SlideShare a Scribd company logo
ธุรกิจซื้อขายสินค้า
ธุรกิจซื้อขายสินค้า มีรายได้จากธุรกรรมซื้อสินค้าแล้วมาขายสินค้าให้กับลูกค้า จะอยู่ในรูปขายปลีก และขายส่ง
การซื้อสินค้า
ในธุรกิจของกิจการที่ขายสินค้ามีกิจกรรม 2 ด้าน คือ ด้านซื้อและด้านขาย ในธุรกิจขนาดเล็กบุคคลคนเดียวจะเป็นผู้ทาการจัดซื้อทั้งหมด แต่ถ้า
เป็นกิจการขนาดใหญ่ผู้ที่มีหน้าที่ในการจัดซื้อสินค้าคือฝ่ายจัดซื้อ
ขั้นตอนโดยสังเขปของการจัดซื้อสินค้า มีดังนี้
1. ผู้จัดการของฝ่ายที่ต้องการสินค้าจัดทาใบขอซื้อ ส่งไปให้ฝ่ายจัดซื้อ
2. ฝ่ายจัดซื้อเลือกผู้ขายและจัดทาใบสั่งซื้อ ส่งไปให้ผู้ขาย
3. เมื่อผู้ขายได้รับใบสั่งซื้อ ก็จะจัดส่งสินค้าพร้อมกับใบกากับสินค้ามาให้แก่ผู้ซื้อ
4. เมื่อสินค้าส่งมาถึงมือผู้ซื้อ ก็ต้องมีการตรวจสอบทั้งปริมาณ คุณภาพ และคูณลักษณะว่าถูกต้องหรือไม่ และจัดทาใบรับสินค้า เพื่อแสดง
รายละเอียดของสินค้าที่รับ
ส่วนลดการค้า
ผู้ขายจะตั้งราคาสินค้าที่ขายไว้ในราคาสินค้า หรือในสมุดราคาสินค้าไว้เพียงราคาเดียว แต่เวลาขายจริงจะคิดราคาไม่เท่ากัน ส่วนที่ทาให้ราคาขาย
ของสินค้าไม่เท่ากันของผู้ซื้อแต่ละราย คือ ส่วนลดการค้า
ส่วนลดการค้า หมายถึง จานวนเงินหรืออัตราร้อยละที่ผู้ขายยอมลดให้ผู้ซื้อจากราคาที่ตั้งไว้
ส่วนลดการค้าเป็นรายการที่ไม่ต้องบันทึกบัญชีทั้งในสมุดบัญชีของผู้ซื้อและผู้ขาย ซึ่งผู้ซื้อจะบันทึกสินค้าที่ซื้อในราคาที่จ่ายเงินจริง
ตัวอย่างที่ 1 ราคาสินค้าตั้งราคาไว้ 20,000 บาท ผู้ขายให้ส่วนลด 10%
ราคาสินค้า 20,000 บาท
หัก ส่วนลดการค้า (20,000 x 10/100) 2,000 บาท
ราคาที่ขายจริง 18,000 บาท
ทางด้านผู้ซื้อจะบันทึกบัญชี ดังนี้
เดบิต ซื้อ 18,000
เครดิต เงินสด 18,000
ทางด้านผู้ขายจะบันทึกบัญชี ดังนี้
เดบิต เงินสด 18,000
เครดิต ขาย 18,000
ตัวอย่างที่ 2 ราคาสินค้าตั้งราคาไว้ 20,000 บาท ผู้ขายให้ส่วนลด 5% และอีก 2%
ราคาสินค้า 20,000 บาท
หัก ส่วนลด 20,000 x 5/100 1,000 บาท
คงเหลือ 19,000 บาท
หัก ส่วนลด 19,000 x 2/100 380 บาท
ราคาที่ขายจริง 18,620 บาท
การส่งคืนสินค้า
สินค้าที่ส่งมาชารุดเสียหาย ผู้ซื้อก็จะส่งสินค้าเหล่านั้นคืนไป ซึ่งในบางครั้งผู้ขายก็อาจจะส่งสินค้าใหม่มาเปลี่ยน แต่ถ้าผู้ขายไม่ส่งสินค้ามาเปลี่ยนก็
จะต้องลดยอดในบัญชีกรณีซื้อขายเป็นเงินเชื่อ หรือคืนเป็นเงินสดในกรณีซื้อขายเป็นเงินสด
ส่วนการบันทึกบัญชี ผู้ซื้อจะบันทึกบัญชีก็ต่อเมื่อได้รับใบลดหนี้หรือใบหักหนี้จากผู้ขายเสียก่อน ใบลดหนี้จะเก็บไว้คู่กับในกากับสินค้า เมื่อถึง
เวลาชาระเงินจะได้นาไปหักจากยอดในใบกากับสินค้า
แต่ในบางครั้ง การคืนสินค้าหรือขอลดหนี้นั้น ผู้ซื้ออาจจะเป็นผู้จัดทาใบลดหนี้ขึ้นมาแล้วส่งให้ผู้ขายเพื่อขอลดหนี้ แล้วทางผู้ซื้อก็บันทึกบัญชีลด
หนี้เลย โดยไม่รอให้ผู้ขายส่งใบลดหนี้มาให้
การส่งคืนสินค้าจะมีผลทาให้ยอดซื้อและยอดหนี้สินของผู้ซื้อลดลง โดยบันทึกในบัญชีส่งคืนและส่วนลด หรือบัญชีสินค้าคงเหลือแล้วแต่วิธีการ
บันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแต่ละวิธี
ส่วนสดเงินสด
ปกติการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อผู้ขายก็มักจะกาหนดระยะเวลาการให้สินเชื่อ ซึ่งอาจจะเป็น 30 วัน 60 วัน หรือ 90 วัน และผู้ขายก็อาจจะกาหนด
เงื่อนไขอีกว่า ถ้าลูกหนี้ชาระหนี้ภายในกาหนดที่ให้ไว้ก็จะให้ส่วนลดแก่ลูกหนี้ ส่วนลดนี้เรียกว่าส่วนลดเงินสด ลักษณะของเงื่อนไข มีดังนี้
1/10, n/30 หมายถึง กาหนดชาระเงินตามราคาที่ปรากฏในใบกากับสินค้าภายใน 30 วันนับจากวันที่ในใบกากับสินค้า แต่ถ้าหากผู้ซื้อชาระเงิน
ภายใน 10 วัน ก็จะได้ส่วนลด 1%
ส่วนลดเงินสดแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. ส่วนลดรับ เป็นจานวนเงินที่ผู้ซื้อได้รับจากผู้ขาย กรณีที่ผู้ซื้อชาระหนี้ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในเงื่อนไขการชาระเงิน ส่วนลดรับจะเป็น
รายการที่ทาให้ต้นทุนสินค้าที่ซื้อมาขายลดลง
2. ส่วนลดจ่าย เป็นจานวนเงินที่ผู้ขายลดให้แก่ผู้ซื้อ กรณีที่ผู้ซื้อชาระหนี้ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในเงื่อนไขการชาระเงิน ส่วนลดจ่ายจะเป็น
รายการที่ทาให้รายได้จากการขายสินค้าลดลง
ค่าขนส่ง
ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการขนถ่ายสินค้าที่ซื้อขายกัน ในกรณีซื้อขายสินค้า ผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องตกลงกันในเงื่อนไขการซื้อขายเกี่ยวกับการส่งมอบ
และกรรมสิทธิ์ให้สินค้า ซึ่งในการกาหนดเงื่อนไขต่างกัน ก็จะทาให้ราคาสินค้าที่ตกลงซื้อขายกันมีราคาแตกต่างกันด้วยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการส่งมอบ
เงื่อนไขในการขาย มีดังนี้
1. FOB Shipping Point หมายถึง กรณีที่ผู้ขายจะรับผิดชอบในการส่งสินค้าไปถึงท่าเรือของผู้ขาย และผู้ซื้อต้องรับผิดชอบค่าขนส่งสินค้าและ
กรรมสิทธิ์ในสินค้าตั้งแต่ท่าเรือของผู้ขายจนถึงสถานที่ที่ผู้ซื้อกาหนดให้ไปส่ง
2. FOB Destination หมายถึง กรณีที่ผู้ขายจะรับผิดชอบค่าขนส่งและกรรมสิทธิ์ในสินค้าจะไม่โอนไปยังผู้ซื้อจนกว่าจะถึงสถานที่ที่ผู้ซื้อ
กาหนดให้ไปส่ง
การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับค่าขนส่ง
1. กรณีที่ซื้อขายกันโดยเงื่อนไข FOB Shipping Point
ผู้ซื้อจะบันทึกรายการโดย
เดบิต ค่าขนส่งเข้า xxx
เครดิต เงินสด xxx
ส่วนผู้ขายไม่ต้องบันทึกบัญชี
แต่ถ้าเป็นกรณีที่ผู้ขายจ่ายค่าขนส่งแทนผู้ซื้อไปก่อน
ผู้ซื้อจะบันทึกรายการโดย
เดบิต ค่าขนส่งเข้า xxx
เครดิต เจ้าหนี้การค้า xxx
ผู้ขายจะบันทึกรายการโดย
เดบิต ลูกหนี้การค้า xxx
เครดิต เงินสด xxx
2. กรณีที่ซื้อขายกันโดยเงื่อนไข FOB Destination
ผู้ซื้อไม่ต้องบันทึกบัญชี
ผู้ขายบันทึกบัญชีโดย
เดบิต ค่าขนส่งออก xxx
เครดิต เงินสด xxx
แต่ถ้าเป็นกรณีที่ผู้ซื้อจ่ายค่าขนส่งแทนผู้ขายไปก่อน
ผู้ซื้อจะบันทึกรายการโดย
เดบิต เจ้าหนี้การค้า xxx
เครดิต เงินสด xxx
ผู้ขายบันทึกบัญชีโดย
เดบิต ค่าขนส่งออก xxx
เครดิต ลูกหนี้การค้า xxx
ตัวอย่างที่3 บริษัท โท จากัด ซื้อสินค้าจากบริษัท เอก จากัด จานวน 20,000 บาท มีเงื่อนไขการชาระเงิน 1/10, n/30 FOB Shipping Point บริษัท เอก จ่ายค่า
ขนส่งแทนบริษัท โท ไปก่อนจานวน 500 บาท
บริษัท เอก จากัด บริษัท โท จากัด
ตอนขายสินค้า
เดบิต ลูกหนี้การค้า 20,000
เครดิต ขาย 20,000
ตอนจ่ายค่าขนส่งแทนกัน
เดบิต ลูกหนี้การค้า 500
เครดิต เงินสด 500
ตอนชาระและให้ส่วนลด
เดบิต เงินสด 20,300
ส่วนลดจ่าย 200
เครดิต ลูกหนี้การค้า 20,500
ตอนขายสินค้า
เดบิต ซื้อ 20,000
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 20,000
ตอนจ่ายค่าขนส่งแทนกัน
เดบิต ค่าขนส่งเข้า 500
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 500
ตอนชาระและให้ส่วนลด
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 20,500
เครดิต เงินสด 20,300
ส่วนลดรับ 200
จากผู้อย่างเดิม ถ้าเงื่อนไขในการซื้อขายเป็น 1/10, n/30 FOB Destination โดยบริษัท โท จ่ายค่าขนส่งแทนบริษัท เอก ไปก่อน
บริษัท เอก จากัด บริษัท โท จากัด
ตอนขายสินค้า
เดบิต ลูกหนี้การค้า 20,000
เครดิต ขาย 20,000
ตอนจ่ายค่าขนส่งแทนกัน
เดบิต ค่าขนส่งออก 500
เครดิต ลูกหนี้การค้า 500
ตอนชาระและให้ส่วนลด
เดบิต เงินสด 19,300
ส่วนลดจ่าย 200
เครดิต ลูกหนี้การค้า 19,500
ตอนขายสินค้า
เดบิต ซื้อ 20,000
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 20,000
ตอนจ่ายค่าขนส่งแทนกัน
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 500
เครดิต เงินสด 500
ตอนชาระและให้ส่วนลด
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 19,500
เครดิต เงินสด 19,300
ส่วนลดรับ 200
จะเห็นว่าการให้ส่วนลดการค้า จะให้เฉพาะค่าสินค้าเท่านั้น ส่วนค่าขนส่งที่จ่ายแทนกันนั้นไม่คิดส่วนลดให้แก่กัน
รายได้จากการขาย
รายได้หลักของธุรกิจซื้อขายสินค้า คือ รายได้จากการขายสินค้า จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อแล้ว โดยไม่คานึงว่าจะได้รับเงิน
สดแล้วหรือไม่
ตัวอย่างที่ 4 งบกาไรขาดทุนของกิจการซื้อขายสินค้าของร้านสีทอง สาหรับงวด 1 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 มกราคม 2554 มีดังนี้
ร้านสีทอง
งบกาไรขาดทุน
สาหรับงวด 1 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554
ขาย (2,000x@100) 200,000
หัก ต้นทุนสินค้าขาย (2,000x@60) 120,000
กาไร ขั้นต้น 80,000
หัก ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน(2,000x@30) 60,000
กาไรสุทธิ 20,000
การรับคืนสินค้า
เมื่อผู้ขายส่งสินค้าไปให้ผู้ซื้อแล้วในการตรวจรับสินค้าทางผู้ซื้ออาจพบสินค้าที่ส่งไปชารุดเสียหายอาจผิดขนาด หรือคุณภาพไม่ตรงกับที่
ส่งให้ ในบางครั้งผู้ขายก็ต้องเปลี่ยนสินค้า หรืออาจจะไม่ต้องเปลี่ยนแต่ให้ส่วนลดแก่ผู้ซื้อ แต่ถ้าลูกค้าซื้อเป็นเงินสดต้องคืนเงินให้ลูกค้า
การรับคืนสินค้าจะมีผลทาให้ยอดขายและยอดลูกหนี้ลดลง การบันทึกบัญชีจะใช้ใบลดหนี้เป็นหลักฐานในการบันทึกบัญชี โดยบันทึกในบัญชี
รับคืนและส่วนลด
วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือ
วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือของธุรกิจซื้อขายสินค้า อาจทาได้ 2 วิธี คือ
1. การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory Method)
2. การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory Method)
การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง
จะบันทึกการรับจ่ายสินค้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อแสดงให้เห็นความเคลื่อนไหวของสินค้าอยู่ตลอดเวลา วิธีนี้กิจการจะได้ข้อมูลที่รวดเร็วทันต่อ
เหตุการณ์เพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ เหมาะกับธุรกิจที่จาหน่ายสินค้าที่มีราคาต่อหน่วยสูง และมีปริมาณน้อย
บัญชีที่สาคัญเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่องได้แก่บัญชีสินค้าคงเหลือ และบัญชีต้นทุนสินค้าขาย
บัญชีสินค้าคงเหลือ เป็นบัญชีประเภทสินทรัพย์หมุนเวียน ตามวิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง ในบัญชีสินค้าคงเหลือจะ
ประกอบด้วย รายละเอียดดังนี้
ด้านเดบิต ประกอบด้วย
1. รายการซื้อสินค้า
2. รายการรับคืนสินค้าจากลูกค้า
3. รายการค่าขนส่งเข้า
ส่วนทางด้านเครดิต ประกอบด้วย
1. รายการต้นทุนสินค้าที่ขายไป
2. รายการส่งคืนสินค้า
3. รายการส่วนลดรับที่ได้รับจากผู้ขาย
ตัวอย่าง บัญชีสินค้าคงเหลือ มีดังนี้
บัญชีสินค้าคงเหลือ
ยกมา xx
ซื้อ xx
รับคืนและส่วนลด xx
ค่าขนส่งเข้า xx
ต้นทุนสินค้าขาย xx
ส่งคืนและส่วนลด xx
ส่วนลดรับ xx
ยกไป xx
บัญชีต้นทุนสินค้าขาย หรือบัญชีต้นทุนขาย เป็นบัญชีประเภทค่าใช้จ่าย ใช้สาหรับบันทึกต้นทุนสินค้าที่ขายออกไปโดยโอนต้นทุนออกจากบัญชีสินค้า
คงเหลือไปเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อไปจับคู่กับบัญชีขายตามหลักการจับคู่ราบได้กับค่าใช้จ่าย ดังนั้นทุกครั้งที่มีการขายสินค้าจะต้องบันทึกบัญชีต้นทุนสินค้าขาย
ด้วย เช่นเดียวกันถ้ามีการรับคืนสินค้าก็ต้องมีการลดบัญชีต้นทุนสินค้าขายออก ด้านเดบิตของบัญชีต้นทุนสินค้าขายจะบันทึกต้นทุนขายที่เกิดจากรายการ
ขายสินค้า ส่วนทางด้านเครดิตบัญชีต้นทุนสินค้าขายจะบันทึกรายการรับคืนสินค้า
ตัวอย่าง บัญชีต้นทุนสินค้าขาย มีดังนี้
บัญชีต้นทุนสินค้าขาย
ขาย xx รับคืนและส่วนลด xx
ตัวอย่างที่ 5 การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง
1. เมื่อซื้อสินค้า
วันที่ 1 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงซื้อวิทยุ 10 เครื่อง ราคาเครื่องละ 3,000 บาท จากบริษัท สากลการค้า จากัด เป็นเงินเชื่อ เงื่อนไข 1/10, n/30
การบันทึกบัญชีมีดังนี้
เดบิต สินค้าคงเหลือ xxx
เครดิต เจ้าหนี้การค้า xxx
บัญชีสินค้าคงเหลือ เป็นบัญชีประเภทสินทรัพย์อยู่ในหมวดสินทรัพย์หมุนเวียน
2. ค่าขนส่ง
จากตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงจ่ายค่าขนส่งในการซื้อสินค้าจานวน 500 บาท
เดบิต สินค้าคงเหลือ xxx
เครดิต เงินสด xxx
การจ่ายค่าขนส่งนั้นจะบันทึกบัญชีเข้าบัญชีสินค้าคงเหลือ ทาให้ต้นทุนของสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น
3. การส่งคืนสินค้าและจานวนที่ได้ลด
