SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
• ผู้หญิงที่อยู่ในเขตเมืองหรือในเขตเทศบาลกับ
ผู้หญิงที่อยู่ในชนบทหรือนอกเขต เทศบาลมี
สัดส่วนการทางานไม่แตกต่างกันมากนัก คือ
ร้อยละ 63.06 สาหรับผู้หญิงที่อยู่ในเขตเมือง
และร้อยละ 65.88 สาหรับในชนบท
• แต่เมื่อพิจารณาจากอาชีพ พบความแตกต่าง
คือ ประมาณ 9 ใน 10 ของผู้มีงานทาในเขตเมือง
ทางานนอกภาคเกษตร ที่เหลืออยู่ ในภาคเกษตร
ขณะที่ผู้หญิงในเขตชนบทมากกว่าครึ่ง ทางาน
ในภาคเกษตร (ร้อยละ 54.25) และเกือบครึ่ง
ทางานนอกภาคเกษตร (ร้อยละ 45.75)
• ในแง่ของคุณภาพชีวิตในการทางานของแรงงานหญิง พิจารณาจากจานวนชั่วโมงทางานต่อ
สัปดาห์ ก็พบความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด โดยปกติการทางานเฉลี่ยอยู่ที่ 35 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
แต่จากข้อมูลพบว่าผู้หญิงมีชั่วโมงการทางานเฉลี่ยสูงมาก คือ 45.14 ชั่วโมง โดยร้อยละ 34.03
ใช้เวลาในการทางานระหว่าง 40–49 ชั่วโมง และประมาณ 1 ใน 5 ทางานมากกว่า 50 ชั่วโมง
(ร้อยละ 23.33)
• เมื่อพิจารณาตามอุตสาหกรรม ผู้หญิงเกือบครึ่ง (ร้อยละ 44.14) ที่ทางานในภาคเกษตรกรรม
ทางานระหว่าง 40-49 ชั่วโมง และมากกว่า 1 ใน 3 (ร้อยละ 36.95) ทางานมากกว่า 50 ชั่วโมงขึ้น
ไป ขณะที่ผู้หญิงร้อยละ 40.11 ที่ทางานนอกภาคเกษตร ทางานสัปดาห์ละ 40-49 ชั่วโมง และ
ประมาณ 1 ใน 3 ทางานมากกว่า 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (ร้อยละ 23.33)
 10 ประเทศที่มีจานวนผู้หญิงสูงที่สุดในรัฐสภา
 เพศของหัวหน้าครัวเรือน จากการสารวจภาวะ การทางานของประชากร
พ.ศ. 2547 – 2550 พบว่าหัวหน้าครัวเรือนที่เป็นเพศชายนั้นมีอัตราลดลงอย่างต่อเนื่อง
คือ จากร้อยละ 72.1 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 69.0 ในปี 2550 แต่ในปัจจุบันนี้เพศหญิง
มีอัตราการเป็นหัวหน้าครัวเรือนที่เพิ่มสูงขึ้นจาก ร้อยละ 27.9 ในปี 2547 เป็นร้อยละ
31.0 ในปี 2550
72.1 69
27.9 31
2547 2550
เพศของหัวหน้าครัวเรือน
ชาย หญิง
 ผู้หญิง 77.47% เป็นผู้ที่รับภาระหลักในการทางานบ้าน และมีไม่ถึง 1% ที่ผู้หญิงและ
ผู้ชายช่วยกันทางานบ้าน
 ในด้านการเมืองและการบริหาร พบว่ามี ส.ส.หญิงเพียง 12% ผู้บริหารระดับสูงใน
ราชการ ปี 2549 มีผู้หญิง 25.69% ด้านสื่อสารมวลชน รายงานการจาแนกเพศของ
ประเทศไทย ปี 2551 ระบุว่ามีผู้หญิงในงานสื่อสารมวลชน 38.4%
* มูลนิธิผู้หญิง http://www.womenthai.org
“ คณะกรรมการที่เป็น ผู้หญิงสามารถลดความเสี่ยงจากการล้มละลายได้ถึง 20%
ขณะที่ 30% ของผู้หญิงที่เป็นกรรมการบริหารจะทาให้ผลประกอบการดีขึ้น และเมื่อ
เศรษฐกิจถดถอยผู้หญิงจะเป็นผู้นาที่ดีกว่าผู้ชาย ”
 ผลการวิจัยในต่างประเทศ ที่เปิดเผยโดยศูนย์ศึกษาธุรกิจครอบครัวและ SMEs
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ในงาน Mega Trends in Family Business “เจาะลึก
แนวโน้มธุรกิจครอบครัวไทยสู่อนาคต”
 วันนี้ 25 - 30% ของธุรกิจครอบครัวทั่วโลก มีผู้หญิงเป็นผู้นา นอกจากนี้ สถิติจากปี
1997 จนถึงปัจจุบัน ยังพบว่า ผู้หญิงเป็นผู้นาในธุรกิจครอบครัวถึง5 เท่าตัว และ 1
