บอน
21 –5 แสดงว่าสมการ 21 –11 สามารถใช้ในการหาจานวนอิเล็กตรอน n
ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาผันกลับที่ขั้วเล็กมาก
21 –6 ควิโนนเกิดการรีดักชันแบบผันกลับได้ที่ขั้วปรอทหยด ปฏิกิริยา คือ
Q + 2H+
+ 2e_
 H2Q E
= 0.599 V
ก. อนุมานว่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของควิโนนและไฮโดรควิโนนเท่ากันโดยประมาณและคานวณ
ค่าศักย์ครึ่งคลื่นโดยประมาณเทียบกับ SCE
สาหรับการรีดักชันของไฮโดรควิโนนที่ขั้วระนาบจากสารละลายที่คนและบัฟเฟอร์ให้มี pH
7.0
ข. ทาการคานวณซ้าสาหรับสารละลายในข้อ ก. แต่บัฟเฟอร์ให้มี pH 5.0
21 –7 แหล่งของกระแสเรซิดวลในโพลาโรกราฟฟีแบบสแกนเชิงเส้นตรงคืออะไร
ทาไมกระแสเรซิดวลจึงน้อยกว่าโพลาโรกราฟฟีแบบสุ่มกระแส
21 –8 โพลาโรแกรมสาหรับสารละลาย 20.0 mL ซึ่งมี 3.6510-3
M Cd2+
ให้คลื่นซึ่งมีกระแสแพร่ 31.3 A
คานวณเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้นของสารละลายหากกระแสจากัดถูกทิ้งไว้ให้เกิดต่อเนื่อง
เป็นเวลา
ก. 5 นาที
ข. 10 นาที
ค. 15 นาที
21 –9 คานวณมิลลิกรัมของแคดเมียมในแต่ละมิลลิลิตรของตัวอย่างจากข้อมูลต่อไปนี้
(แก้ไขกระแสเรซิดวลแล้ว)
Volumes Used, mL
Solution Sample 0.400 M KCl 2.0010-3
M Cd2+
H2O Current, A
(a)
15.0
15.0
20.0
20.0
0.00
5.00
15.0
10.0
79.7
95.9
(b)
10.0
10.0
20.0
20.0
0.00
10.0
20.0
10.0
49.9
82.3
(c)
20.0
20.0
20.0
20.0
0.00
5.00
10.0
5.00
41.4
57.6
(d)
15.0
15.0
20.0
20.0
0.00
10.0
15.0
5.00
67.9
100.3
21 –10 โพลาโรแกรมต่อไปนี้ได้จากสารละลายที่มี 1.010-4
M KBr และ 0.1 M KNO3
อธิบายคลื่นที่เกิดที่ +0.12 Vและการเปลี่ยนแปลงของกระแสซึ่งเริ่มที่ประมาณ +0.48 Vคลื่นที่ 0.12 V
สามารถใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ได้หรือไม่ อธิบาย
21 –11 ปฏิกิริยาต่อไปนี้ผันกลับได้และมีศักย์ครึ่งคลื่น -0.349 V
เมื่อใช้ขั้วหยดปรอทจากสารละลายที่บัฟเฟอร์ให้มี pH 2.5
Ox + 4H+
+ 4e_
 R
ทานายศักย์ครึ่งคลื่นที่ pH
ก. 1.0
ข. 3.5
ค. 7.0
21 –12 ทาไมวิธีสตริพพิ่งจึงมีความไวมากกว่าวิธีโวลแทมเมตรีอื่นๆ
21 –13 อะไรคือวัตถุประสงค์ของขั้นการเกาะด้วยไฟฟ้าในการวิเคราะห์แบบสตริพพิง
21 –14 อะไรคือข้อได้เปรียบในการทาโวลแทมเมตรีด้วยขั้วเล็กยิ่ง

More Related Content

Viewers also liked

Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
Pipat Chooto
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
Pipat Chooto
 