วันที่ 3 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงส่งวิทยุที่ซื้อมา 1 เครื่องคืนให้แก่ผู้ขายเนื่องจากชารุด
เดบิต เจ้าหนี้การค้า xxx
เครดิต สินค้าคงเหลือ xxx
กรณีที่กิจการส่งคืนสินค้าให้แก่ผู้ขายจะทาให้หนี้สินและสินค้าคงเหลือมียอดลดลง
4. การจ่ายชาระหนี้ และได้รับส่วนลดเงินสด
วันที่ 11 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงชาระหนี้ให้แก่ บริษัท สากล การค้าจากัด ทั้งหมด ซึ่งกรณีนี้ร้านบัวหลวงชาระหนี้ภายใน 10 วันตามเงื่อนไข
ได้รับส่วนลดเงินสด
การคานวณหาส่วนลดเงินสด
ซื้อสินค้า 30,000
หัก ส่งคืน 3,000
เหลือคงค้าง 27,000
หัก ส่วนลดรับ 1% 270
จานวนเงินที่ต้องชาระ 26,730
บันทึกบัญชีดังนี้
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 27,000
เครดิต เงินสด 26,730
สินค้าคงเหลือ 270
กิจการชาระหนี้ภายในกาหนดและได้รับส่วนลดจากผู้ขายจะทาให้ต้นทุนสินค้าลดลง แต่ถ้ากรณีกิจการไม่ชาระหนี้ตามกาหนดที่ได้ส่วนลดก็
จะต้องชาระหนี้เต็มจานวน
5. การขายสินค้า
วันที่ 16 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวง ขายวิทยุให้แก่ลูกค้า 3 เครื่องเป็นเงิน 12,000 บาท เงื่อนไข 1/10,n/30 สินค้ามีต้นทุน 9,000 บาท
เดบิต ลูกหนี้การค้า 12,000
เครดิต ขาย 12,000
เดบิต ต้นทุนสินค้าขาย 9,000
เครดิต สินค้าคงเหลือ 9,000
เมื่อกิจการใช้วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง ทุกครั้งที่มีการขายสินค้าจะต้องมีการบันทึกบัญชี 2 คู่ โดยคู่แรกจะบันทึกเกี่ยวกับ
รายได้คือค่าขาย ส่วนคู่ที่ 2 จะเป็นการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือทางด้านเครดิตเป็นการลดยอดสินค้า และเดบิตบัญชีต้นทุนสินค้าขายซึ่งเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย
สาหรับกรณีที่กิจการใช้สมุดรายวันเฉพาะในการบันทึกบัญชี การบันทึกต้นทุนสินค้าขายอาจจะบันทึกเดือนละครั้ง โดยบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป
6. การรับคืนสินค้าและจานวนที่ลดให้
วันที่ 20 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงได้รับใบลดหนี้จากลูกค้าที่ซื้อวิทยุ เป็นเงินเชื่อในวันที่ 16 กันยายน จานวน 1 เครื่อง
เดบิต รับคืนและส่วนลด 4,000
เครดิต ลูกหนี้การค้า 4,000
เดบิต สินค้าคงเหลือ 3,000
เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 3,000
ต้องบันทึกบัญชี 2 คู่ โดยคู่แรกเป็นการบันทึกรายการลดยอดขาย โดยบันทึกเดบิตบัญชีรับคืนและส่วนลด และเครดิตบัญชีลูกหนี้การค้า แต่ถ้า
กิจการขายสินค้าเป็นเงินสด เวลารับคืนก็คืนเงินสดให้แก่ลูกค้า ส่วนคู่ที่ 2 จะเป็นการบันทึกบัญชีสินค้าที่รับคืนมา
บัญชีรับคืนและส่วนลด เป็นบัญชีประเภทบัญชีปรับมูลค่าขาย จะนาไปแสดงโดยตัดยอดบัญชีขายเพื่อนาไปคานวณหายอดขายสุทธิ
7. การจ่ายค่าขนส่งในการขาย
วันที่ 17 กันยายน 2554 ร้านบัวหลาวงจ่ายค่าขนส่งในการขาย 400 บาท
เดบิต ค่าขนส่งออก 400
เครดิต เงินสด 400
บัญชีค่าขนส่งออกเป็นบัญชีค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน จึงไม่นาไปรวมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนสินค้าขาย
8. การรับชาระหนี้ค่าสินค้าและให้ส่วนลดเงินสด
วันที่ 26 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวง ได้รับชาระหนี้จากลูกค้าที่ซื้อสินค้าเมื่อวันที่ 16 กันยายน ทั้งจานวน ภายในกาหนดเวลา และได้ให้ส่วนลดแก่
ลูกค้า
การคานวณส่วนลดจ่าย
ขาย 12,000
หัก รับคืน 4,000
คงเหลือ 8,000
หัก ส่วนลดจ่าย 1% 80
จานวนเงินที่จะได้รับ 7,920
บันทึกบัญชีดังนี้
เดบิต เงินสด 7,920
ส่วนลดจ่าย 80
เครดิต ลูกหนี้การค้า 8,000
บัญชีส่วนลดจ่ายเป็นบัญชีประเภทบัญชีปรับมูลค่าขาย
9. การนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว
วันที่ 28 กันยายน 2554 น.ส.บัว เจ้าของกิจการได้นาวิทยุ 1 เครื่องไปใช้ส่วนตัว
เดบิต เงินถอน น.ส.บัว 3,000
เครดิต สินค้าคงเหลือ 3,000
การผ่านบัญชีจากสมุดรายวันทั่วไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไปของบัญชีสินค้าคงเหลือ และบัญชีต้นทุนสินค้าขาย เป็นดังนี้
สินค้าคงเหลือ
2554
ก.ย. 1 ยกมา 8,000
เจ้าหนี้การค้า 30,000
เงินสด 500
20 ต้นทุนสินค้าขาย 3,000
2554
ก.ย.3 เจ้าหนี้การค้า 3,000
11 เจ้าหนี้การค้า 270
16 ต้นทุนสินค้าขาย 9,000
28 เงินถอน น.ส.บัว 3,000
41,500
ต.ค. 1 ยกมา 26,230
30 ยกไป 26,230
41,500
ต้นทุนสินค้าขาย
2554
ก.ย. 16 สินค้าคงเหลือ 6,000
2554
ก.ย. 20 สินค้าคงเหลือ 3,000
การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด
เป็นวิธีการบันทึกบัญชีที่ไม่บันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือและบัญชีต้นทุนสินค้าขายในขณะที่มีการซื้อขายสินค้าจนกว่าจะถึงวันสิ้นงวดบัญชี ตามวิธีนี้
บัญชีสินค้าคงเหลือจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในระหว่างงวด และบัญชีต้นทุนสินค้าขายก็จะไม่มีการบันทึกตอนที่ขายสินค้าทุกครั้ง และในวันสิ้นงวดกิจการ
จาเป็นที่จะต้องมีการตรวจนับสินค้าในวันสิ้นงวดเพื่อบันทึกในบัญชีสินค้าคงเหลือ และใช้ในการคานวณต้นทุนสินค้าที่ขายไป
บัญชีที่ต้องบันทึกแทนบัญชีสินค้าคงเหลือและบัญชีต้นทุนสินค้าขาย คือ บัญชีซื้อ บัญชีค่าขนส่งเข้า บัญชีส่งคืนและส่วนลดบัญชีส่วนลดรับ
ธุรกิจที่เหมาะกับการบันทึกบัญชีวิธีนี้คือ ธุรกิจที่จานวนสินค้าราคาต่อหน่วยค่อนข้างต่าและขายเป็นจานวนมาก
บัญชีสินค้าคงเหลือตามวิธีบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด จะแสดงเฉพาะสินค้าคงเหลือยกมาจากงวดก่อนเท่านั้น ในระหว่างงวดจะไม่มี
การบันทึกบัญชี
สินค้าคงเหลือ
2554
ก.ย.1 ยกมา 8,000
ส่วนต้นทุนสินค้าขายในวิธีนี้ ไม่ได้บันทึกบัญชีต้นทุนของทุกครั้ง ดังนั้นหากต้องการทราบว่าต้นทุนสินค้าขายเท่ากับเท่าใด คานวณหาได้ดังนี้
ต้นทุนสินค้าขาย :
สินค้าคงเหลือต้นงวด xx
บวก ซื้อ xx
หัก ส่งคืนและส่วนลด xx
ส่วนลดรับ xx xx
ซื้อสุทธิ xx
บวก ค่าขนส่งเข้า xx
ต้นทุนซื้อระหว่างงวด xx
ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย xx
หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด xx
ต้นทุนสินค้าขาย xx
หรือ ต้นทุนสินค้าขาย = สินค้าคงเหลือต้นงวด + ซื้อ + ค่าขนส่งเข้า – ส่งคืนและส่วนลด – ส่วนลด
รับ – สินค้าคงเหลือปลายงวด
ตัวอย่างที่ 6 การบันทึกสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด (จากตัวอย่างเดิม)
1. เมื่อซื้อสินค้า
เดบิต ซื้อ 30,000
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 30,000
วิธีนี้จะบันทึกบัญชีซื้อแทนบัญชีสินค้าคงเหลือ บัญชีซื้อเป็นบัญชีชั่วคราวประเภทค่าใช้จ่าย และเป็นบัญชีหนึ่งที่ใช้คานวณต้นทุนสินค้าขาย ส่วน
การซื้อสินทรัพย์อื่นๆ จะไม่บันทึกในบัญชีนี้ แต่จะบันทึกบัญชีสินทรัพย์นั้นโดยตรง
2. ค่าขนส่งเข้า
เดบิต ค่าขนส่งเข้า 500
เครดิต เงินสด 500
บัญชีค่าขนส่งเข้าเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย และเป็นบัญชีหนึ่งที่จะต้องนาไปคานวณต้นทุนสินค้าขาย
3. การส่งคืนสินค้าและจานวนที่ได้ลด
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 3,000
เครดิต ส่งคืนและส่วนลด 3,000
บัญชีส่งคืนและส่วนลด เป็นบัญชีประเภทบัญชีปรับมูลค่าบัญชีซื้อ เป็นบัญชีหักจากบัญชีซื้อเพื่อลดยอดของบัญชีซื้อ ในการคานวณหายอดซื้อ
สุทธิของกิจการ
4. การจ่ายชาระหนี้และได้รับส่วนลด
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 27,000
เครดิต เงินสด 26,730
ส่วนลดรับ 270
บัญชีส่วนลดรับเป็นบัญชีประเภทปรับมูลค่าบัญชีซื้อ และจะนาบัญชีนี้ไปหักจากบัญชีซื้อเพื่อลดยอดบัญชีซื้อในการคานวณหายอดซื้อสุทธิ
ซื้อ 30,000
หัก ส่งคืนและส่วนลด 3,000
ส่วนลดรับ 270 3,270
ซื้อสุทธิ 26,730
5. การขายสินค้า
เดบิต ลูกหนี้การค้า 12,000
เครดิต ขาย 12,000
วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดนั้นจะไม่ต้องบันทึกต้นทุนสินค้าขายในตอนขาย
6. รับคืนและส่วนลด
เดบิต รับคืนและส่วนลด 4,000
เครดิต ลูกหนี้การค้า 4,000
วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือตามวิธีนี้ จะไม่มีการบันทึกต้นทุนสินค้าขาย และสอนค้าคงเหลือในตอนรับคืนสินค้า
7. จ่ายค่าขนส่งในการขาย
เดบิต ค่าขนส่งออก 400
เครดิต เงินสด 400
บัญชีค่าขนส่งออกเป็นบัญชีค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
8. การรับชาระหนี้และให้ส่วนลดจ่าย
เดบิต เงินสด 7,920
ส่วนลดจ่าย 80
เครดิต ลูกหนี้การค้า 8,000
บัญชีส่วนลดจ่าย เป็นบัญชีปรับมูลค่าขาย
9. การนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว
เดบิต เงินถอน - น.ส.บัว 3,000
เครดิต ซื้อ 3,000
การคานวณหาต้นทุนสินค้าขาย
ร้านบัวหลวง มีสินค้าคงเหลือยกมา จานวน 8,000 บาท และสินค้าคงเหลือปลายงวดตรวจนับได้และตีราคาได้จานวน 26,230 บาท การคานวณหา
ต้นทุนสินค้าขายได้ดังนี้
สินค้าคงเหลือต้นงวด 8,000
บวก ซื้อ (30,000 - 3,000) 27,000
หัก ส่งคืนและส่วนลด 3,000
ส่วนลดรับ 270 3,270
ซื้อสุทธิ 23,730
บวก ค่าขนส่งเข้า 500
ต้นทุนซื้อระหว่างงวด 24,230
ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 32,230
หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 26,230
ต้นทุนสินค้าขาย 6,000
การเปรียบเทียบการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือทั้ง 2 วิธี
การบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง การบันทึกบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด
ก.ย. 1 สินค้าคงเหลือ 30,000
เจ้าหนี้การค้า 30,000
ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ
ก.ย. 1 ซื้อ 30,000
เจ้าหนี้การค้า 30,000
ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ
1 สินค้าคงเหลือ 500
เงินสด 500
จ่ายค่าขนส่งในการซื้อสินค้า
1 ค่าขนส่งเข้า 500
เงินสด 500
จ่ายค่าขนส่งในการซื้อสินค้า
3 เจ้าหนี้การค้า 3,000
สินค้าคงเหลือ 3,000
ส่งคืนสินค้าที่ชารุด
3 เจ้าหนี้การค้า 3,000
ส่งคืนและส่วนลด 3,000
ส่งคืนสินค้าที่ชารุด
11 เจ้าหนี้การค้า 27,000
เงินสด 26,730
สินค้าคงเหลือ 270
จ่ายชาระหนี้ค่าสินค้าและได้ส่วนลดรับ
11 เจ้าหนี้การค้า 27,000
เงินสด 26,730
ส่วนลดรับ 270
จ่ายชาระหนี้ค่าสินค้าและได้ส่วนลดรับ
16 ลูกหนี้การค้า 12,000
ขาย 12,000
ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ
16 ลูกหนี้การค้า 12,000
ขาย 12,000
ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ
ต้นทุนสินค้าขาย 9,000
สินค้าคงเหลือ 9,000
บันทึกต้นทุนสินค้าขาย
ไม่บนทึกบัญชี
20 รับคืนและส่วนลด 4,000
ลูกหนี้การค้า 4,000
รับคืนสินค้าที่ขายเป็นเงินเชื่อ
20 รับคืนและส่วนลด 4,000
ลูกหนี้การค้า 4,000
รับคืนสินค้าที่ขายเป็นเงินเชื่อ
สินค้าคงเหลือ 4,000
ต้นทุนสินค้าขาย 4,000
บันทึกรับคืนสินค้าและลดต้นทุนสินค้าขาย
ไม่บนทึกบัญชี
17 ค่าขนส่งออก 400
เงินสด 400
จ่ายค่าขนส่งสินค้าที่ขาย
17 ค่าขนส่งออก 400
เงินสด 400
จ่ายค่าขนส่งสินค้าที่ขาย
26 เงินสด 7,920
ส่วนลดจ่าย 80
ลูกหนี้การค้า 8,000
รับชาระหนี้จากลูกค้าและให้ส่วนลด
26 เงินสด 7,920
ส่วนลดจ่าย 80
ลูกหนี้การค้า 8,000
รับชาระหนี้จากลูกค้าและให้ส่วนลด
28 เงินถอน - น.ส.บัว 3,000 28 เงินถอน - น.ส.บัว 3,000
สินค้าคงเหลือ 3,000
เจ้าของกิจการนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว
ซื้อ 3,000
เจ้าของกิจการนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว
การบันทึกบัญชีกรณีกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ธุรกิจที่จดทะเบียนอยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีขาย) จากผู้ซื้อทุกครั้งที่มีการขายสินค้า
ส่วนในการซื้อสินค้า ถ้าซื้อสินค้าจากผู้ขายที่จดทะเบียนในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ธุรกิจจะต้องชาระภาษีซื้อแล้วได้ใบกากับภาษี
การบันทึกบัญชี มีดังนี้
1. การซื้อสินค้า
วันที่ 1 สิงหาคม 2554บริษัท ออดิโอ จากัด ซื้อสินค้าจากบริษัท เอกชัย จากัด 100,000 บาท เงื่อนไขการชาระเงิน 1/10, n/30
เดบิต ซื้อ 100,000
ภาษีซื้อ 7,000
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 107,000