ใน 3 ของผู้สืบทอดธุรกิจเป็นผู้หญิง นี่เป็นเทรนด์ที่กาลังเกิดขึ้นในโลก
ดร.ภูษิต วงศ์หล่อสายชล ตัวแทนจากศูนย์ศึกษาธุรกิจครอบครัวและ SMEs
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ได้กล่าวเกี่ยวกับจุดแข็งต่างของผู้หญิง ที่สะท้อนถึง ความ
น่าสนใจในการสืบทอดกิจการไว้ดังนี้
เริ่มต้นจาก ความต่างในการทางานของสมอง ที่ระบุออกมาว่า ผู้หญิงสามารถทาอะไร
หลายๆ อย่างได้พร้อมกัน จากทักษะที่หลากหลายกว่าผู้ชาย เช่น การเงิน บริหารคน
และการขาย ขณะที่ผู้ชายจะโฟกัสในเรื่องราวต่างๆ เป็นกลุ่มๆ (แยกส่วน) ต่างจาก
ผู้หญิงที่จะมองเป็นจิ๊กซอว์ทาให้สามารถปะติดปะต่อเรื่องราวต่างๆ ได้ดีกว่าผู้ชาย
 ผู้หญิงยังมีความละเอียดอ่อน มีความคิดสร้างสรรค์และรับรู้ความรู้สึกได้เร็ว นั่นทา
ให้เมื่อธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลง ผู้หญิงจึงรับรู้ได้เร็วกว่าผู้ชาย
 อีกจุดที่น่าสนใจสุด คือ การทางานในธุรกิจครอบครัวผู้หญิงมักจะ “ทุ่มเทด้วยหัวใจ”
เมื่อทาด้วยใจก็จะเกิด Passion ในการผลักดันความสาเร็จได้ดีกว่า
 ผู้หญิงจะมีการบริหารจัดการ ละเอียดอ่อนกว่า คือ ช่างสรรหา ช่างเจรจา
ช่างประสานงาน และช่างติดตาม
 ผลสารวจจากต่างประเทศที่เรียกว่า แกรนท์ ธอร์นตัน อินเตอร์เนชั่นแนล บิซิเนส รี
พอร์ท (Grant Thornton International Report) หรือ ไอบีอาร์ (IBR) จากผลการ
สารวจ 39 ประเทศทั่วโลก พบว่าประเทศไทยมีผู้หญิงดารงตาแหน่งระดับบริหาร
ในธุรกิจภาคเอกชนมากถึง 45% ของตาแหน่งบริหารทั้งหมด ถือ ว่ามีสัดส่วนที่สูง
เป็นอันดับหนึ่งของโลก
 โดยมีจอร์เจีย ตามมาเป็นอันดับสอง 40 % รัสเซีย อันดับสาม 36 % ฮ่องกงและ
ฟิลิปปินส์ ตามมาในอันดับสี่ ประเทศละ 35 %
 ส่วนตาแหน่งที่ผู้หญิงไทยสามารถเข้าไปอยู่ในระดับที่สูงนั้นได้แก่
◦ ตาแหน่งเจ้าหน้าที่ทางการเงิน เช่น ผู้บริหารสูงสุดฝ่ายการเงินหรือผู้อานวยการฝ่ายการเงิน (22%)
◦ รองลงมาเป็นตาแหน่งฝ่ายทรัพยากรบุคคล (20%)
◦ หรือบริหารสูงสุดฝ่ายการตลาด และผู้อานวยการฝ่ายการขาย (9% ทั้งสองตาแหน่ง)
 สาเหตุ ที่ผู้หญิงสามารถดารงตาแหน่งผู้บริหารระดับสูงดังกล่าวนั้น เป็นเพราะผู้หญิงไทยนั้น
ค่อนข้างมีความละเอียดอ่อน รอบคอบและมีความอดทน สามารถทางานภายใต้สถานการณ์
ที่กดดันต่างๆ ได้ ประกอบกับตาแหน่งที่กล่าวมาเป็นงานที่ค่อนข้างต้องใช้ความละเอียด
รอบคอบและ ความอดทนเป็นหลัก เช่นงานด้านเงิน หรือฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่ต้องมีการ
ฝึกอบรมพนักงานอยู่เป็นประจา
 ส่วนหน่วยงานหรือองค์กรที่ผู้หญิงสามารถเป็นผู้บริหารระดับสูงได้นั้น ส่วนมากจะเป็น
องค์กรเอกชน ส่วนหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ ก็เริ่มที่จะเห็นผู้หญิงเข้ามามี
บทบาทตามมามากยิ่งขึ้น
 ผลการสารวจกาลังคนภาครัฐประเภทข้าราชการพลเรือนสามัญล่าสุดในปี 2550 จากสานักงาน ก.พ. ระบุชัดว่า
ราว 5 ปีที่แล้วข้าราชการพลเรือนสามัญเป็นหญิงมากกว่าชาย โดยเป็นหญิงถึง 61.67% ส่วนผู้ชายอยู่ที่ 38.33%
ซึ่งผู้หญิงมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยราว 0.20% จากปีก่อนหน้า