Neutron Activation Analysis, NAA
Neutron Activation Analysis, NAANeutron Activation Analysis, NAA
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConduct
Pipat Chooto
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
Pipat Chooto
 
Cyclic Voltammetry
Cyclic VoltammetryCyclic Voltammetry
Cyclic Voltammetry
Nakkiran Arulmozhi
 

Viewers also liked (6)

Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Neutron Activation Analysis, NAA
Neutron Activation Analysis, NAANeutron Activation Analysis, NAA
Neutron Activation Analysis, NAA
 
แบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConductแบบฝึกหั ดConduct
แบบฝึกหั ดConduct
 
Electrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometryElectrogravimetry and coulometry
Electrogravimetry and coulometry
 
Cyclic Voltammetry
Cyclic VoltammetryCyclic Voltammetry
Cyclic Voltammetry
 

More from Pipat Chooto

Key ex eg cou
Key ex eg couKey ex eg cou
Key ex eg cou
Pipat Chooto
 
Key ex conduct
Key ex conductKey ex conduct
Key ex conduct
Pipat Chooto
 
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
Pipat Chooto
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
Pipat Chooto
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
Pipat Chooto
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
Pipat Chooto
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
Pipat Chooto
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
Pipat Chooto
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
Pipat Chooto
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
Pipat Chooto
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
Pipat Chooto
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
Pipat Chooto
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
Pipat Chooto
 

More from Pipat Chooto (14)

Key ex eg cou
Key ex eg couKey ex eg cou
Key ex eg cou
 
Key ex conduct
Key ex conductKey ex conduct
Key ex conduct
 
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetryแบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
แบบฝึกหัด Coulometry & electrogrovimetry
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Conductometry
ConductometryConductometry
Conductometry
 
Envi chem
Envi chemEnvi chem
Envi chem
 
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
3.3 สมดุลไอออนในน้ำ
 
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ3.2 สมดุลแบบต่างๆ
3.2 สมดุลแบบต่างๆ
 
3.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี573.1 สมดุลเคมี57
3.1 สมดุลเคมี57
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
บทนำ1
บทนำ1บทนำ1
บทนำ1
 
เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์เฉลยโจทย์
เฉลยโจทย์
 
ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์ปริมาณสัมพันธ์
ปริมาณสัมพันธ์
 