บัญชีภาษีซื้อเป็นบัญชีประเภทสินทรัพย์ พอสิ้นเดือนจะต้องปิดไปพร้อมกับบัญชีภาษีขาย เพื่อคานวณหาว่าได้คืนภาษีหรือต้องชาระภาษีเพิ่ม
2. การส่งคืนสินค้า
วันที่ 3 สิงหาคม 2554 บริษัทออดิโอ จากัด ส่งคืนสินค้าที่ซื้อจากบริษัทเอกชัย จานวน 10,000 บาท เนื่องจากชารุด ตามใบหักหนี้ เลขที่1101
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 10,700
เครดิต ส่งคืนและส่วนลด 10,000
ภาษีซื้อ 700
3. การขายสินค้า
วันที่7 สิงหาคม 2554 บริษัทขายสินค้าให้แก่ร้านพิธาน จานวน 120,000 บาทเงื่อนไขการชาระเงิน 1/10, n/40 ให้ส่วนลดการค้า 5% ภาษีขาย 7%
ตามใบกากับสินค้าเลขที่ 1178
เดบิต ลูกหนี้การค้า 121,980
เครดิต ขาย 114,000
ภาษีขาย 7,980
บัญชีภาษีขายเป็นบัญชีประเภทหนี้สิน ตอนสิ้นเดือนต้องปิดพร้อมกับภาษีซื้อ
4. การรับคืนสินค้า
วันที่ 8 สิงหาคม 2554 บริษัทรับคืนสินค้าจากร้านพิธาน จานวน 14,000 บาท เนื่องจากส่งของผิดรุ่น ตามใบหักหนี้ เลขที่ 720
เดบิต รับคืนและส่วนลด 14,000
ภาษีขาย (14,000x7%) 980
เครดิต ลูกหนี้การค้า 14,980
5. การจ่ายชาระหนี้และได้รับส่วนลดเงินสด
วันที่ 11 สิงหาคม 2554 บริษัทจ่ายชาระหนี้ที่ค้างทั้งหมดให้แก่ บริษัท เอกชัย และได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข
เดบิต เจ้าหนี้การค้า 96,300
เครดิต เงินสด 95,400
ส่วนลดรับ 900
การคานวณส่วนลด มีดังนี้
ซื้อ 100,000
หัก ส่งคืนและส่วนลด 10,000
คงเหลือ 90,000
ส่วนลดรับ 1% เท่ากับ 90,000 x 1% = 900 บาท
6. การรับชาระหนี้ และให้ส่วนลด
วันที่ 17 สิงหาคม 2554 บริษัทได้รับชาระหนี้ที่คงค้างทั้งหมดจากร้านพิธาน และได้ให้ส่วนลดตามเงื่อนไข
เดบิต เงินสด 106,000
ส่วนลดจ่าย 1,000
เครดิต ลูกหนี้การค้า 107,000
การคานวณส่วนลดจ่าย มีดังนี้
ขาย 114,000 บาท
หัก รับคืนและส่วนลด 14,000 บาท
คงเหลือ 100,000 บาท
ส่วนลดจ่าย 1% เท่ากับ 100,000 x 1% = 1,000 บาท
7. การนาส่งภาษีในวันสิ้นเดือน
เมื่อถึงวันสิ้นเดือนกิจการต้องปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขายในกรณีที่ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อก็ต้องชาระภาษีในส่วนที่แตกต่างโดยบันทึกบัญชี
เครดิตภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย หรือเจ้าหนี้กรมสรรพากร แต่ถ้ากรณีภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย จะบันทึกเดบิตบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มรอรับคืนหรือลูกหนี้
กรมสรรพากร
เดบิต ภาษีขาย 7,000
เครดิต ภาษีซื้อ 6,300
ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย /
เจ้าหนี้-กรมสรรพากร 700
ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง บริษัท เกษตรการไฟฟ้า จากัด ได้จดทะเบียนเข้าสู่ระบบ ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7 ใน
ระหว่างเดือนเมษายน 2554 มีรายการค้าเกิดขึ้น ดังนี้
เม.ย. 2 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจาก หจก. สินไทย 50 หน่วย เป็นเงิน 100,000บาท เงื่อนไขในการชาระเงิน 2/10, n/40 ภาษีซื้อ 7% ตามใบกากับภาษี
เลข ที่ 7890 จานวน 7,000 บาท
4 ส่งคืนสินค้าที่ซื้อจาก หจก. สินไทย 5 หน่วย เป็นเงิน 10,000 บาท เนื่องจากเป็นสินค้ามีตาหนิ ตามใบลดหนี้เลขที่ 112
12 จ่ายชาระหนี้ให้ หจก. สินไทย ทั้งสิ้น ได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข
15 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อให้ร้านนันทวัน 40 หน่วย ราคาหน่วยละ 3,000 บาท เงื่อนไข 1/10, n/30 ให้ ส่วนลดการค้า 5% ภาษีเลขที่ 1234 เป็น
เงิน 7,980 บาท
19 รับคืนสินค้าที่ขายให้แก่ร้านนันทวัน 10 หน่วย เพราะชารุด ตามใบลดหนี้ เลขที่ 412
23 จ่ายค่าโฆษณาให้แก่หนังสือพิมพ์ไทย 10,000 บาท เป็นเงินสด ภาษีซื้อ 7%
25 รับชาระหนี้จากร้านนันทวันทั้งสิ้น และให้ส่วนลดตามเงื่อนไข
30 ปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขาย
บันทึกบัญชีดังนี้
25x5
เม.ย. 2 เดบิต สินค้าคงเหลือ 100,000
ภาษีซื้อ 7,000
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 107,000
4 เดบิต เจ้าหนี้การค้า 10,700
เครดิต สินค้าคงเหลือ 10,000
ภาษีซื้อ 700
12 เดบิต เจ้าหนี้การค้า 96,300
เครดิต เงินสด 94,500
สินค้าคงเหลือ 1,800
15 เดบิต ลูกหนี้การค้า 121,980
เครดิต ขาย 114,000
ภาษีขาย 7,980
15 เดบิต ต้นทุนสินค้าขาย 80,000
เครดิต สินค้าคงเหลือ 80,000
19 เดบิต รับคืนและส่วนลด 28,500
ภาษีขาย 1,995
เครดิต ลูกหนี้การค้า 30,495
19 เดบิต สินค้าคงเหลือ 20,000
เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 20,000
23 เดบิต ค่าโฆษณา 10,000
ภาษีซื้อ 700
เครดิต เงินสด 10,700
25 เดบิต เงินสด 90,630
ส่วนลดจ่าย 855
เครดิต ลูกหนี้การค้า 91,485
30 เดบิต ภาษีมูลค่าเพิ่มรอรับคืน/ลูกหนี้-กรมสรรพากร 1,015
ภาษีขาย 5,985
เครดิต ภาษีซื้อ 7,000
การบันทึกบัญชีกรณีภาษีหัก ณ ที่จ่าย
การหักภาษี ณ ที่จ่าย เป็นบริการเสียภาษีวิธีหนึ่งของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล
ผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องนาเงินภาษีที่หักไว้ส่งกรมสรรพากรภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงิน หรือภายใน7 วัน นับแต่วันที่
จ่ายเงินขึ้นอยู่กับประเภทของเงินได้
ตัวอย่าง วันที่ 30 เมษายน 2554 กิจการจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานคนหนึ่ง 10,000 บาท จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย 500 บาท
เดบิต เงินเดือน 10,000
เครดิต เงินสด 9,500
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 500
วันที่ 7 พ.ค. 2554 นาภาษีหัก ณ ที่จ่ายส่งกรมสรรพากร
เดบิต ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 500
เครดิต เงินสด 500
บัญชีภาษีหัก ณ ที่จ่าย เป็นบัญชีหนี้สินหมุนเวียน
กระดาษทาการสาหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า
แตกต่างจากที่เรียนมาแล้วเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับสินค้าเท่านั้น ในกรณีที่กิจการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง จะมีบัญชีที่เพิ่มเติม ดังนี้
1. บัญชีสินค้าคงเหลือในงบทดลองก่อนปรับปรุง จะเป็นยอดสินค้าคงเหลือปลายงวด และจะนาไปลงในช่องงบดุลทางด้านเดบิต
2. บัญชีขายเป็นบัญชีรายได้ แสดงในช่องงบกาไรขาดทุน ทางด้านเครดิต
3. บัญชีรับคืนและส่วนลดเป็นบัญชีปรับมูลค่าขายให้ลดลง แสดงในช่องงบกาไรขาดทุน ทางด้านเดบิต
4. บัญชีส่วนลดจ่ายเป็นบัญชีปรับมูลค่าขาย แสดงในช่องงบกาไรขาดทุนทางด้านเดบิต
5. บัญชีต้นทุนสินค้าขายเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย แสดงในช่องงบกาไรขาดทุน ทางด้านเดบิต
ตัวอย่าง การจัดทากระดาษทาการ กรณีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง
บริษัท สหกิจ จากัด
งบทดลองก่อนปรับปรุง
วันที่ 31 ธันวาคม 2552
เงินสด 130,000
ลุกหนี้การค้า 70,000
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 500
สินค้าคงเหลือ 30,000
ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 20,000
อุปกรณ์สานักงาน 100,000
เจ้าหนี้การค้า 10,500
ทุนเรือนหุ้น 300,000
กาไรสะสม 24,400
เงินปันผลจ่าย 10,000
ขาย 90,000
รับคืนและส่วนลด 1,000
ส่วนลดจ่าย 700
ต้นทุนสินค้าขาย 50,700
ค่าขนส่งออก 1,000
ค่าใช้จ่ายดาเนินงานทั่วไป 425,400 425,400
ข้อมูลเพิ่มเติม
1. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จานวน 16,000 บาท
2. คิดค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์สานักงาน 5% ต่อปี
3. ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 2% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ
กระดาษทาการ
สาหรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554
ชื่อบัญชี งบทดลอง รายการปรับปรุง งบทดลองหลังปรับปรุง งบกาไรขาดทุน งบดุล
เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ
สูญ
สินค้าคงเหลือ
ค่าเบี้ยประกันจ่าย
ล่วงหน้า
อุปกรณ์สานักงาน
เจ้าหนี้การค้า
ทุนเรือนหุ้น
กาไรสะสม
เงินปันผลจ่าย
130,000
70,000
30,000
20,000
100,000
10,000
500
10,500
300,000
24,400
900
4,000
130,000
70,000
30,000
16,000
100,000
10,000
1,400
10,500
300,000
24,400
130,000
70,000
30,000
16,000
100,000
10,000
1,000
10,500
300,000
24,400
ขาย
รับคืนและส่วนลด
ส่วนลดจ่าย
ต้นทุนสินค้าขาย
ค่าขนส่งออก
ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน
ทั่วไป
ค่าเบี้ยประกัน
ค่าเสื่อมราคา-
อุปกรณ์สานักงาน
ค่าเสื่อมราคาสะสม--
อุปกรณ์สานักงาน
หนี้สงสัยจะสูญ
กาไรสุทธิ
1,000
700
50,700
1,000
12,000
425,400
90,000
425,400
4,000
5,000
900
9,900
5,000
9,900
1,000
700
50,700
1,000
12,000
4,000
5,000
900
431,300
90,000
5,000
431,300
1,000
700
50,700
1,000
12,000
4,000
5,000
900
14,700
90,000
90,000
90,000 356,000
5,000
F
14,700
356,000
สาหรับกรณีที่กิจการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด จะทากระดาษทาการได้ 2 แบบ คือ แบบไม่แสดงต้นทุนสินค้าขาย และแบบแสดงต้นทุน
สินค้าขาย โดยแบบไม่แสดงต้นทุนสินค้าขายจะมีรายละเอียดดังนี้
1. บัญชีสินค้าคงเหลือ ในงบทดลองก่อนปรับปรุง จะเป็นยอดสินค้าคงเหลือต้นงวดทีจะต้องโอนไปเป็นต้นทุนสินค้าขาย จะต้องนาไปแสดงใน
ช่องงบกาไรขาดทุนทางด้านเดบิต
2. บัญชีซื้อเป็นบัญชีค่าใช้จ่ายแสดงในช่องงบกาไรขาดทุนทางด้านเดบิต
3. บัญชีส่งคืนและส่วนลดเป็นบัญชีปรับมูลค่าซื้อให้ลดลงแสดงในงบกาไรขาดทุนทางด้านเครดิต
4. บัญชีส่วนลดรับเป็นบัญชีปรับมูลค่าซื้อ แสดงในช่องงบกาไรขาดทุนทางด้านเครดิต
5. บัญชีค่าขนส่งเข้าเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย แสดงในงบกาไรขาดทุนด้านเดบิต
6. บัญชีสินค้าคงเหลือปลายงวดเป็นสินค้าที่ตรวจนับได้ในวันสิ้นงวด แสดงในช่องงบดุลทางด้านเดบิต เพื่อที่จะแสดงเป็นสินทรัพย์ของกิจการ
และในด้านเครดิตในช่องงบกาไรขาดทุน
ตัวอย่าง การจัดทากระดาษทาการ กรณีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด
บริษัท สหกิจ จากัด
งบทดลองก่อนปรับปรุง
วันที่ 31 ธันวาคม 25x2
เงินสด 130,000
ลูกหนี้การค้า 70,000
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 500
สินค้าคงเหลือ 40,000
ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 20,000
อุปกรณ์สานักงาน 100,000
เจ้าหนี้การค้า 10,500
ทุนเรือนหุ้น 300,000
กาไรสะสม 24,400
เงินปันผลจ่าย 10,000
ขาย 90,000
รับคืนและส่วนลด 1,000
ส่วนลดจ่าย 700
ซื้อ 40,000
ส่งคืนและส่วนลด 1,200
ส่วนลดรับ 1,100
ค่าขนส่งเข้า 3,000
ค่าขนส่งออก 1,000
ค่าใช้จ่ายดาเนินการทั่วไป 12,000
427,700 427,700
ข้อมูลเพิ่มเติม
1. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 จานวน 16,000 บาท
2. คิดค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์สานักงาน 5% ต่อปี
3. ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 2% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ
4. สินค้าคงเหลือปลายงวดตรวจนับได้ 30,000 บาท
บริษัท สหกิจ จากัด
กระดาษทาการ
สาหรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554
ชื่อบัญชี งบทดลอง รายการปรับปรุง งบทดลองหลังปรับปรุง งบกาไรขาดทุน งบดุล
เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
สินค้าคงเหลือ
ค่าเบี้ยประกันจ่าย
ล่วงหน้า
อุปกรณ์สานักงาน
เจ้าหนี้การค้า
ทุนเรือนหุ้น
กาไรสะสม
เงินปันผลจ่าย
ขาย
รับคืนและส่วนลด
ส่วนลดจ่าย
ซื้อ
130,000
70,000
40,000
20,000
100,000
10,000
1,000
700
40,000
500
10,500
300,000
24,400
90,000
900
4,000
130,000
70,000
40,000
16,000
100,000
10,000
1,000
700
40,000
1,400
10,500
300,000
24,400
90,000
40,000
1,000
700
40,000
90,000
130,000
70,000
16,000
100,000
10,000
1,400
10,500
300,000
24,400
ส่งคืนและส่วนลด
ส่วนลดรับ
ค่าขนส่งเข้า
ค่าขนส่งออก
ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน
ทั่วไป
ค่าเบี้ยประกัน
ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์
สานักงาน
ค่าเสื่อมราคาสะสม--
อุปกรณ์สานักงาน
หนี้สงสัยจะสูญ
สินค้าคงเหลือ (31
ธ.ค.)