 ในขณะที่ส่วนราชการที่มีข้าราชการพลเรือนสามัญหญิงมากกว่าชาย ตั้งแต่ 65% ขึ้นไป ได้แก่
◦ กระทรวงสาธารณสุข 77.59%
◦ กระทรวงศึกษาธิการ 73.44%
◦ กระทรวงแรงงาน 66.99%
◦ กระทรวงการคลัง 66.81% และ
◦ กระทรวงพาณิชย์65.73%
ซึ่งล้วนแต่เป็นกระทรวงสาคัญในการพัฒนาประเทศ ส่วนกระทรวงที่มีข้าราชการชายมากกว่าหญิง ได้แก่
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่มีสัดส่วนชายสูงกว่าหญิงมากที่สุด 76.45% รองลงมาเป็น
กระทรวงยุติธรรม กระทรวงคมนาคม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ 67.76%, 61.98% และ 61.90%
ตามลาดับ
 ข้าราชการในกลุ่มระดับ 1-5 เป็นหญิงมากกว่าชายเกือบ 2 เท่า คือ เป็นหญิง 65.57% ส่วนชาย 34.43
 กลุ่มระดับ 6-8 เป็นหญิงมากกว่าชายเช่นกัน หญิง 59.83% ชาย 40.17%
 ส่ วนกลุ่มระดับ 9-11 หญิงกลับมีน้อยกว่าชาย โดยเป็ นหญิงเพียง 27.40% เท่านั้ น
แม้ว่าในกลุ่มระดับ 9 ถึงระดับ 11 ชายมากกว่าหญิงในสัดส่วนที่แตกต่างกันพอสมควร แต่นับเป็นเรื่องน่ายินดีที่สัดส่วน
ของข้าราชการหญิงในทุกระดับมีแนวโน้มเพิ่ม มากขึ้นในทุกปี
 ไทยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) อยู่สูงถึง 81 คน คิดเป็น 19.33% มากกว่าปี 2553 ที่มีอยู่
เพียง 11%
 ส่วนสมาชิกวุฒิสภาหญิงมีทั้งสิ้น 25 คน คิดเป็น 20.16%
 ปัจจุบันผู้หญิง ยังมีโอกาสในทางการเมืองน้อยกว่าผู้ชายมาก ในระหว่างปี 2550 ถึง 2556
สัดส่วนผู้หญิงที่ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นหญิงมีเพียงร้อยละ 12.67
 ผู้หญิงเป็นตัวแทนในรัฐสภา และองค์กรปกครองท้องถิ่น น้อยกว่าผู้ชายมาก
 ความรุนแรงที่เกิดกับผู้หญิง จากสถิติมักเกิดจากคนในครอบครัว หรือเป็นบุคคลที่
เรียกว่าสามี ตั้งแต่ปี 2550 – 2556 ไทยมีผู้หญิงและเด็กถูกกระทาความรุนแรงมากขึ้น
สูงถึง 87 รายต่อวัน ในจานวนนี้เป็นหญิงร้อยละ 40 และเด็กร้อยละ60
 การกระทาความรุนแรงต่อ ผู้หญิงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากพฤติกรรมการกระทา
ความรุนแรงของผู้ชาย ผู้หญิงที่ถูกกระทายังอายที่จะแสดงให้สังคมรับรู้ทาให้ไม่
สามารถแก้ปัญหา ตั้งแต่ต้นเหตุได้
(อ้างอิงจาก สานักข่าวอิศรา วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2556)
 เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2556 องค์การอนามัยโลกเปิดเผยว่า มากกว่า 1 ใน 3 ของผู้หญิงทั่วโลกตก
เป็นเหยื่อของความรุนแรงภายในครอบครัว โดยผู้หญิงในภูมิภาคเอเชีย และตะวันออกกลางตก
เป็นเหยื่อของความทุกข์ทรมานมากที่สุด
 ผลการศึกษานาข้อมูลจาก 81 ประเทศพบว่า ระดับของการใช้ความรุนแรงกับผู้หญิงสูงสุดใน
เอเชีย โดยบังคลาเทศ ติมอร์ตะวันออก อินเดีย พม่า ศรีลังกา และประเทศไทย มีผู้หญิง 37.7
เปอร์เซ็นต์ได้รับผลกระทบส่วนที่ตอกย้าความรุนแรงของปัญหาให้ดูเลวร้ายยิ่งขึ้น คือ ใน
บรรดาผู้หญิงที่ตกเป็นเหยื่อของการฆาตกรรมทั่วโลก 38 เปอร์เซ็นต์เกิดจากน้ามือคู่ของตนเอง
 จากข้อมูลของ UN WOMEN พบว่าประเทศไทยอยู่ในระดับ 7 จาก 71 ประเทศที่ใช้ความรุนแรง