แบบฝึกหัด โวลแทมเมตรี

  • 1. แบบฝึกหัดโวลแทมเมตรี 21 –1 ระบุความแตกต่างระหว่าง ก. โวลแทมเมตรีและโพลาโรกราฟฟี ข. โพลาโรกราฟฟีสแกนเชิงเส้นตรงและโพลาโรกราฟฟีแบบพัลซ์ ค. โพลาโรกราฟฟีแบบดิฟเฟอเรนเชียลพัลซ์และโพลาโรกราฟฟีแบบสแควร์เวฟ ง. ขั้วหยดปรอทแขวน และขั้วปรอทหยด จ. กระแสจากัดและกระแสเรซิดวล ฉ. กระแสจากัดและกระแสแพร่ ช. ลามินาร์โฟลวและเทอร์บูเลนท์โฟลว ซ. ศักย์ขั้วมาตรฐานและศักย์ครึ่งคลื่นสาหรับปฏิกิริยาผันกลับได้ที่ขั้วเล็กมาก 21 –2 ให้นิยาม ก. โวลแทมโมแกรม ข. ไฮโดรไดนามิกโวลแทมเมตรี ค. ชั้นแพร่เนินส์ ง. ขั้วฟิล์มปรอท จ. ศักย์ครึ่งคลื่น 21 –3 ทาไมจึงจาเป็นต้องบัฟเฟอร์สารละลายในโวลแทมเมตรีอินทรีย์ 21 –4 แสดงข้อได้เปรียบและข้อเสียเปรียบของขั้วหยดปรอทเทียบกับขั้วเล็กมากพลาตินัมหรือคาร์บอน 21 –5 แสดงว่าสมการ 21 –11 สามารถใช้ในการหาจานวนอิเล็กตรอน n ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาผันกลับที่ขั้วเล็กมาก 21 –6 ควิโนนเกิดการรีดักชันแบบผันกลับได้ที่ขั้วปรอทหยด ปฏิกิริยา คือ Q + 2H+ + 2e_  H2Q E = 0.599 V ก. อนุมานว่าสัมประสิทธิ์การแพร่ของควิโนนและไฮโดรควิโนนเท่ากันโดยประมาณและคานวณ ค่าศักย์ครึ่งคลื่นโดยประมาณเทียบกับ SCE สาหรับการรีดักชันของไฮโดรควิโนนที่ขั้วระนาบจากสารละลายที่คนและบัฟเฟอร์ให้มี pH 7.0 ข. ทาการคานวณซ้าสาหรับสารละลายในข้อ ก. แต่บัฟเฟอร์ให้มี pH 5.0 21 –7 แหล่งของกระแสเรซิดวลในโพลาโรกราฟฟีแบบสแกนเชิงเส้นตรงคืออะไร ทาไมกระแสเรซิดวลจึงน้อยกว่าโพลาโรกราฟฟีแบบสุ่มกระแส 21 –8 โพลาโรแกรมสาหรับสารละลาย 20.0 mL ซึ่งมี 3.6510-3 M Cd2+ ให้คลื่นซึ่งมีกระแสแพร่ 31.3 A คานวณเปอร์เซ็นต์การเปลี่ยนแปลงของความเข้มข้นของสารละลายหากกระแสจากัดถูกทิ้งไว้ให้เกิดต่อเนื่อง เป็นเวลา
  • 2. ก. 5 นาที ข. 10 นาที ค. 15 นาที 21 –9 คานวณมิลลิกรัมของแคดเมียมในแต่ละมิลลิลิตรของตัวอย่างจากข้อมูลต่อไปนี้ (แก้ไขกระแสเรซิดวลแล้ว) Volumes Used, mL Solution Sample 0.400 M KCl 2.0010-3 M Cd2+ H2O Current, A (a) 15.0 15.0 20.0 20.0 0.00 5.00 15.0 10.0 79.7 95.9 (b) 10.0 10.0 20.0 20.0 0.00 10.0 20.0 10.0 49.9 82.3 (c) 20.0 20.0 20.0 20.0 0.00 5.00 10.0 5.00 41.4 57.6 (d) 15.0 15.0 20.0 20.0 0.00 10.0 15.0 5.00 67.9 100.3 21 –10 โพลาโรแกรมต่อไปนี้ได้จากสารละลายที่มี 1.010-4 M KBr และ 0.1 M KNO3 อธิบายคลื่นที่เกิดที่ +0.12 Vและการเปลี่ยนแปลงของกระแสซึ่งเริ่มที่ประมาณ +0.48 Vคลื่นที่ 0.12 V สามารถใช้ประโยชน์ในการวิเคราะห์ได้หรือไม่ อธิบาย
  • 3. 21 –11 ปฏิกิริยาต่อไปนี้ผันกลับได้และมีศักย์ครึ่งคลื่น -0.349 V เมื่อใช้ขั้วหยดปรอทจากสารละลายที่บัฟเฟอร์ให้มี pH 2.5 Ox + 4H+ + 4e_  R ทานายศักย์ครึ่งคลื่นที่ pH ก. 1.0 ข. 3.5 ค. 7.0 21 –12 ทาไมวิธีสตริพพิ่งจึงมีความไวมากกว่าวิธีโวลแทมเมตรีอื่นๆ 21 –13 อะไรคือวัตถุประสงค์ของขั้นการเกาะด้วยไฟฟ้าในการวิเคราะห์แบบสตริพพิง 21 –14 อะไรคือข้อได้เปรียบในการทาโวลแทมเมตรีด้วยขั้วเล็กยิ่ง