กาไรสุทธิ
3,000
1,000
12,000
427,700
1,200
1,100
427,700
4,000
5,000
900
9,900
5,000
9,900
3,000
1,000
12,000
4,000
5,000
900
433,600
1,200
1,100
5,000
433,600
3,000
1,000
12,000
4,000
5,000
900
14,700
122,300
1,200
1,100
30,000
122,300
30,000
356,000
5,000
F
14,700
356,000
แบบแสดงต้นทุนสินค้าขาย มีรายละเอียดคือ
1. ในช่องรายการปรับปรุง จะต้องปรับปรุงรายการที่เกี่ยวข้องกับการคานวณหาต้นทุนสินค้าขายโดย เดบิต บัญชีส่งคืนและส่วนลด ส่วนลดรับ และ
เครดิต บัญชีสินค้าคงเหลือต้นงวด ซื้อ และบันทึกสินค้าคงเหลือปลายงวดที่ตรวจนับได้ ในช่องเดบิต เมื่อปรับปรุงแล้วก็จะได้ต้นทุนสินค้าขาย แสดงใน
ช่องเดบิต
2. เมื่อปรับปรุงรายการตามข้อ 1 แล้วจะได้รายการต่างๆ ในช่องงบทดลองหลังปรับปรุง
บริษัท สหกิจ จากัด
กระดาษทาการ
สาหรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x2
ชื่อบัญชี งบทดลอง รายการปรับปรุง งบทดลองหลังปรับปรุง งบกาไรขาดทุน งบดุล
เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต
เงินสด
ลูกหนี้การค้า
ค่าเผื่อหนี้
สงสัยจะสูญ
สินค้าคงเหลือ
ค่าเบี้ยประกัน
จ่ายล่วงหน้า
130,000
70,000
40,000
500 900
40,000
4,000
130,000
70,000
1,400
10,500
24,400
130,000
70,000
1,400
10,500
300,000
อุปกรณ์
สานักงาน
เจ้าหนี้การค้า
ทุนเรือนหุ้น
กาไรสะสม
เงินปันผลจ่าย
ขาย
รับคืนและ
ส่วนลด
ส่วนลดจ่าย
ซื้อ
ต้ส่งคืนและ
ส่วนลด
ส่วนลดรับ
ค่าขนส่งเข้า
ค่าขนส่งออก
ค่าใช้จ่าย
ดาเนินงาน
ทั่วไป
ค่าเบี้ยประกัน
20,000
100,000
10,000
1,000
700
40,000
3,000
1,00
0
12,00
0
10,500
300,000
24,400
90,000
1,200
1,100
1,200
1,100
4,000
5,000
900
40,000
16,000
100,000
10,000
1,000
700
1,000
12,000
4,000
5,000
90,000
5,000
1,000
700
1,000
12,000
4,000
5,000
900
50,700
90,000
90,000
16,000
100,000
10,000
24,400
5,00
0
F
ค่าเสื่อมราคา-
อุปกรณ์
สานักงาน
ค่าเสื่อมราคา
สะสม--
อุปกรณ์
สานักงาน
หนี้สงสัยจะ
สูญ
ต้นทุนสินค้า
ขาย
สินค้าคงเหลือ
กาไรสุทธิ
427,700 427,700
50,700
30,000
92,900
5,000
92,000
900
50,700
30,000
431,300 431,300
75,300
14,700
90,000 90,000
30,000
356,000
14,700
356,000
งบกาไรขาดทุนของธุรกิจซื้อขายสินค้า
งบกาไรขาดทุนของกิจการที่ซื้อขายสินค้าจะแตกต่างกับงบกาไรขาดทุนของกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้าจะแสดงรายละเอียดของ
รายการต่างๆ เป็นหลายขั้นตอน โดยในขั้นตอนแรกจะแสดงว่าในการขายสินค้านั้นมีกาไรหรือขาดทุนชนิดนี้เท่าใด โดยนายอดขายสุทธิหักด้วยต้นทุน
สินค้าขาย จากนั้นจึงหักด้วยค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน และค่าใช้จ่ายหรือภาษีเงินได้อื่นๆ
กรณีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง “งบกาไรขาดทุน”
บริษัท สหกิจ จากัด
งบกาไรขาดทุน
สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x2
ขาย 90,000
หัก รับคืนและส่วนลด 1,000
ส่วนลดจ่าย 700 1,700
ขายสุทธิ 88,300
หัก ต้นทุนสินค้าขาย 50,700
กาไรขั้นต้น 37,600
หัก ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
ค่าขนส่งออก 1,000
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานทั่วไป 12,000
ค่าเบี้ยประกัน 4,000
ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000
หนี้สงสัยจะสูญ 900 22,900
กาไรสุทธิ 14,700
กรณีการบันทึกบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด
บริษัท สหกิจ จากัด
งบกาไรขาดทุน
สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x2
ขาย 90,000
หัก รับคืนและส่วนลด 1,000
ส่วนลดจ่าย 700 1,700
ขายสุทธิ 88,300
หัก ต้นทุนสินค้าขาย
สินค้าคงเหลือต้นงวด 40,000
ซื้อ 40,000
หัก ส่งคืนและส่วนลด 1,200
ส่วนลดรับ 1,100 2,300
ซื้อสุทธิ 37,700
บวก ค่าขนส่งเข้า 3,000
ต้นทุนซื้อสินค้าระหว่างงวด 40,700
รวมต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 80,700
หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 30,000 50,700
กาไรขั้นต้น 37,600
หัก ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน
ค่าขนส่งออก 1,000
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานทั่วไป 12,000
ค่าเบี้ยประกัน 4,000
ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000
หนี้สงสัยจะสูญ 900 22,900
กาไรสุทธิ 14,700
งบดุล
งบดุลของกิจการที่ซื้อขายสินค้าไม่ว่าจะบันทึกบัญชีโดยวิธีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง หรือบรรทุกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด จะทา
เหมือนกันทั้ง 2 วิธี
บริษัท สหกิจ จากัด
งบกาไรขาดทุน
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2
สินทรัพย์
สินทรัพย์หมุนเวียน
เงินสด 130,000
ลูกหนี้การค้า 70,000
หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,400 68,600
สินค้าคงเหลือ 30,000
ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 16,000
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 244,600
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
อุปกรณ์สานักงาน 100,000
หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-อุปกรณ์สานักงาน 5,000 95,000
รวมสินทรัพย์ 339,600
หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
หนี้สินหมุนเวียน
เจ้าหนี้การค้า 10,500
ส่วนของผู้ถือหุ้น
ทุนเรือนหุ้น 300,000
กาไรสะสม 24,400
บวก กาไรสุทธิ 14,700
รวม 39,100
หัก เงินปันผลจ่าย 10,000 29,100
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 329,100
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 339,600
การปิดบัญชีสาหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า
ทาการปิดบัญชีเมื่อตอนสิ้นงวด ในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านบัญชีไปยังสมุดบัญชีแยกประเภท ดังนี้
1. กรณีบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง ปิดบัญชี ดังนี้
1.1 ปิดบัญชีขายเข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน
1.2 ปิดบัญชีต้นทุนสินค้าขาย บัญชีรับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่าย และบัญชีค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน
1.3 ปิดบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุนเข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเครดิต (กรณีกาไร) หรือด้านเดบิต(กรณีขาดทุน)
1.4 ปิดบัญชีเงินปันผลจ่ายเข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเดบิต
การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไปมีดังนี้
จากตัวอย่างโจทย์ บริษัท สหกิจ จากัด
25x2
ธ.ค. 31 เดบิต ขาย 90,000
เครดิต สรุปผลกาไรขาดทุน 90,000
เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 75,300
เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 50,700
รับคืนและส่วนลด 1,000
ส่วนลดจ่าย 700
ค่าขนส่งออก 1,000
ค่าใช้จ่ายดาเนินงานทั่วไป 12,000
ค่าเบี้ยประกัน 4,000
ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000
หนี้สงสัยจะสูญ 900
เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 14,700
เครดิต กาไรสะสม 14,700
เดบิต กาไรสะสม 10,000
เครดิต เงินปันผลจ่าย 10,000
2. กรณีบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดมี 2 กรณี ดังนี้
2.1 กรณีปิดบัญชีโดยไม่แสดงบัญชีต้นทุนสินค้าขาย มีดังนี้
2.1.1 ปิดบัญชีขาย ส่งคืนและส่วนลด และส่วนลดรับ เข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน และบันทึกสินค้าคงเหลือปลายงวดที่ตรวจนับ
ได้
2.1.2 ปิดบัญชีสินค้าคงเหลือต้นงวด รับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่าย ซื้อ ค่าขนส่งเข้า และบัญชีต่างๆ เข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน
2.1.3 ปิดบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน เข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเครดิต (กรณีกาไร) หรือด้านเดบิต (กรณีขาดทุน)
2.1.4 ปิดบัญชีเงินบันผลจ่ายเข้าบัญชี กาไรสะสมด้านเดบิต
การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป มีดังนี้
25x2
ธ.ค. 31 เดบิต สินค้าคงเหลือ (31 ธ.ค. 25x2) 30,000
ขาย 90,000
ส่งคืนและส่วนลด 1,200
ส่วนลดรับ 1,100
เครดิต สรุปผลกาไรขาดทุน 122,300
เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 107,600
เครดิต สินค้าคงเหลือ (1 ม.ค. 25x2) 40,000
รับคืนและส่วนลด 1,000
ส่วนลดจ่าย 700
ซื้อ 40,000
ค่าขนส่งเข้า 3,000
ค่าขนส่งออก 1,000
ค่าใช้จ่ายดาเนินงานทั่วไป 12,000
ค่าเบี้ยประกัน 4,000
ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000
หนี้สงสัยจะสูญ 1,200
เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 14,700
เครดิต กาไรสะสม 14,700
เดบิต กาไรสะสม 10,000
เครดิต เงินปันผลจ่าย 10,000
2.2 กรณีปิดบัญชี โดยแสดงบัญชีต้นทุนสินค้าขาย
2.2.1 ปิดบัญชีส่งคืนและส่วนลด ส่วนลดรับ สินค้าคงเหลือต้นงวด ซื้อ และค่าขนส่งเข้า บันทึกสินค้าคงเหลือปลายงวดที่ตรวจนับ
ได้ และบันทึกต้นทุนสินค้าขาย
2.2.2 ปิดบัญชีขายเข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน
2.2.3 ปิดบัญชีต้นทุนสินค้าขาย รับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่ายและบัญชีค่าใช้จ่ายต่างๆ เข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน
2.2.4 ปิดบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน เข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเครดิต (กรณีกาไร) หรือด้านเดบิต (กรณีขาดทุน)
2.2.5 ปิดบัญชีเงินปันผลจ่ายเข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเดบิต
25x2
ธ.ค. 31 เดบิต สินค้าคงเหลือ (31 ธ.ค.) 30,000
ต้นทุนสินค้าขาย 50,700
ส่งคืนและส่วนลด 1,200
ส่วนลดรับ 1,100
เครดิต สินค้าคงเหลือ (1 ม.ค.) 40,000
ซื้อ 40,000
ค่าขนส่งเข้า 3,000
เดบิต ขาย 90,000
เครดิต สรุปผลกาไรขาดทุน 90,000
เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 75,300
เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 50,700
รับคืนและส่วนลด 1,000
ส่วนลดจ่าย 700
ค่าขนส่งออก 1,000
ค่าใช้จ่ายดาเนินงานทั่วไป 12,000
ค่าเบี้ยประกัน 4,000
ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000
หนี้สงสัยจะสูญ 1,200
เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 14,700
เครดิต กาไรสะสม 14,700
เดบิต กาไรสะสม 10,000
เครดิต เงินปันผลจ่าย 10,000
BACK NEXT
< กลับสู่ด้านบน >

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

ความรู้เกี่ยวกับสินค้า

  • 1. ธุรกิจซื้อขายสินค้า ธุรกิจซื้อขายสินค้า มีรายได้จากธุรกรรมซื้อสินค้าแล้วมาขายสินค้าให้กับลูกค้า จะอยู่ในรูปขายปลีก และขายส่ง การซื้อสินค้า ในธุรกิจของกิจการที่ขายสินค้ามีกิจกรรม 2 ด้าน คือ ด้านซื้อและด้านขาย ในธุรกิจขนาดเล็กบุคคลคนเดียวจะเป็นผู้ทาการจัดซื้อทั้งหมด แต่ถ้า เป็นกิจการขนาดใหญ่ผู้ที่มีหน้าที่ในการจัดซื้อสินค้าคือฝ่ายจัดซื้อ ขั้นตอนโดยสังเขปของการจัดซื้อสินค้า มีดังนี้ 1. ผู้จัดการของฝ่ายที่ต้องการสินค้าจัดทาใบขอซื้อ ส่งไปให้ฝ่ายจัดซื้อ 2. ฝ่ายจัดซื้อเลือกผู้ขายและจัดทาใบสั่งซื้อ ส่งไปให้ผู้ขาย 3. เมื่อผู้ขายได้รับใบสั่งซื้อ ก็จะจัดส่งสินค้าพร้อมกับใบกากับสินค้ามาให้แก่ผู้ซื้อ 4. เมื่อสินค้าส่งมาถึงมือผู้ซื้อ ก็ต้องมีการตรวจสอบทั้งปริมาณ คุณภาพ และคูณลักษณะว่าถูกต้องหรือไม่ และจัดทาใบรับสินค้า เพื่อแสดง รายละเอียดของสินค้าที่รับ ส่วนลดการค้า ผู้ขายจะตั้งราคาสินค้าที่ขายไว้ในราคาสินค้า หรือในสมุดราคาสินค้าไว้เพียงราคาเดียว แต่เวลาขายจริงจะคิดราคาไม่เท่ากัน ส่วนที่ทาให้ราคาขาย ของสินค้าไม่เท่ากันของผู้ซื้อแต่ละราย คือ ส่วนลดการค้า ส่วนลดการค้า หมายถึง จานวนเงินหรืออัตราร้อยละที่ผู้ขายยอมลดให้ผู้ซื้อจากราคาที่ตั้งไว้