ทางเพศกับคู่ของตนเอง ที่หนักไปกว่านี้ก็คือ เป็นลาดับที่ 2 ใน 49 ประเทศที่เชื่อว่าสามีที่ใช้กาลัง
กับภรรยาเป็นเรื่องที่ยอมรับได้
 ศูนย์พึ่งได้กระทรวงสาธารณสุขเปิดเผยว่าระหว่างปี 2550 – 2554 เด็กและสตรีถูกกระทาด้วย
ความรุนแรง เข้ารับการรักษาพยาบาลกว่า 1 แสนราย เฉลี่ยปีละ 2 หมื่น 3 พันราย หรือเฉลี่ยมี
การก่อเหตุรุนแรงต่อสตรี และเด็กทุก 20 นาที ในขณะที่สานักงานตารวจแห่งชาติเคยรายงานคดี
ข่มขืนทั่งประเทศเกิดขึ้นชั่วโมง ละ 1 คน
 ความรุนแรงทางเพศสะท้อนถึงโครงสร้างสังคมชายเป็ นใหญ่ การยอมรับความไม่
เท่าเทียมทางเพศ และการกดขี่สตรีเพศ เป็นความคิดความเชื่อตั้งแต่ระบบศักดินาในยุคโบราณที่
มีการปลูกฝัง และถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งมาโดยตลอด
 ปัจจุบัน มีกฎหมายคุ้มครองสตรี คือ พรบ. คุ้มครองผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว
พ.ศ. 2550 ซึ่งมีความก้าวหน้าในมาตรการความช่วยเหลือ คุ้มครองผู้ถูกกระทา แต่ความรับรู้ยัง
ไม่มากพอ และหน่วยงานตารวจยังมีบุคคลากรไม่เพียงพอจะดาเนินคดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 การแก้ปัญหาในระดับกว้างรัฐควรจะจัดให้มีสวัสดิการสังคมเพื่อให้ผู้หญิงที่หย่าร้างจากความรุนแรง
ทางเพศ สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ตามปกติสุข ให้กองทุนประกันสังคมขยายขอบเขตสิทธิประโยชน์การ
คลอดบุตร และการสงเคราะห์บุตรให้สูงขึ้น รวมทั้งจัดให้มีศูนย์เลี้ยงเด็กในที่ทางานหรือทุกชุมชน
อย่างเพียงพอ
 กองทุนสตรีควรจะต้องมีนักสิทธิสตรี เข้ามาจัดทาหลักสูตรสาหรับการศึกษาในโรงเรียน และ
มหาวิทยาลัยอย่างจริงจัง สนับสนุนสตรีให้มีส่วนร่วมต่อการพัฒนาด้วยการกาหนดให้คณะกรรมการ
หรือองค์กรต่าง ๆ มีผู้หญิงเข้าร่วมด้วย เป็นสัดส่วนที่แน่นอน รวมทั้งส่งเสริมการรวมกลุ่มสตรีให้มี
อานาจต่อรองในสังคม สามารถจัดการกับปัญหาความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ
 หากดาเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วยความแน่วแน่แล้วเชื่อว่าจะสามารถ ยุติความรุนแรงทางเพศ
และนามาสู่สิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคได้ในที่สุด ด้วยความภาคภูมิใจของชาติไทยที่มี
นายกรัฐมนตรีผู้หญิงคนแรก
 ดร.รัชดา ธนาดิเรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร ในฐานะผู้หญิงคนหนึ่งที่มี
โอกาสได้เข้าไปทาหน้าที่ผลักดันกฎหมายต่างๆ ในสภาฯ กล่าวว่า กว่าครึ่งหนึ่งของประชากร
บนโลกใบนี้เป็นผู้หญิง ซึ่งประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่งที่มีประชากรที่เป็นผู้หญิงมากกว่าครึ่ง
และมีอายุที่ยืนกว่าผู้ชายอีกด้วย ทั้งนี้ยังมีประเด็นปัญหาเรื่องกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับความ
รุนแรงที่เกิดขึ้นกับผู้หญิงบางประการ ที่พบเห็นในปัจจุบัน

More Related Content

More from Taraya Srivilas

จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.Taraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
แนวทางที่จะสร้างความปรองดองของคนในชาติ คอ.นธ.