  • 2. ส่วนลดการค้าเป็นรายการที่ไม่ต้องบันทึกบัญชีทั้งในสมุดบัญชีของผู้ซื้อและผู้ขาย ซึ่งผู้ซื้อจะบันทึกสินค้าที่ซื้อในราคาที่จ่ายเงินจริง ตัวอย่างที่ 1 ราคาสินค้าตั้งราคาไว้ 20,000 บาท ผู้ขายให้ส่วนลด 10% ราคาสินค้า 20,000 บาท หัก ส่วนลดการค้า (20,000 x 10/100) 2,000 บาท ราคาที่ขายจริง 18,000 บาท ทางด้านผู้ซื้อจะบันทึกบัญชี ดังนี้ เดบิต ซื้อ 18,000 เครดิต เงินสด 18,000 ทางด้านผู้ขายจะบันทึกบัญชี ดังนี้ เดบิต เงินสด 18,000 เครดิต ขาย 18,000 ตัวอย่างที่ 2 ราคาสินค้าตั้งราคาไว้ 20,000 บาท ผู้ขายให้ส่วนลด 5% และอีก 2% ราคาสินค้า 20,000 บาท หัก ส่วนลด 20,000 x 5/100 1,000 บาท คงเหลือ 19,000 บาท หัก ส่วนลด 19,000 x 2/100 380 บาท ราคาที่ขายจริง 18,620 บาท
  • 3. การส่งคืนสินค้า สินค้าที่ส่งมาชารุดเสียหาย ผู้ซื้อก็จะส่งสินค้าเหล่านั้นคืนไป ซึ่งในบางครั้งผู้ขายก็อาจจะส่งสินค้าใหม่มาเปลี่ยน แต่ถ้าผู้ขายไม่ส่งสินค้ามาเปลี่ยนก็ จะต้องลดยอดในบัญชีกรณีซื้อขายเป็นเงินเชื่อ หรือคืนเป็นเงินสดในกรณีซื้อขายเป็นเงินสด ส่วนการบันทึกบัญชี ผู้ซื้อจะบันทึกบัญชีก็ต่อเมื่อได้รับใบลดหนี้หรือใบหักหนี้จากผู้ขายเสียก่อน ใบลดหนี้จะเก็บไว้คู่กับในกากับสินค้า เมื่อถึง เวลาชาระเงินจะได้นาไปหักจากยอดในใบกากับสินค้า แต่ในบางครั้ง การคืนสินค้าหรือขอลดหนี้นั้น ผู้ซื้ออาจจะเป็นผู้จัดทาใบลดหนี้ขึ้นมาแล้วส่งให้ผู้ขายเพื่อขอลดหนี้ แล้วทางผู้ซื้อก็บันทึกบัญชีลด หนี้เลย โดยไม่รอให้ผู้ขายส่งใบลดหนี้มาให้ การส่งคืนสินค้าจะมีผลทาให้ยอดซื้อและยอดหนี้สินของผู้ซื้อลดลง โดยบันทึกในบัญชีส่งคืนและส่วนลด หรือบัญชีสินค้าคงเหลือแล้วแต่วิธีการ บันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแต่ละวิธี ส่วนสดเงินสด ปกติการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อผู้ขายก็มักจะกาหนดระยะเวลาการให้สินเชื่อ ซึ่งอาจจะเป็น 30 วัน 60 วัน หรือ 90 วัน และผู้ขายก็อาจจะกาหนด เงื่อนไขอีกว่า ถ้าลูกหนี้ชาระหนี้ภายในกาหนดที่ให้ไว้ก็จะให้ส่วนลดแก่ลูกหนี้ ส่วนลดนี้เรียกว่าส่วนลดเงินสด ลักษณะของเงื่อนไข มีดังนี้ 1/10, n/30 หมายถึง กาหนดชาระเงินตามราคาที่ปรากฏในใบกากับสินค้าภายใน 30 วันนับจากวันที่ในใบกากับสินค้า แต่ถ้าหากผู้ซื้อชาระเงิน ภายใน 10 วัน ก็จะได้ส่วนลด 1% ส่วนลดเงินสดแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
  • 4. 1. ส่วนลดรับ เป็นจานวนเงินที่ผู้ซื้อได้รับจากผู้ขาย กรณีที่ผู้ซื้อชาระหนี้ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในเงื่อนไขการชาระเงิน ส่วนลดรับจะเป็น รายการที่ทาให้ต้นทุนสินค้าที่ซื้อมาขายลดลง 2. ส่วนลดจ่าย เป็นจานวนเงินที่ผู้ขายลดให้แก่ผู้ซื้อ กรณีที่ผู้ซื้อชาระหนี้ภายในระยะเวลาที่กาหนดไว้ในเงื่อนไขการชาระเงิน ส่วนลดจ่ายจะเป็น รายการที่ทาให้รายได้จากการขายสินค้าลดลง ค่าขนส่ง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการขนถ่ายสินค้าที่ซื้อขายกัน ในกรณีซื้อขายสินค้า ผู้ซื้อและผู้ขายจะต้องตกลงกันในเงื่อนไขการซื้อขายเกี่ยวกับการส่งมอบ และกรรมสิทธิ์ให้สินค้า ซึ่งในการกาหนดเงื่อนไขต่างกัน ก็จะทาให้ราคาสินค้าที่ตกลงซื้อขายกันมีราคาแตกต่างกันด้วยขึ้นอยู่กับเงื่อนไขในการส่งมอบ เงื่อนไขในการขาย มีดังนี้ 1. FOB Shipping Point หมายถึง กรณีที่ผู้ขายจะรับผิดชอบในการส่งสินค้าไปถึงท่าเรือของผู้ขาย และผู้ซื้อต้องรับผิดชอบค่าขนส่งสินค้าและ กรรมสิทธิ์ในสินค้าตั้งแต่ท่าเรือของผู้ขายจนถึงสถานที่ที่ผู้ซื้อกาหนดให้ไปส่ง 2. FOB Destination หมายถึง กรณีที่ผู้ขายจะรับผิดชอบค่าขนส่งและกรรมสิทธิ์ในสินค้าจะไม่โอนไปยังผู้ซื้อจนกว่าจะถึงสถานที่ที่ผู้ซื้อ กาหนดให้ไปส่ง การบันทึกบัญชีเกี่ยวกับค่าขนส่ง 1. กรณีที่ซื้อขายกันโดยเงื่อนไข FOB Shipping Point ผู้ซื้อจะบันทึกรายการโดย เดบิต ค่าขนส่งเข้า xxx เครดิต เงินสด xxx ส่วนผู้ขายไม่ต้องบันทึกบัญชี
  • 5. แต่ถ้าเป็นกรณีที่ผู้ขายจ่ายค่าขนส่งแทนผู้ซื้อไปก่อน ผู้ซื้อจะบันทึกรายการโดย เดบิต ค่าขนส่งเข้า xxx เครดิต เจ้าหนี้การค้า xxx ผู้ขายจะบันทึกรายการโดย เดบิต ลูกหนี้การค้า xxx เครดิต เงินสด xxx 2. กรณีที่ซื้อขายกันโดยเงื่อนไข FOB Destination ผู้ซื้อไม่ต้องบันทึกบัญชี ผู้ขายบันทึกบัญชีโดย เดบิต ค่าขนส่งออก xxx เครดิต เงินสด xxx แต่ถ้าเป็นกรณีที่ผู้ซื้อจ่ายค่าขนส่งแทนผู้ขายไปก่อน ผู้ซื้อจะบันทึกรายการโดย เดบิต เจ้าหนี้การค้า xxx เครดิต เงินสด xxx ผู้ขายบันทึกบัญชีโดย
  • 6. เดบิต ค่าขนส่งออก xxx เครดิต ลูกหนี้การค้า xxx ตัวอย่างที่3 บริษัท โท จากัด ซื้อสินค้าจากบริษัท เอก จากัด จานวน 20,000 บาท มีเงื่อนไขการชาระเงิน 1/10, n/30 FOB Shipping Point บริษัท เอก จ่ายค่า ขนส่งแทนบริษัท โท ไปก่อนจานวน 500 บาท บริษัท เอก จากัด บริษัท โท จากัด ตอนขายสินค้า เดบิต ลูกหนี้การค้า 20,000 เครดิต ขาย 20,000 ตอนจ่ายค่าขนส่งแทนกัน เดบิต ลูกหนี้การค้า 500 เครดิต เงินสด 500 ตอนชาระและให้ส่วนลด เดบิต เงินสด 20,300 ส่วนลดจ่าย 200 เครดิต ลูกหนี้การค้า 20,500 ตอนขายสินค้า เดบิต ซื้อ 20,000 เครดิต เจ้าหนี้การค้า 20,000 ตอนจ่ายค่าขนส่งแทนกัน เดบิต ค่าขนส่งเข้า 500 เครดิต เจ้าหนี้การค้า 500 ตอนชาระและให้ส่วนลด เดบิต เจ้าหนี้การค้า 20,500 เครดิต เงินสด 20,300 ส่วนลดรับ 200 จากผู้อย่างเดิม ถ้าเงื่อนไขในการซื้อขายเป็น 1/10, n/30 FOB Destination โดยบริษัท โท จ่ายค่าขนส่งแทนบริษัท เอก ไปก่อน
  • 7. บริษัท เอก จากัด บริษัท โท จากัด ตอนขายสินค้า เดบิต ลูกหนี้การค้า 20,000 เครดิต ขาย 20,000 ตอนจ่ายค่าขนส่งแทนกัน เดบิต ค่าขนส่งออก 500 เครดิต ลูกหนี้การค้า 500 ตอนชาระและให้ส่วนลด เดบิต เงินสด 19,300 ส่วนลดจ่าย 200 เครดิต ลูกหนี้การค้า 19,500 ตอนขายสินค้า เดบิต ซื้อ 20,000 เครดิต เจ้าหนี้การค้า 20,000 ตอนจ่ายค่าขนส่งแทนกัน เดบิต เจ้าหนี้การค้า 500 เครดิต เงินสด 500 ตอนชาระและให้ส่วนลด เดบิต เจ้าหนี้การค้า 19,500 เครดิต เงินสด 19,300 ส่วนลดรับ 200 จะเห็นว่าการให้ส่วนลดการค้า จะให้เฉพาะค่าสินค้าเท่านั้น ส่วนค่าขนส่งที่จ่ายแทนกันนั้นไม่คิดส่วนลดให้แก่กัน รายได้จากการขาย รายได้หลักของธุรกิจซื้อขายสินค้า คือ รายได้จากการขายสินค้า จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้ขายได้ส่งมอบสินค้าให้ผู้ซื้อแล้ว โดยไม่คานึงว่าจะได้รับเงิน สดแล้วหรือไม่ ตัวอย่างที่ 4 งบกาไรขาดทุนของกิจการซื้อขายสินค้าของร้านสีทอง สาหรับงวด 1 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 มกราคม 2554 มีดังนี้
  • 8. ร้านสีทอง งบกาไรขาดทุน สาหรับงวด 1 เดือน สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ขาย (2,000x@100) 200,000 หัก ต้นทุนสินค้าขาย (2,000x@60) 120,000 กาไร ขั้นต้น 80,000 หัก ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน(2,000x@30) 60,000 กาไรสุทธิ 20,000 การรับคืนสินค้า เมื่อผู้ขายส่งสินค้าไปให้ผู้ซื้อแล้วในการตรวจรับสินค้าทางผู้ซื้ออาจพบสินค้าที่ส่งไปชารุดเสียหายอาจผิดขนาด หรือคุณภาพไม่ตรงกับที่ ส่งให้ ในบางครั้งผู้ขายก็ต้องเปลี่ยนสินค้า หรืออาจจะไม่ต้องเปลี่ยนแต่ให้ส่วนลดแก่ผู้ซื้อ แต่ถ้าลูกค้าซื้อเป็นเงินสดต้องคืนเงินให้ลูกค้า การรับคืนสินค้าจะมีผลทาให้ยอดขายและยอดลูกหนี้ลดลง การบันทึกบัญชีจะใช้ใบลดหนี้เป็นหลักฐานในการบันทึกบัญชี โดยบันทึกในบัญชี รับคืนและส่วนลด วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือ
  • 9. วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือของธุรกิจซื้อขายสินค้า อาจทาได้ 2 วิธี คือ 1. การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory Method) 2. การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด (Periodic Inventory Method) การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง จะบันทึกการรับจ่ายสินค้าอย่างต่อเนื่อง เพื่อแสดงให้เห็นความเคลื่อนไหวของสินค้าอยู่ตลอดเวลา วิธีนี้กิจการจะได้ข้อมูลที่รวดเร็วทันต่อ เหตุการณ์เพื่อใช้ในการวางแผนและควบคุมเกี่ยวกับสินค้าคงเหลือ เหมาะกับธุรกิจที่จาหน่ายสินค้าที่มีราคาต่อหน่วยสูง และมีปริมาณน้อย บัญชีที่สาคัญเกี่ยวกับการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่องได้แก่บัญชีสินค้าคงเหลือ และบัญชีต้นทุนสินค้าขาย บัญชีสินค้าคงเหลือ เป็นบัญชีประเภทสินทรัพย์หมุนเวียน ตามวิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง ในบัญชีสินค้าคงเหลือจะ ประกอบด้วย รายละเอียดดังนี้ ด้านเดบิต ประกอบด้วย 1. รายการซื้อสินค้า 2. รายการรับคืนสินค้าจากลูกค้า 3. รายการค่าขนส่งเข้า ส่วนทางด้านเครดิต ประกอบด้วย 1. รายการต้นทุนสินค้าที่ขายไป 2. รายการส่งคืนสินค้า 3. รายการส่วนลดรับที่ได้รับจากผู้ขาย
  • 10. ตัวอย่าง บัญชีสินค้าคงเหลือ มีดังนี้ บัญชีสินค้าคงเหลือ ยกมา xx ซื้อ xx รับคืนและส่วนลด xx ค่าขนส่งเข้า xx ต้นทุนสินค้าขาย xx ส่งคืนและส่วนลด xx ส่วนลดรับ xx ยกไป xx บัญชีต้นทุนสินค้าขาย หรือบัญชีต้นทุนขาย เป็นบัญชีประเภทค่าใช้จ่าย ใช้สาหรับบันทึกต้นทุนสินค้าที่ขายออกไปโดยโอนต้นทุนออกจากบัญชีสินค้า คงเหลือไปเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อไปจับคู่กับบัญชีขายตามหลักการจับคู่ราบได้กับค่าใช้จ่าย ดังนั้นทุกครั้งที่มีการขายสินค้าจะต้องบันทึกบัญชีต้นทุนสินค้าขาย ด้วย เช่นเดียวกันถ้ามีการรับคืนสินค้าก็ต้องมีการลดบัญชีต้นทุนสินค้าขายออก ด้านเดบิตของบัญชีต้นทุนสินค้าขายจะบันทึกต้นทุนขายที่เกิดจากรายการ ขายสินค้า ส่วนทางด้านเครดิตบัญชีต้นทุนสินค้าขายจะบันทึกรายการรับคืนสินค้า ตัวอย่าง บัญชีต้นทุนสินค้าขาย มีดังนี้ บัญชีต้นทุนสินค้าขาย ขาย xx รับคืนและส่วนลด xx
  • 11. ตัวอย่างที่ 5 การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง 1. เมื่อซื้อสินค้า วันที่ 1 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงซื้อวิทยุ 10 เครื่อง ราคาเครื่องละ 3,000 บาท จากบริษัท สากลการค้า จากัด เป็นเงินเชื่อ เงื่อนไข 1/10, n/30 การบันทึกบัญชีมีดังนี้ เดบิต สินค้าคงเหลือ xxx เครดิต เจ้าหนี้การค้า xxx บัญชีสินค้าคงเหลือ เป็นบัญชีประเภทสินทรัพย์อยู่ในหมวดสินทรัพย์หมุนเวียน 2. ค่าขนส่ง จากตัวอย่าง เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงจ่ายค่าขนส่งในการซื้อสินค้าจานวน 500 บาท เดบิต สินค้าคงเหลือ xxx เครดิต เงินสด xxx การจ่ายค่าขนส่งนั้นจะบันทึกบัญชีเข้าบัญชีสินค้าคงเหลือ ทาให้ต้นทุนของสินค้าคงเหลือเพิ่มขึ้น 3. การส่งคืนสินค้าและจานวนที่ได้ลด วันที่ 3 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงส่งวิทยุที่ซื้อมา 1 เครื่องคืนให้แก่ผู้ขายเนื่องจากชารุด เดบิต เจ้าหนี้การค้า xxx เครดิต สินค้าคงเหลือ xxx
  • 12. กรณีที่กิจการส่งคืนสินค้าให้แก่ผู้ขายจะทาให้หนี้สินและสินค้าคงเหลือมียอดลดลง 4. การจ่ายชาระหนี้ และได้รับส่วนลดเงินสด วันที่ 11 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงชาระหนี้ให้แก่ บริษัท สากล การค้าจากัด ทั้งหมด ซึ่งกรณีนี้ร้านบัวหลวงชาระหนี้ภายใน 10 วันตามเงื่อนไข ได้รับส่วนลดเงินสด การคานวณหาส่วนลดเงินสด ซื้อสินค้า 30,000 หัก ส่งคืน 3,000 เหลือคงค้าง 27,000 หัก ส่วนลดรับ 1% 270 จานวนเงินที่ต้องชาระ 26,730 บันทึกบัญชีดังนี้ เดบิต เจ้าหนี้การค้า 27,000 เครดิต เงินสด 26,730 สินค้าคงเหลือ 270 กิจการชาระหนี้ภายในกาหนดและได้รับส่วนลดจากผู้ขายจะทาให้ต้นทุนสินค้าลดลง แต่ถ้ากรณีกิจการไม่ชาระหนี้ตามกาหนดที่ได้ส่วนลดก็ จะต้องชาระหนี้เต็มจานวน
  • 13. 5. การขายสินค้า วันที่ 16 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวง ขายวิทยุให้แก่ลูกค้า 3 เครื่องเป็นเงิน 12,000 บาท เงื่อนไข 1/10,n/30 สินค้ามีต้นทุน 9,000 บาท เดบิต ลูกหนี้การค้า 12,000 เครดิต ขาย 12,000 เดบิต ต้นทุนสินค้าขาย 9,000 เครดิต สินค้าคงเหลือ 9,000 เมื่อกิจการใช้วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง ทุกครั้งที่มีการขายสินค้าจะต้องมีการบันทึกบัญชี 2 คู่ โดยคู่แรกจะบันทึกเกี่ยวกับ รายได้คือค่าขาย ส่วนคู่ที่ 2 จะเป็นการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือทางด้านเครดิตเป็นการลดยอดสินค้า และเดบิตบัญชีต้นทุนสินค้าขายซึ่งเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย สาหรับกรณีที่กิจการใช้สมุดรายวันเฉพาะในการบันทึกบัญชี การบันทึกต้นทุนสินค้าขายอาจจะบันทึกเดือนละครั้ง โดยบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป 6. การรับคืนสินค้าและจานวนที่ลดให้ วันที่ 20 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวงได้รับใบลดหนี้จากลูกค้าที่ซื้อวิทยุ เป็นเงินเชื่อในวันที่ 16 กันยายน จานวน 1 เครื่อง เดบิต รับคืนและส่วนลด 4,000 เครดิต ลูกหนี้การค้า 4,000 เดบิต สินค้าคงเหลือ 3,000 เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 3,000
  • 14. ต้องบันทึกบัญชี 2 คู่ โดยคู่แรกเป็นการบันทึกรายการลดยอดขาย โดยบันทึกเดบิตบัญชีรับคืนและส่วนลด และเครดิตบัญชีลูกหนี้การค้า แต่ถ้า กิจการขายสินค้าเป็นเงินสด เวลารับคืนก็คืนเงินสดให้แก่ลูกค้า ส่วนคู่ที่ 2 จะเป็นการบันทึกบัญชีสินค้าที่รับคืนมา บัญชีรับคืนและส่วนลด เป็นบัญชีประเภทบัญชีปรับมูลค่าขาย จะนาไปแสดงโดยตัดยอดบัญชีขายเพื่อนาไปคานวณหายอดขายสุทธิ 7. การจ่ายค่าขนส่งในการขาย วันที่ 17 กันยายน 2554 ร้านบัวหลาวงจ่ายค่าขนส่งในการขาย 400 บาท เดบิต ค่าขนส่งออก 400 เครดิต เงินสด 400 บัญชีค่าขนส่งออกเป็นบัญชีค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน จึงไม่นาไปรวมเป็นส่วนหนึ่งของต้นทุนสินค้าขาย 8. การรับชาระหนี้ค่าสินค้าและให้ส่วนลดเงินสด วันที่ 26 กันยายน 2554 ร้านบัวหลวง ได้รับชาระหนี้จากลูกค้าที่ซื้อสินค้าเมื่อวันที่ 16 กันยายน ทั้งจานวน ภายในกาหนดเวลา และได้ให้ส่วนลดแก่ ลูกค้า การคานวณส่วนลดจ่าย ขาย 12,000 หัก รับคืน 4,000 คงเหลือ 8,000 หัก ส่วนลดจ่าย 1% 80 จานวนเงินที่จะได้รับ 7,920
  • 15. บันทึกบัญชีดังนี้ เดบิต เงินสด 7,920 ส่วนลดจ่าย 80 เครดิต ลูกหนี้การค้า 8,000 บัญชีส่วนลดจ่ายเป็นบัญชีประเภทบัญชีปรับมูลค่าขาย 9. การนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว วันที่ 28 กันยายน 2554 น.ส.บัว เจ้าของกิจการได้นาวิทยุ 1 เครื่องไปใช้ส่วนตัว เดบิต เงินถอน น.ส.บัว 3,000 เครดิต สินค้าคงเหลือ 3,000 การผ่านบัญชีจากสมุดรายวันทั่วไปยังบัญชีแยกประเภททั่วไปของบัญชีสินค้าคงเหลือ และบัญชีต้นทุนสินค้าขาย เป็นดังนี้ สินค้าคงเหลือ 2554 ก.ย. 1 ยกมา 8,000 เจ้าหนี้การค้า 30,000 เงินสด 500 20 ต้นทุนสินค้าขาย 3,000 2554 ก.ย.3 เจ้าหนี้การค้า 3,000 11 เจ้าหนี้การค้า 270 16 ต้นทุนสินค้าขาย 9,000 28 เงินถอน น.ส.บัว 3,000
  • 16. 41,500 ต.ค. 1 ยกมา 26,230 30 ยกไป 26,230 41,500 ต้นทุนสินค้าขาย 2554 ก.ย. 16 สินค้าคงเหลือ 6,000 2554 ก.ย. 20 สินค้าคงเหลือ 3,000 การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด เป็นวิธีการบันทึกบัญชีที่ไม่บันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือและบัญชีต้นทุนสินค้าขายในขณะที่มีการซื้อขายสินค้าจนกว่าจะถึงวันสิ้นงวดบัญชี ตามวิธีนี้ บัญชีสินค้าคงเหลือจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงในระหว่างงวด และบัญชีต้นทุนสินค้าขายก็จะไม่มีการบันทึกตอนที่ขายสินค้าทุกครั้ง และในวันสิ้นงวดกิจการ จาเป็นที่จะต้องมีการตรวจนับสินค้าในวันสิ้นงวดเพื่อบันทึกในบัญชีสินค้าคงเหลือ และใช้ในการคานวณต้นทุนสินค้าที่ขายไป บัญชีที่ต้องบันทึกแทนบัญชีสินค้าคงเหลือและบัญชีต้นทุนสินค้าขาย คือ บัญชีซื้อ บัญชีค่าขนส่งเข้า บัญชีส่งคืนและส่วนลดบัญชีส่วนลดรับ ธุรกิจที่เหมาะกับการบันทึกบัญชีวิธีนี้คือ ธุรกิจที่จานวนสินค้าราคาต่อหน่วยค่อนข้างต่าและขายเป็นจานวนมาก
  • 17. บัญชีสินค้าคงเหลือตามวิธีบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด จะแสดงเฉพาะสินค้าคงเหลือยกมาจากงวดก่อนเท่านั้น ในระหว่างงวดจะไม่มี การบันทึกบัญชี สินค้าคงเหลือ 2554 ก.ย.1 ยกมา 8,000 ส่วนต้นทุนสินค้าขายในวิธีนี้ ไม่ได้บันทึกบัญชีต้นทุนของทุกครั้ง ดังนั้นหากต้องการทราบว่าต้นทุนสินค้าขายเท่ากับเท่าใด คานวณหาได้ดังนี้ ต้นทุนสินค้าขาย : สินค้าคงเหลือต้นงวด xx บวก ซื้อ xx หัก ส่งคืนและส่วนลด xx
  • 18. ส่วนลดรับ xx xx ซื้อสุทธิ xx บวก ค่าขนส่งเข้า xx ต้นทุนซื้อระหว่างงวด xx ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย xx หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด xx ต้นทุนสินค้าขาย xx หรือ ต้นทุนสินค้าขาย = สินค้าคงเหลือต้นงวด + ซื้อ + ค่าขนส่งเข้า – ส่งคืนและส่วนลด – ส่วนลด รับ – สินค้าคงเหลือปลายงวด ตัวอย่างที่ 6 การบันทึกสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด (จากตัวอย่างเดิม) 1. เมื่อซื้อสินค้า เดบิต ซื้อ 30,000 เครดิต เจ้าหนี้การค้า 30,000 วิธีนี้จะบันทึกบัญชีซื้อแทนบัญชีสินค้าคงเหลือ บัญชีซื้อเป็นบัญชีชั่วคราวประเภทค่าใช้จ่าย และเป็นบัญชีหนึ่งที่ใช้คานวณต้นทุนสินค้าขาย ส่วน การซื้อสินทรัพย์อื่นๆ จะไม่บันทึกในบัญชีนี้ แต่จะบันทึกบัญชีสินทรัพย์นั้นโดยตรง 2. ค่าขนส่งเข้า เดบิต ค่าขนส่งเข้า 500
  • 19. เครดิต เงินสด 500 บัญชีค่าขนส่งเข้าเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย และเป็นบัญชีหนึ่งที่จะต้องนาไปคานวณต้นทุนสินค้าขาย 3. การส่งคืนสินค้าและจานวนที่ได้ลด เดบิต เจ้าหนี้การค้า 3,000 เครดิต ส่งคืนและส่วนลด 3,000 บัญชีส่งคืนและส่วนลด เป็นบัญชีประเภทบัญชีปรับมูลค่าบัญชีซื้อ เป็นบัญชีหักจากบัญชีซื้อเพื่อลดยอดของบัญชีซื้อ ในการคานวณหายอดซื้อ สุทธิของกิจการ 4. การจ่ายชาระหนี้และได้รับส่วนลด เดบิต เจ้าหนี้การค้า 27,000 เครดิต เงินสด 26,730 ส่วนลดรับ 270 บัญชีส่วนลดรับเป็นบัญชีประเภทปรับมูลค่าบัญชีซื้อ และจะนาบัญชีนี้ไปหักจากบัญชีซื้อเพื่อลดยอดบัญชีซื้อในการคานวณหายอดซื้อสุทธิ ซื้อ 30,000 หัก ส่งคืนและส่วนลด 3,000 ส่วนลดรับ 270 3,270
  • 20. ซื้อสุทธิ 26,730 5. การขายสินค้า เดบิต ลูกหนี้การค้า 12,000 เครดิต ขาย 12,000 วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดนั้นจะไม่ต้องบันทึกต้นทุนสินค้าขายในตอนขาย 6. รับคืนและส่วนลด เดบิต รับคืนและส่วนลด 4,000 เครดิต ลูกหนี้การค้า 4,000 วิธีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือตามวิธีนี้ จะไม่มีการบันทึกต้นทุนสินค้าขาย และสอนค้าคงเหลือในตอนรับคืนสินค้า 7. จ่ายค่าขนส่งในการขาย เดบิต ค่าขนส่งออก 400 เครดิต เงินสด 400 บัญชีค่าขนส่งออกเป็นบัญชีค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน 8. การรับชาระหนี้และให้ส่วนลดจ่าย เดบิต เงินสด 7,920
  • 21. ส่วนลดจ่าย 80 เครดิต ลูกหนี้การค้า 8,000 บัญชีส่วนลดจ่าย เป็นบัญชีปรับมูลค่าขาย 9. การนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว เดบิต เงินถอน - น.ส.บัว 3,000 เครดิต ซื้อ 3,000 การคานวณหาต้นทุนสินค้าขาย ร้านบัวหลวง มีสินค้าคงเหลือยกมา จานวน 8,000 บาท และสินค้าคงเหลือปลายงวดตรวจนับได้และตีราคาได้จานวน 26,230 บาท การคานวณหา ต้นทุนสินค้าขายได้ดังนี้ สินค้าคงเหลือต้นงวด 8,000 บวก ซื้อ (30,000 - 3,000) 27,000 หัก ส่งคืนและส่วนลด 3,000 ส่วนลดรับ 270 3,270 ซื้อสุทธิ 23,730
  • 22. บวก ค่าขนส่งเข้า 500 ต้นทุนซื้อระหว่างงวด 24,230 ต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 32,230 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 26,230 ต้นทุนสินค้าขาย 6,000 การเปรียบเทียบการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือทั้ง 2 วิธี การบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง การบันทึกบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด ก.ย. 1 สินค้าคงเหลือ 30,000 เจ้าหนี้การค้า 30,000 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ ก.ย. 1 ซื้อ 30,000 เจ้าหนี้การค้า 30,000 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อ 1 สินค้าคงเหลือ 500 เงินสด 500 จ่ายค่าขนส่งในการซื้อสินค้า 1 ค่าขนส่งเข้า 500 เงินสด 500 จ่ายค่าขนส่งในการซื้อสินค้า 3 เจ้าหนี้การค้า 3,000 สินค้าคงเหลือ 3,000 ส่งคืนสินค้าที่ชารุด 3 เจ้าหนี้การค้า 3,000 ส่งคืนและส่วนลด 3,000 ส่งคืนสินค้าที่ชารุด 11 เจ้าหนี้การค้า 27,000 เงินสด 26,730 สินค้าคงเหลือ 270 จ่ายชาระหนี้ค่าสินค้าและได้ส่วนลดรับ 11 เจ้าหนี้การค้า 27,000 เงินสด 26,730 ส่วนลดรับ 270 จ่ายชาระหนี้ค่าสินค้าและได้ส่วนลดรับ
  • 23. 16 ลูกหนี้การค้า 12,000 ขาย 12,000 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ 16 ลูกหนี้การค้า 12,000 ขาย 12,000 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อ ต้นทุนสินค้าขาย 9,000 สินค้าคงเหลือ 9,000 บันทึกต้นทุนสินค้าขาย ไม่บนทึกบัญชี 20 รับคืนและส่วนลด 4,000 ลูกหนี้การค้า 4,000 รับคืนสินค้าที่ขายเป็นเงินเชื่อ 20 รับคืนและส่วนลด 4,000 ลูกหนี้การค้า 4,000 รับคืนสินค้าที่ขายเป็นเงินเชื่อ สินค้าคงเหลือ 4,000 ต้นทุนสินค้าขาย 4,000 บันทึกรับคืนสินค้าและลดต้นทุนสินค้าขาย ไม่บนทึกบัญชี 17 ค่าขนส่งออก 400 เงินสด 400 จ่ายค่าขนส่งสินค้าที่ขาย 17 ค่าขนส่งออก 400 เงินสด 400 จ่ายค่าขนส่งสินค้าที่ขาย 26 เงินสด 7,920 ส่วนลดจ่าย 80 ลูกหนี้การค้า 8,000 รับชาระหนี้จากลูกค้าและให้ส่วนลด 26 เงินสด 7,920 ส่วนลดจ่าย 80 ลูกหนี้การค้า 8,000 รับชาระหนี้จากลูกค้าและให้ส่วนลด 28 เงินถอน - น.ส.บัว 3,000 28 เงินถอน - น.ส.บัว 3,000