 

สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง

  • 2. • ผู้หญิงที่อยู่ในเขตเมืองหรือในเขตเทศบาลกับ ผู้หญิงที่อยู่ในชนบทหรือนอกเขต เทศบาลมี สัดส่วนการทางานไม่แตกต่างกันมากนัก คือ ร้อยละ 63.06 สาหรับผู้หญิงที่อยู่ในเขตเมือง และร้อยละ 65.88 สาหรับในชนบท • แต่เมื่อพิจารณาจากอาชีพ พบความแตกต่าง คือ ประมาณ 9 ใน 10 ของผู้มีงานทาในเขตเมือง ทางานนอกภาคเกษตร ที่เหลืออยู่ ในภาคเกษตร ขณะที่ผู้หญิงในเขตชนบทมากกว่าครึ่ง ทางาน ในภาคเกษตร (ร้อยละ 54.25) และเกือบครึ่ง ทางานนอกภาคเกษตร (ร้อยละ 45.75)
  • 3. • ในแง่ของคุณภาพชีวิตในการทางานของแรงงานหญิง พิจารณาจากจานวนชั่วโมงทางานต่อ สัปดาห์ ก็พบความแตกต่างอย่างเห็นได้ชัด โดยปกติการทางานเฉลี่ยอยู่ที่ 35 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ แต่จากข้อมูลพบว่าผู้หญิงมีชั่วโมงการทางานเฉลี่ยสูงมาก คือ 45.14 ชั่วโมง โดยร้อยละ 34.03 ใช้เวลาในการทางานระหว่าง 40–49 ชั่วโมง และประมาณ 1 ใน 5 ทางานมากกว่า 50 ชั่วโมง (ร้อยละ 23.33)
  • 4. • เมื่อพิจารณาตามอุตสาหกรรม ผู้หญิงเกือบครึ่ง (ร้อยละ 44.14) ที่ทางานในภาคเกษตรกรรม ทางานระหว่าง 40-49 ชั่วโมง และมากกว่า 1 ใน 3 (ร้อยละ 36.95) ทางานมากกว่า 50 ชั่วโมงขึ้น ไป ขณะที่ผู้หญิงร้อยละ 40.11 ที่ทางานนอกภาคเกษตร ทางานสัปดาห์ละ 40-49 ชั่วโมง และ ประมาณ 1 ใน 3 ทางานมากกว่า 50 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (ร้อยละ 23.33)
  • 6.  เพศของหัวหน้าครัวเรือน จากการสารวจภาวะ การทางานของประชากร พ.ศ. 2547 – 2550 พบว่าหัวหน้าครัวเรือนที่เป็นเพศชายนั้นมีอัตราลดลงอย่างต่อเนื่อง คือ จากร้อยละ 72.1 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 69.0 ในปี 2550 แต่ในปัจจุบันนี้เพศหญิง มีอัตราการเป็นหัวหน้าครัวเรือนที่เพิ่มสูงขึ้นจาก ร้อยละ 27.9 ในปี 2547 เป็นร้อยละ 31.0 ในปี 2550 72.1 69 27.9 31 2547 2550 เพศของหัวหน้าครัวเรือน ชาย หญิง
  • 7.  ผู้หญิง 77.47% เป็นผู้ที่รับภาระหลักในการทางานบ้าน และมีไม่ถึง 1% ที่ผู้หญิงและ ผู้ชายช่วยกันทางานบ้าน  ในด้านการเมืองและการบริหาร พบว่ามี ส.ส.หญิงเพียง 12% ผู้บริหารระดับสูงใน ราชการ ปี 2549 มีผู้หญิง 25.69% ด้านสื่อสารมวลชน รายงานการจาแนกเพศของ ประเทศไทย ปี 2551 ระบุว่ามีผู้หญิงในงานสื่อสารมวลชน 38.4% * มูลนิธิผู้หญิง http://www.womenthai.org
  • 8. “ คณะกรรมการที่เป็น ผู้หญิงสามารถลดความเสี่ยงจากการล้มละลายได้ถึง 20% ขณะที่ 30% ของผู้หญิงที่เป็นกรรมการบริหารจะทาให้ผลประกอบการดีขึ้น และเมื่อ เศรษฐกิจถดถอยผู้หญิงจะเป็นผู้นาที่ดีกว่าผู้ชาย ”  ผลการวิจัยในต่างประเทศ ที่เปิดเผยโดยศูนย์ศึกษาธุรกิจครอบครัวและ SMEs มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ในงาน Mega Trends in Family Business “เจาะลึก แนวโน้มธุรกิจครอบครัวไทยสู่อนาคต”  วันนี้ 25 - 30% ของธุรกิจครอบครัวทั่วโลก มีผู้หญิงเป็นผู้นา นอกจากนี้ สถิติจากปี 1997 จนถึงปัจจุบัน ยังพบว่า ผู้หญิงเป็นผู้นาในธุรกิจครอบครัวถึง5 เท่าตัว และ 1 ใน 3 ของผู้สืบทอดธุรกิจเป็นผู้หญิง นี่เป็นเทรนด์ที่กาลังเกิดขึ้นในโลก
  • 9. ดร.ภูษิต วงศ์หล่อสายชล ตัวแทนจากศูนย์ศึกษาธุรกิจครอบครัวและ SMEs มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ได้กล่าวเกี่ยวกับจุดแข็งต่างของผู้หญิง ที่สะท้อนถึง ความ น่าสนใจในการสืบทอดกิจการไว้ดังนี้ เริ่มต้นจาก ความต่างในการทางานของสมอง ที่ระบุออกมาว่า ผู้หญิงสามารถทาอะไร หลายๆ อย่างได้พร้อมกัน จากทักษะที่หลากหลายกว่าผู้ชาย เช่น การเงิน บริหารคน และการขาย ขณะที่ผู้ชายจะโฟกัสในเรื่องราวต่างๆ เป็นกลุ่มๆ (แยกส่วน) ต่างจาก ผู้หญิงที่จะมองเป็นจิ๊กซอว์ทาให้สามารถปะติดปะต่อเรื่องราวต่างๆ ได้ดีกว่าผู้ชาย
  • 10.  ผู้หญิงยังมีความละเอียดอ่อน มีความคิดสร้างสรรค์และรับรู้ความรู้สึกได้เร็ว นั่นทา ให้เมื่อธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลง ผู้หญิงจึงรับรู้ได้เร็วกว่าผู้ชาย  อีกจุดที่น่าสนใจสุด คือ การทางานในธุรกิจครอบครัวผู้หญิงมักจะ “ทุ่มเทด้วยหัวใจ” เมื่อทาด้วยใจก็จะเกิด Passion ในการผลักดันความสาเร็จได้ดีกว่า  ผู้หญิงจะมีการบริหารจัดการ ละเอียดอ่อนกว่า คือ ช่างสรรหา ช่างเจรจา ช่างประสานงาน และช่างติดตาม
  • 11.  ผลสารวจจากต่างประเทศที่เรียกว่า แกรนท์ ธอร์นตัน อินเตอร์เนชั่นแนล บิซิเนส รี พอร์ท (Grant Thornton International Report) หรือ ไอบีอาร์ (IBR) จากผลการ สารวจ 39 ประเทศทั่วโลก พบว่าประเทศไทยมีผู้หญิงดารงตาแหน่งระดับบริหาร ในธุรกิจภาคเอกชนมากถึง 45% ของตาแหน่งบริหารทั้งหมด ถือ ว่ามีสัดส่วนที่สูง เป็นอันดับหนึ่งของโลก  โดยมีจอร์เจีย ตามมาเป็นอันดับสอง 40 % รัสเซีย อันดับสาม 36 % ฮ่องกงและ ฟิลิปปินส์ ตามมาในอันดับสี่ ประเทศละ 35 %
  • 12.  ส่วนตาแหน่งที่ผู้หญิงไทยสามารถเข้าไปอยู่ในระดับที่สูงนั้นได้แก่ ◦ ตาแหน่งเจ้าหน้าที่ทางการเงิน เช่น ผู้บริหารสูงสุดฝ่ายการเงินหรือผู้อานวยการฝ่ายการเงิน (22%) ◦ รองลงมาเป็นตาแหน่งฝ่ายทรัพยากรบุคคล (20%) ◦ หรือบริหารสูงสุดฝ่ายการตลาด และผู้อานวยการฝ่ายการขาย (9% ทั้งสองตาแหน่ง)  สาเหตุ ที่ผู้หญิงสามารถดารงตาแหน่งผู้บริหารระดับสูงดังกล่าวนั้น เป็นเพราะผู้หญิงไทยนั้น ค่อนข้างมีความละเอียดอ่อน รอบคอบและมีความอดทน สามารถทางานภายใต้สถานการณ์ ที่กดดันต่างๆ ได้ ประกอบกับตาแหน่งที่กล่าวมาเป็นงานที่ค่อนข้างต้องใช้ความละเอียด รอบคอบและ ความอดทนเป็นหลัก เช่นงานด้านเงิน หรือฝ่ายทรัพยากรบุคคลที่ต้องมีการ ฝึกอบรมพนักงานอยู่เป็นประจา  ส่วนหน่วยงานหรือองค์กรที่ผู้หญิงสามารถเป็นผู้บริหารระดับสูงได้นั้น ส่วนมากจะเป็น องค์กรเอกชน ส่วนหน่วยงานภาครัฐและหน่วยงานอื่นๆ ก็เริ่มที่จะเห็นผู้หญิงเข้ามามี บทบาทตามมามากยิ่งขึ้น