  • 24. สินค้าคงเหลือ 3,000 เจ้าของกิจการนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว ซื้อ 3,000 เจ้าของกิจการนาสินค้าไปใช้ส่วนตัว การบันทึกบัญชีกรณีกิจการที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ธุรกิจที่จดทะเบียนอยู่ในระบบภาษีมูลค่าเพิ่มจะต้องเรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภาษีขาย) จากผู้ซื้อทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ส่วนในการซื้อสินค้า ถ้าซื้อสินค้าจากผู้ขายที่จดทะเบียนในระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม ธุรกิจจะต้องชาระภาษีซื้อแล้วได้ใบกากับภาษี การบันทึกบัญชี มีดังนี้ 1. การซื้อสินค้า วันที่ 1 สิงหาคม 2554บริษัท ออดิโอ จากัด ซื้อสินค้าจากบริษัท เอกชัย จากัด 100,000 บาท เงื่อนไขการชาระเงิน 1/10, n/30 เดบิต ซื้อ 100,000 ภาษีซื้อ 7,000 เครดิต เจ้าหนี้การค้า 107,000 บัญชีภาษีซื้อเป็นบัญชีประเภทสินทรัพย์ พอสิ้นเดือนจะต้องปิดไปพร้อมกับบัญชีภาษีขาย เพื่อคานวณหาว่าได้คืนภาษีหรือต้องชาระภาษีเพิ่ม 2. การส่งคืนสินค้า วันที่ 3 สิงหาคม 2554 บริษัทออดิโอ จากัด ส่งคืนสินค้าที่ซื้อจากบริษัทเอกชัย จานวน 10,000 บาท เนื่องจากชารุด ตามใบหักหนี้ เลขที่1101
  • 25. เดบิต เจ้าหนี้การค้า 10,700 เครดิต ส่งคืนและส่วนลด 10,000 ภาษีซื้อ 700 3. การขายสินค้า วันที่7 สิงหาคม 2554 บริษัทขายสินค้าให้แก่ร้านพิธาน จานวน 120,000 บาทเงื่อนไขการชาระเงิน 1/10, n/40 ให้ส่วนลดการค้า 5% ภาษีขาย 7% ตามใบกากับสินค้าเลขที่ 1178 เดบิต ลูกหนี้การค้า 121,980 เครดิต ขาย 114,000 ภาษีขาย 7,980 บัญชีภาษีขายเป็นบัญชีประเภทหนี้สิน ตอนสิ้นเดือนต้องปิดพร้อมกับภาษีซื้อ 4. การรับคืนสินค้า วันที่ 8 สิงหาคม 2554 บริษัทรับคืนสินค้าจากร้านพิธาน จานวน 14,000 บาท เนื่องจากส่งของผิดรุ่น ตามใบหักหนี้ เลขที่ 720 เดบิต รับคืนและส่วนลด 14,000 ภาษีขาย (14,000x7%) 980 เครดิต ลูกหนี้การค้า 14,980
  • 26. 5. การจ่ายชาระหนี้และได้รับส่วนลดเงินสด วันที่ 11 สิงหาคม 2554 บริษัทจ่ายชาระหนี้ที่ค้างทั้งหมดให้แก่ บริษัท เอกชัย และได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข เดบิต เจ้าหนี้การค้า 96,300 เครดิต เงินสด 95,400 ส่วนลดรับ 900 การคานวณส่วนลด มีดังนี้ ซื้อ 100,000 หัก ส่งคืนและส่วนลด 10,000 คงเหลือ 90,000 ส่วนลดรับ 1% เท่ากับ 90,000 x 1% = 900 บาท 6. การรับชาระหนี้ และให้ส่วนลด วันที่ 17 สิงหาคม 2554 บริษัทได้รับชาระหนี้ที่คงค้างทั้งหมดจากร้านพิธาน และได้ให้ส่วนลดตามเงื่อนไข เดบิต เงินสด 106,000 ส่วนลดจ่าย 1,000 เครดิต ลูกหนี้การค้า 107,000 การคานวณส่วนลดจ่าย มีดังนี้ ขาย 114,000 บาท
  • 27. หัก รับคืนและส่วนลด 14,000 บาท คงเหลือ 100,000 บาท ส่วนลดจ่าย 1% เท่ากับ 100,000 x 1% = 1,000 บาท 7. การนาส่งภาษีในวันสิ้นเดือน เมื่อถึงวันสิ้นเดือนกิจการต้องปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขายในกรณีที่ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อก็ต้องชาระภาษีในส่วนที่แตกต่างโดยบันทึกบัญชี เครดิตภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย หรือเจ้าหนี้กรมสรรพากร แต่ถ้ากรณีภาษีซื้อมากกว่าภาษีขาย จะบันทึกเดบิตบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่มรอรับคืนหรือลูกหนี้ กรมสรรพากร เดบิต ภาษีขาย 7,000 เครดิต ภาษีซื้อ 6,300 ภาษีมูลค่าเพิ่มค้างจ่าย / เจ้าหนี้-กรมสรรพากร 700 ตัวอย่าง การบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง บริษัท เกษตรการไฟฟ้า จากัด ได้จดทะเบียนเข้าสู่ระบบ ภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7 ใน ระหว่างเดือนเมษายน 2554 มีรายการค้าเกิดขึ้น ดังนี้ เม.ย. 2 ซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อจาก หจก. สินไทย 50 หน่วย เป็นเงิน 100,000บาท เงื่อนไขในการชาระเงิน 2/10, n/40 ภาษีซื้อ 7% ตามใบกากับภาษี เลข ที่ 7890 จานวน 7,000 บาท 4 ส่งคืนสินค้าที่ซื้อจาก หจก. สินไทย 5 หน่วย เป็นเงิน 10,000 บาท เนื่องจากเป็นสินค้ามีตาหนิ ตามใบลดหนี้เลขที่ 112 12 จ่ายชาระหนี้ให้ หจก. สินไทย ทั้งสิ้น ได้รับส่วนลดตามเงื่อนไข
  • 28. 15 ขายสินค้าเป็นเงินเชื่อให้ร้านนันทวัน 40 หน่วย ราคาหน่วยละ 3,000 บาท เงื่อนไข 1/10, n/30 ให้ ส่วนลดการค้า 5% ภาษีเลขที่ 1234 เป็น เงิน 7,980 บาท 19 รับคืนสินค้าที่ขายให้แก่ร้านนันทวัน 10 หน่วย เพราะชารุด ตามใบลดหนี้ เลขที่ 412 23 จ่ายค่าโฆษณาให้แก่หนังสือพิมพ์ไทย 10,000 บาท เป็นเงินสด ภาษีซื้อ 7% 25 รับชาระหนี้จากร้านนันทวันทั้งสิ้น และให้ส่วนลดตามเงื่อนไข 30 ปิดบัญชีภาษีซื้อและภาษีขาย บันทึกบัญชีดังนี้ 25x5 เม.ย. 2 เดบิต สินค้าคงเหลือ 100,000 ภาษีซื้อ 7,000 เครดิต เจ้าหนี้การค้า 107,000 4 เดบิต เจ้าหนี้การค้า 10,700 เครดิต สินค้าคงเหลือ 10,000 ภาษีซื้อ 700 12 เดบิต เจ้าหนี้การค้า 96,300 เครดิต เงินสด 94,500 สินค้าคงเหลือ 1,800 15 เดบิต ลูกหนี้การค้า 121,980 เครดิต ขาย 114,000
  • 29. ภาษีขาย 7,980 15 เดบิต ต้นทุนสินค้าขาย 80,000 เครดิต สินค้าคงเหลือ 80,000 19 เดบิต รับคืนและส่วนลด 28,500 ภาษีขาย 1,995 เครดิต ลูกหนี้การค้า 30,495 19 เดบิต สินค้าคงเหลือ 20,000 เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 20,000 23 เดบิต ค่าโฆษณา 10,000 ภาษีซื้อ 700 เครดิต เงินสด 10,700 25 เดบิต เงินสด 90,630 ส่วนลดจ่าย 855 เครดิต ลูกหนี้การค้า 91,485 30 เดบิต ภาษีมูลค่าเพิ่มรอรับคืน/ลูกหนี้-กรมสรรพากร 1,015 ภาษีขาย 5,985 เครดิต ภาษีซื้อ 7,000 การบันทึกบัญชีกรณีภาษีหัก ณ ที่จ่าย การหักภาษี ณ ที่จ่าย เป็นบริการเสียภาษีวิธีหนึ่งของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล
  • 30. ผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย ต้องนาเงินภาษีที่หักไว้ส่งกรมสรรพากรภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนของเดือนที่จ่ายเงิน หรือภายใน7 วัน นับแต่วันที่ จ่ายเงินขึ้นอยู่กับประเภทของเงินได้ ตัวอย่าง วันที่ 30 เมษายน 2554 กิจการจ่ายเงินเดือนให้แก่พนักงานคนหนึ่ง 10,000 บาท จะต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย 500 บาท เดบิต เงินเดือน 10,000 เครดิต เงินสด 9,500 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 500 วันที่ 7 พ.ค. 2554 นาภาษีหัก ณ ที่จ่ายส่งกรมสรรพากร เดบิต ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 500 เครดิต เงินสด 500 บัญชีภาษีหัก ณ ที่จ่าย เป็นบัญชีหนี้สินหมุนเวียน กระดาษทาการสาหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า แตกต่างจากที่เรียนมาแล้วเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวกับสินค้าเท่านั้น ในกรณีที่กิจการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง จะมีบัญชีที่เพิ่มเติม ดังนี้ 1. บัญชีสินค้าคงเหลือในงบทดลองก่อนปรับปรุง จะเป็นยอดสินค้าคงเหลือปลายงวด และจะนาไปลงในช่องงบดุลทางด้านเดบิต 2. บัญชีขายเป็นบัญชีรายได้ แสดงในช่องงบกาไรขาดทุน ทางด้านเครดิต 3. บัญชีรับคืนและส่วนลดเป็นบัญชีปรับมูลค่าขายให้ลดลง แสดงในช่องงบกาไรขาดทุน ทางด้านเดบิต 4. บัญชีส่วนลดจ่ายเป็นบัญชีปรับมูลค่าขาย แสดงในช่องงบกาไรขาดทุนทางด้านเดบิต 5. บัญชีต้นทุนสินค้าขายเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย แสดงในช่องงบกาไรขาดทุน ทางด้านเดบิต ตัวอย่าง การจัดทากระดาษทาการ กรณีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง
  • 31. บริษัท สหกิจ จากัด งบทดลองก่อนปรับปรุง วันที่ 31 ธันวาคม 2552 เงินสด 130,000 ลุกหนี้การค้า 70,000 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 500 สินค้าคงเหลือ 30,000 ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 20,000 อุปกรณ์สานักงาน 100,000 เจ้าหนี้การค้า 10,500 ทุนเรือนหุ้น 300,000 กาไรสะสม 24,400 เงินปันผลจ่าย 10,000 ขาย 90,000 รับคืนและส่วนลด 1,000 ส่วนลดจ่าย 700 ต้นทุนสินค้าขาย 50,700 ค่าขนส่งออก 1,000 ค่าใช้จ่ายดาเนินงานทั่วไป 425,400 425,400
  • 32. ข้อมูลเพิ่มเติม 1. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2552 จานวน 16,000 บาท 2. คิดค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์สานักงาน 5% ต่อปี 3. ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 2% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ กระดาษทาการ สาหรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ชื่อบัญชี งบทดลอง รายการปรับปรุง งบทดลองหลังปรับปรุง งบกาไรขาดทุน งบดุล เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เงินสด ลูกหนี้การค้า ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะ สูญ สินค้าคงเหลือ ค่าเบี้ยประกันจ่าย ล่วงหน้า อุปกรณ์สานักงาน เจ้าหนี้การค้า ทุนเรือนหุ้น กาไรสะสม เงินปันผลจ่าย 130,000 70,000 30,000 20,000 100,000 10,000 500 10,500 300,000 24,400 900 4,000 130,000 70,000 30,000 16,000 100,000 10,000 1,400 10,500 300,000 24,400 130,000 70,000 30,000 16,000 100,000 10,000 1,000 10,500 300,000 24,400
  • 33. ขาย รับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่าย ต้นทุนสินค้าขาย ค่าขนส่งออก ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ทั่วไป ค่าเบี้ยประกัน ค่าเสื่อมราคา- อุปกรณ์สานักงาน ค่าเสื่อมราคาสะสม-- อุปกรณ์สานักงาน หนี้สงสัยจะสูญ กาไรสุทธิ 1,000 700 50,700 1,000 12,000 425,400 90,000 425,400 4,000 5,000 900 9,900 5,000 9,900 1,000 700 50,700 1,000 12,000 4,000 5,000 900 431,300 90,000 5,000 431,300 1,000 700 50,700 1,000 12,000 4,000 5,000 900 14,700 90,000 90,000 90,000 356,000 5,000 F 14,700 356,000 สาหรับกรณีที่กิจการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด จะทากระดาษทาการได้ 2 แบบ คือ แบบไม่แสดงต้นทุนสินค้าขาย และแบบแสดงต้นทุน สินค้าขาย โดยแบบไม่แสดงต้นทุนสินค้าขายจะมีรายละเอียดดังนี้
  • 34. 1. บัญชีสินค้าคงเหลือ ในงบทดลองก่อนปรับปรุง จะเป็นยอดสินค้าคงเหลือต้นงวดทีจะต้องโอนไปเป็นต้นทุนสินค้าขาย จะต้องนาไปแสดงใน ช่องงบกาไรขาดทุนทางด้านเดบิต 2. บัญชีซื้อเป็นบัญชีค่าใช้จ่ายแสดงในช่องงบกาไรขาดทุนทางด้านเดบิต 3. บัญชีส่งคืนและส่วนลดเป็นบัญชีปรับมูลค่าซื้อให้ลดลงแสดงในงบกาไรขาดทุนทางด้านเครดิต 4. บัญชีส่วนลดรับเป็นบัญชีปรับมูลค่าซื้อ แสดงในช่องงบกาไรขาดทุนทางด้านเครดิต 5. บัญชีค่าขนส่งเข้าเป็นบัญชีค่าใช้จ่าย แสดงในงบกาไรขาดทุนด้านเดบิต 6. บัญชีสินค้าคงเหลือปลายงวดเป็นสินค้าที่ตรวจนับได้ในวันสิ้นงวด แสดงในช่องงบดุลทางด้านเดบิต เพื่อที่จะแสดงเป็นสินทรัพย์ของกิจการ และในด้านเครดิตในช่องงบกาไรขาดทุน ตัวอย่าง การจัดทากระดาษทาการ กรณีบันทึกสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด บริษัท สหกิจ จากัด งบทดลองก่อนปรับปรุง วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 เงินสด 130,000 ลูกหนี้การค้า 70,000 ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 500 สินค้าคงเหลือ 40,000 ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 20,000
  • 35. อุปกรณ์สานักงาน 100,000 เจ้าหนี้การค้า 10,500 ทุนเรือนหุ้น 300,000 กาไรสะสม 24,400 เงินปันผลจ่าย 10,000 ขาย 90,000 รับคืนและส่วนลด 1,000 ส่วนลดจ่าย 700 ซื้อ 40,000 ส่งคืนและส่วนลด 1,200 ส่วนลดรับ 1,100 ค่าขนส่งเข้า 3,000 ค่าขนส่งออก 1,000 ค่าใช้จ่ายดาเนินการทั่วไป 12,000 427,700 427,700 ข้อมูลเพิ่มเติม 1. ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้าคงเหลือ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 จานวน 16,000 บาท 2. คิดค่าเสื่อมราคาอุปกรณ์สานักงาน 5% ต่อปี 3. ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ 2% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ 4. สินค้าคงเหลือปลายงวดตรวจนับได้ 30,000 บาท