  • 13.  ผลการสารวจกาลังคนภาครัฐประเภทข้าราชการพลเรือนสามัญล่าสุดในปี 2550 จากสานักงาน ก.พ. ระบุชัดว่า ราว 5 ปีที่แล้วข้าราชการพลเรือนสามัญเป็นหญิงมากกว่าชาย โดยเป็นหญิงถึง 61.67% ส่วนผู้ชายอยู่ที่ 38.33% ซึ่งผู้หญิงมีสัดส่วนเพิ่มขึ้นเล็กน้อยราว 0.20% จากปีก่อนหน้า  ในขณะที่ส่วนราชการที่มีข้าราชการพลเรือนสามัญหญิงมากกว่าชาย ตั้งแต่ 65% ขึ้นไป ได้แก่ ◦ กระทรวงสาธารณสุข 77.59% ◦ กระทรวงศึกษาธิการ 73.44% ◦ กระทรวงแรงงาน 66.99% ◦ กระทรวงการคลัง 66.81% และ ◦ กระทรวงพาณิชย์65.73% ซึ่งล้วนแต่เป็นกระทรวงสาคัญในการพัฒนาประเทศ ส่วนกระทรวงที่มีข้าราชการชายมากกว่าหญิง ได้แก่ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ที่มีสัดส่วนชายสูงกว่าหญิงมากที่สุด 76.45% รองลงมาเป็น กระทรวงยุติธรรม กระทรวงคมนาคม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ คือ 67.76%, 61.98% และ 61.90% ตามลาดับ
  • 14.  ข้าราชการในกลุ่มระดับ 1-5 เป็นหญิงมากกว่าชายเกือบ 2 เท่า คือ เป็นหญิง 65.57% ส่วนชาย 34.43  กลุ่มระดับ 6-8 เป็นหญิงมากกว่าชายเช่นกัน หญิง 59.83% ชาย 40.17%  ส่ วนกลุ่มระดับ 9-11 หญิงกลับมีน้อยกว่าชาย โดยเป็ นหญิงเพียง 27.40% เท่านั้ น แม้ว่าในกลุ่มระดับ 9 ถึงระดับ 11 ชายมากกว่าหญิงในสัดส่วนที่แตกต่างกันพอสมควร แต่นับเป็นเรื่องน่ายินดีที่สัดส่วน ของข้าราชการหญิงในทุกระดับมีแนวโน้มเพิ่ม มากขึ้นในทุกปี
  • 15.  ไทยมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) อยู่สูงถึง 81 คน คิดเป็น 19.33% มากกว่าปี 2553 ที่มีอยู่ เพียง 11%  ส่วนสมาชิกวุฒิสภาหญิงมีทั้งสิ้น 25 คน คิดเป็น 20.16%  ปัจจุบันผู้หญิง ยังมีโอกาสในทางการเมืองน้อยกว่าผู้ชายมาก ในระหว่างปี 2550 ถึง 2556 สัดส่วนผู้หญิงที่ได้รับเลือกให้เป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่เป็นหญิงมีเพียงร้อยละ 12.67  ผู้หญิงเป็นตัวแทนในรัฐสภา และองค์กรปกครองท้องถิ่น น้อยกว่าผู้ชายมาก
  • 16.  ความรุนแรงที่เกิดกับผู้หญิง จากสถิติมักเกิดจากคนในครอบครัว หรือเป็นบุคคลที่ เรียกว่าสามี ตั้งแต่ปี 2550 – 2556 ไทยมีผู้หญิงและเด็กถูกกระทาความรุนแรงมากขึ้น สูงถึง 87 รายต่อวัน ในจานวนนี้เป็นหญิงร้อยละ 40 และเด็กร้อยละ60  การกระทาความรุนแรงต่อ ผู้หญิงมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น เนื่องจากพฤติกรรมการกระทา ความรุนแรงของผู้ชาย ผู้หญิงที่ถูกกระทายังอายที่จะแสดงให้สังคมรับรู้ทาให้ไม่ สามารถแก้ปัญหา ตั้งแต่ต้นเหตุได้ (อ้างอิงจาก สานักข่าวอิศรา วันพฤหัสบดีที่ 26 ธันวาคม 2556)
  • 17.  เมื่อวันที่ 20 มิถุนายน 2556 องค์การอนามัยโลกเปิดเผยว่า มากกว่า 1 ใน 3 ของผู้หญิงทั่วโลกตก เป็นเหยื่อของความรุนแรงภายในครอบครัว โดยผู้หญิงในภูมิภาคเอเชีย และตะวันออกกลางตก เป็นเหยื่อของความทุกข์ทรมานมากที่สุด  ผลการศึกษานาข้อมูลจาก 81 ประเทศพบว่า ระดับของการใช้ความรุนแรงกับผู้หญิงสูงสุดใน เอเชีย โดยบังคลาเทศ ติมอร์ตะวันออก อินเดีย พม่า ศรีลังกา และประเทศไทย มีผู้หญิง 37.7 เปอร์เซ็นต์ได้รับผลกระทบส่วนที่ตอกย้าความรุนแรงของปัญหาให้ดูเลวร้ายยิ่งขึ้น คือ ใน บรรดาผู้หญิงที่ตกเป็นเหยื่อของการฆาตกรรมทั่วโลก 38 เปอร์เซ็นต์เกิดจากน้ามือคู่ของตนเอง  จากข้อมูลของ UN WOMEN พบว่าประเทศไทยอยู่ในระดับ 7 จาก 71 ประเทศที่ใช้ความรุนแรง ทางเพศกับคู่ของตนเอง ที่หนักไปกว่านี้ก็คือ เป็นลาดับที่ 2 ใน 49 ประเทศที่เชื่อว่าสามีที่ใช้กาลัง กับภรรยาเป็นเรื่องที่ยอมรับได้
  • 18.  ศูนย์พึ่งได้กระทรวงสาธารณสุขเปิดเผยว่าระหว่างปี 2550 – 2554 เด็กและสตรีถูกกระทาด้วย ความรุนแรง เข้ารับการรักษาพยาบาลกว่า 1 แสนราย เฉลี่ยปีละ 2 หมื่น 3 พันราย หรือเฉลี่ยมี การก่อเหตุรุนแรงต่อสตรี และเด็กทุก 20 นาที ในขณะที่สานักงานตารวจแห่งชาติเคยรายงานคดี ข่มขืนทั่งประเทศเกิดขึ้นชั่วโมง ละ 1 คน  ความรุนแรงทางเพศสะท้อนถึงโครงสร้างสังคมชายเป็ นใหญ่ การยอมรับความไม่ เท่าเทียมทางเพศ และการกดขี่สตรีเพศ เป็นความคิดความเชื่อตั้งแต่ระบบศักดินาในยุคโบราณที่ มีการปลูกฝัง และถ่ายทอดจากคนรุ่นหนึ่งสู่คนอีกรุ่นหนึ่งมาโดยตลอด  ปัจจุบัน มีกฎหมายคุ้มครองสตรี คือ พรบ. คุ้มครองผู้ถูกกระทาด้วยความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. 2550 ซึ่งมีความก้าวหน้าในมาตรการความช่วยเหลือ คุ้มครองผู้ถูกกระทา แต่ความรับรู้ยัง ไม่มากพอ และหน่วยงานตารวจยังมีบุคคลากรไม่เพียงพอจะดาเนินคดีได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 19.  การแก้ปัญหาในระดับกว้างรัฐควรจะจัดให้มีสวัสดิการสังคมเพื่อให้ผู้หญิงที่หย่าร้างจากความรุนแรง ทางเพศ สามารถเลี้ยงดูบุตรได้ตามปกติสุข ให้กองทุนประกันสังคมขยายขอบเขตสิทธิประโยชน์การ คลอดบุตร และการสงเคราะห์บุตรให้สูงขึ้น รวมทั้งจัดให้มีศูนย์เลี้ยงเด็กในที่ทางานหรือทุกชุมชน อย่างเพียงพอ  กองทุนสตรีควรจะต้องมีนักสิทธิสตรี เข้ามาจัดทาหลักสูตรสาหรับการศึกษาในโรงเรียน และ มหาวิทยาลัยอย่างจริงจัง สนับสนุนสตรีให้มีส่วนร่วมต่อการพัฒนาด้วยการกาหนดให้คณะกรรมการ หรือองค์กรต่าง ๆ มีผู้หญิงเข้าร่วมด้วย เป็นสัดส่วนที่แน่นอน รวมทั้งส่งเสริมการรวมกลุ่มสตรีให้มี อานาจต่อรองในสังคม สามารถจัดการกับปัญหาความรุนแรงทางเพศทุกรูปแบบ  หากดาเนินการอย่างจริงจังต่อเนื่องด้วยความแน่วแน่แล้วเชื่อว่าจะสามารถ ยุติความรุนแรงทางเพศ และนามาสู่สิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาคได้ในที่สุด ด้วยความภาคภูมิใจของชาติไทยที่มี นายกรัฐมนตรีผู้หญิงคนแรก
  • 20.  ดร.รัชดา ธนาดิเรก สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร กรุงเทพมหานคร ในฐานะผู้หญิงคนหนึ่งที่มี โอกาสได้เข้าไปทาหน้าที่ผลักดันกฎหมายต่างๆ ในสภาฯ กล่าวว่า กว่าครึ่งหนึ่งของประชากร บนโลกใบนี้เป็นผู้หญิง ซึ่งประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่งที่มีประชากรที่เป็นผู้หญิงมากกว่าครึ่ง และมีอายุที่ยืนกว่าผู้ชายอีกด้วย ทั้งนี้ยังมีประเด็นปัญหาเรื่องกฎหมาย ที่เกี่ยวข้องกับความ รุนแรงที่เกิดขึ้นกับผู้หญิงบางประการ ที่พบเห็นในปัจจุบัน