  • 36. บริษัท สหกิจ จากัด กระดาษทาการ สาหรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ชื่อบัญชี งบทดลอง รายการปรับปรุง งบทดลองหลังปรับปรุง งบกาไรขาดทุน งบดุล เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เงินสด ลูกหนี้การค้า ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ สินค้าคงเหลือ ค่าเบี้ยประกันจ่าย ล่วงหน้า อุปกรณ์สานักงาน เจ้าหนี้การค้า ทุนเรือนหุ้น กาไรสะสม เงินปันผลจ่าย ขาย รับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่าย ซื้อ 130,000 70,000 40,000 20,000 100,000 10,000 1,000 700 40,000 500 10,500 300,000 24,400 90,000 900 4,000 130,000 70,000 40,000 16,000 100,000 10,000 1,000 700 40,000 1,400 10,500 300,000 24,400 90,000 40,000 1,000 700 40,000 90,000 130,000 70,000 16,000 100,000 10,000 1,400 10,500 300,000 24,400
  • 37. ส่งคืนและส่วนลด ส่วนลดรับ ค่าขนส่งเข้า ค่าขนส่งออก ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน ทั่วไป ค่าเบี้ยประกัน ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์ สานักงาน ค่าเสื่อมราคาสะสม-- อุปกรณ์สานักงาน หนี้สงสัยจะสูญ สินค้าคงเหลือ (31 ธ.ค.) กาไรสุทธิ 3,000 1,000 12,000 427,700 1,200 1,100 427,700 4,000 5,000 900 9,900 5,000 9,900 3,000 1,000 12,000 4,000 5,000 900 433,600 1,200 1,100 5,000 433,600 3,000 1,000 12,000 4,000 5,000 900 14,700 122,300 1,200 1,100 30,000 122,300 30,000 356,000 5,000 F 14,700 356,000
  • 38. แบบแสดงต้นทุนสินค้าขาย มีรายละเอียดคือ 1. ในช่องรายการปรับปรุง จะต้องปรับปรุงรายการที่เกี่ยวข้องกับการคานวณหาต้นทุนสินค้าขายโดย เดบิต บัญชีส่งคืนและส่วนลด ส่วนลดรับ และ เครดิต บัญชีสินค้าคงเหลือต้นงวด ซื้อ และบันทึกสินค้าคงเหลือปลายงวดที่ตรวจนับได้ ในช่องเดบิต เมื่อปรับปรุงแล้วก็จะได้ต้นทุนสินค้าขาย แสดงใน ช่องเดบิต 2. เมื่อปรับปรุงรายการตามข้อ 1 แล้วจะได้รายการต่างๆ ในช่องงบทดลองหลังปรับปรุง บริษัท สหกิจ จากัด กระดาษทาการ สาหรับงวดปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x2 ชื่อบัญชี งบทดลอง รายการปรับปรุง งบทดลองหลังปรับปรุง งบกาไรขาดทุน งบดุล เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เดบิต เครดิต เงินสด ลูกหนี้การค้า ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ สินค้าคงเหลือ ค่าเบี้ยประกัน จ่ายล่วงหน้า 130,000 70,000 40,000 500 900 40,000 4,000 130,000 70,000 1,400 10,500 24,400 130,000 70,000 1,400 10,500 300,000
  • 39. อุปกรณ์ สานักงาน เจ้าหนี้การค้า ทุนเรือนหุ้น กาไรสะสม เงินปันผลจ่าย ขาย รับคืนและ ส่วนลด ส่วนลดจ่าย ซื้อ ต้ส่งคืนและ ส่วนลด ส่วนลดรับ ค่าขนส่งเข้า ค่าขนส่งออก ค่าใช้จ่าย ดาเนินงาน ทั่วไป ค่าเบี้ยประกัน 20,000 100,000 10,000 1,000 700 40,000 3,000 1,00 0 12,00 0 10,500 300,000 24,400 90,000 1,200 1,100 1,200 1,100 4,000 5,000 900 40,000 16,000 100,000 10,000 1,000 700 1,000 12,000 4,000 5,000 90,000 5,000 1,000 700 1,000 12,000 4,000 5,000 900 50,700 90,000 90,000 16,000 100,000 10,000 24,400 5,00 0 F
  • 41. งบกาไรขาดทุนของกิจการที่ซื้อขายสินค้าจะแตกต่างกับงบกาไรขาดทุนของกิจการให้บริการ กิจการซื้อขายสินค้าจะแสดงรายละเอียดของ รายการต่างๆ เป็นหลายขั้นตอน โดยในขั้นตอนแรกจะแสดงว่าในการขายสินค้านั้นมีกาไรหรือขาดทุนชนิดนี้เท่าใด โดยนายอดขายสุทธิหักด้วยต้นทุน สินค้าขาย จากนั้นจึงหักด้วยค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน และค่าใช้จ่ายหรือภาษีเงินได้อื่นๆ กรณีการบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง “งบกาไรขาดทุน” บริษัท สหกิจ จากัด งบกาไรขาดทุน สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x2 ขาย 90,000 หัก รับคืนและส่วนลด 1,000 ส่วนลดจ่าย 700 1,700 ขายสุทธิ 88,300 หัก ต้นทุนสินค้าขาย 50,700 กาไรขั้นต้น 37,600 หัก ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ค่าขนส่งออก 1,000 ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานทั่วไป 12,000 ค่าเบี้ยประกัน 4,000 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000 หนี้สงสัยจะสูญ 900 22,900
  • 42. กาไรสุทธิ 14,700 กรณีการบันทึกบัญชีสินค้าแบบสิ้นงวด บริษัท สหกิจ จากัด งบกาไรขาดทุน สาหรับงวด 1 ปี สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25x2 ขาย 90,000 หัก รับคืนและส่วนลด 1,000 ส่วนลดจ่าย 700 1,700 ขายสุทธิ 88,300 หัก ต้นทุนสินค้าขาย สินค้าคงเหลือต้นงวด 40,000 ซื้อ 40,000 หัก ส่งคืนและส่วนลด 1,200 ส่วนลดรับ 1,100 2,300 ซื้อสุทธิ 37,700 บวก ค่าขนส่งเข้า 3,000 ต้นทุนซื้อสินค้าระหว่างงวด 40,700
  • 43. รวมต้นทุนสินค้าที่มีไว้เพื่อขาย 80,700 หัก สินค้าคงเหลือปลายงวด 30,000 50,700 กาไรขั้นต้น 37,600 หัก ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ค่าขนส่งออก 1,000 ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานทั่วไป 12,000 ค่าเบี้ยประกัน 4,000 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000 หนี้สงสัยจะสูญ 900 22,900 กาไรสุทธิ 14,700 งบดุล งบดุลของกิจการที่ซื้อขายสินค้าไม่ว่าจะบันทึกบัญชีโดยวิธีสินค้าคงเหลือแบบต่อเนื่อง หรือบรรทุกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวด จะทา เหมือนกันทั้ง 2 วิธี บริษัท สหกิจ จากัด งบกาไรขาดทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x2 สินทรัพย์
  • 44. สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสด 130,000 ลูกหนี้การค้า 70,000 หัก ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 1,400 68,600 สินค้าคงเหลือ 30,000 ค่าเบี้ยประกันจ่ายล่วงหน้า 16,000 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 244,600 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ อุปกรณ์สานักงาน 100,000 หัก ค่าเสื่อมราคาสะสม-อุปกรณ์สานักงาน 5,000 95,000 รวมสินทรัพย์ 339,600 หนี้สินและส่วนของเจ้าของ หนี้สินหมุนเวียน เจ้าหนี้การค้า 10,500 ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น 300,000 กาไรสะสม 24,400 บวก กาไรสุทธิ 14,700 รวม 39,100
  • 45. หัก เงินปันผลจ่าย 10,000 29,100 รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 329,100 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 339,600 การปิดบัญชีสาหรับธุรกิจซื้อขายสินค้า ทาการปิดบัญชีเมื่อตอนสิ้นงวด ในสมุดรายวันทั่วไป และผ่านบัญชีไปยังสมุดบัญชีแยกประเภท ดังนี้ 1. กรณีบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง ปิดบัญชี ดังนี้ 1.1 ปิดบัญชีขายเข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน 1.2 ปิดบัญชีต้นทุนสินค้าขาย บัญชีรับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่าย และบัญชีค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน 1.3 ปิดบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุนเข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเครดิต (กรณีกาไร) หรือด้านเดบิต(กรณีขาดทุน) 1.4 ปิดบัญชีเงินปันผลจ่ายเข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเดบิต การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไปมีดังนี้ จากตัวอย่างโจทย์ บริษัท สหกิจ จากัด 25x2 ธ.ค. 31 เดบิต ขาย 90,000 เครดิต สรุปผลกาไรขาดทุน 90,000 เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 75,300
  • 46. เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 50,700 รับคืนและส่วนลด 1,000 ส่วนลดจ่าย 700 ค่าขนส่งออก 1,000 ค่าใช้จ่ายดาเนินงานทั่วไป 12,000 ค่าเบี้ยประกัน 4,000 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000 หนี้สงสัยจะสูญ 900 เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 14,700 เครดิต กาไรสะสม 14,700 เดบิต กาไรสะสม 10,000 เครดิต เงินปันผลจ่าย 10,000 2. กรณีบันทึกบัญชีสินค้าคงเหลือแบบสิ้นงวดมี 2 กรณี ดังนี้ 2.1 กรณีปิดบัญชีโดยไม่แสดงบัญชีต้นทุนสินค้าขาย มีดังนี้ 2.1.1 ปิดบัญชีขาย ส่งคืนและส่วนลด และส่วนลดรับ เข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน และบันทึกสินค้าคงเหลือปลายงวดที่ตรวจนับ ได้ 2.1.2 ปิดบัญชีสินค้าคงเหลือต้นงวด รับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่าย ซื้อ ค่าขนส่งเข้า และบัญชีต่างๆ เข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน 2.1.3 ปิดบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน เข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเครดิต (กรณีกาไร) หรือด้านเดบิต (กรณีขาดทุน)
  • 47. 2.1.4 ปิดบัญชีเงินบันผลจ่ายเข้าบัญชี กาไรสะสมด้านเดบิต การปิดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป มีดังนี้ 25x2 ธ.ค. 31 เดบิต สินค้าคงเหลือ (31 ธ.ค. 25x2) 30,000 ขาย 90,000 ส่งคืนและส่วนลด 1,200 ส่วนลดรับ 1,100 เครดิต สรุปผลกาไรขาดทุน 122,300 เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 107,600 เครดิต สินค้าคงเหลือ (1 ม.ค. 25x2) 40,000 รับคืนและส่วนลด 1,000 ส่วนลดจ่าย 700 ซื้อ 40,000 ค่าขนส่งเข้า 3,000 ค่าขนส่งออก 1,000 ค่าใช้จ่ายดาเนินงานทั่วไป 12,000 ค่าเบี้ยประกัน 4,000 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000 หนี้สงสัยจะสูญ 1,200
  • 48. เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 14,700 เครดิต กาไรสะสม 14,700 เดบิต กาไรสะสม 10,000 เครดิต เงินปันผลจ่าย 10,000 2.2 กรณีปิดบัญชี โดยแสดงบัญชีต้นทุนสินค้าขาย 2.2.1 ปิดบัญชีส่งคืนและส่วนลด ส่วนลดรับ สินค้าคงเหลือต้นงวด ซื้อ และค่าขนส่งเข้า บันทึกสินค้าคงเหลือปลายงวดที่ตรวจนับ ได้ และบันทึกต้นทุนสินค้าขาย 2.2.2 ปิดบัญชีขายเข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน 2.2.3 ปิดบัญชีต้นทุนสินค้าขาย รับคืนและส่วนลด ส่วนลดจ่ายและบัญชีค่าใช้จ่ายต่างๆ เข้าบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน 2.2.4 ปิดบัญชีสรุปผลกาไรขาดทุน เข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเครดิต (กรณีกาไร) หรือด้านเดบิต (กรณีขาดทุน) 2.2.5 ปิดบัญชีเงินปันผลจ่ายเข้าบัญชีกาไรสะสมด้านเดบิต 25x2 ธ.ค. 31 เดบิต สินค้าคงเหลือ (31 ธ.ค.) 30,000 ต้นทุนสินค้าขาย 50,700 ส่งคืนและส่วนลด 1,200 ส่วนลดรับ 1,100 เครดิต สินค้าคงเหลือ (1 ม.ค.) 40,000
  • 49. ซื้อ 40,000 ค่าขนส่งเข้า 3,000 เดบิต ขาย 90,000 เครดิต สรุปผลกาไรขาดทุน 90,000 เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 75,300 เครดิต ต้นทุนสินค้าขาย 50,700 รับคืนและส่วนลด 1,000 ส่วนลดจ่าย 700 ค่าขนส่งออก 1,000 ค่าใช้จ่ายดาเนินงานทั่วไป 12,000 ค่าเบี้ยประกัน 4,000 ค่าเสื่อมราคา-อุปกรณ์สานักงาน 5,000 หนี้สงสัยจะสูญ 1,200 เดบิต สรุปผลกาไรขาดทุน 14,700 เครดิต กาไรสะสม 14,700 เดบิต กาไรสะสม 10,000 เครดิต เงินปันผลจ่าย 10,000