SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ประวัติความเป็ นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
AEC เป็ นการพัฒนามาจากการเป็ น สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (The Association of
South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุ งเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8
สิ งหาคม 2510 โดยมีประเทศผูก่อตั้งแรกเริ่ ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์
้
และไทย ต่อมาในปี 2527 บรู ไน ก็ได้เข้าเป็ นสมาชิก ตามด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่ วมเป็ นสมาชิก ต่อมา
2540 ลาวและพม่า เข้าร่ วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกลาดับที่ 10
ทาให้ปัจจุบนอาเซี ยนเป็ นกลุ่มเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคน
ั
จากนั้นในการประชุมสุ ดยอดอาเซี ยนครั้งที่ 9 ที่อินโดนีเซีย เมื่อ 7
ต.ค. 2546 ผูนาประเทศสมาชิกอาเซี ยนได้ตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซี ยน (ASEAN Community)
้
คาขวัญของอาเซียน คือ “ One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่ง
อัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม
ปัจจุบันประเทศสมาชิ กอาเซียน รวม 10 ประเทศได้ แก่ ไทย พม่า มาเลเซี ย อินโดนีเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์
เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรู ไน สาหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN Economic
Community หรื อ AEC )ภายในปี 2558 เพื่อให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การลงทุน
แรงงานฝี มือ อย่างเสรี และเงินทุนที่เสรี ข้ ึนต่อมาในปี 2550
อาเซี ยนได้จดทาพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC Blueprint)
ั
เป็ นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AEC
ซึ่ งประกอบด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้าน ต่าง ๆ พร้อมกรอบระยะเวลาที่ชดเจนในการดาเนินมาตรการต่าง
ั
่
ๆ จนบรรลุเป้ าหมายในปี 2558 รวมทั้งการให้ความยืดหยุนตามที่ประเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้า
อาเซียนน่ ารู้
สานักงานเลาขาธิ การอาเซี ยนแห่งชาติ (ASEAN National Secretariat)
มีหน้าที่ประสานงานกิจการอาเซี ยนและติดตามผลการดาเนินงานภายในประเทศ
สาหรับประเทศไทยมีกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ทาหน้าที่ดงกล่าว ก่อนจะมาเป็ นอาเซี ยน
ั
ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ได้มีการรวมตัวกันมาแล้วครั้งหนึ่ง เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504
โดยมีประเทศไทย มาเลเซี ย และฟิ ลิปปิ นส์ร่วมกันก่อตั้ง "สมาคมอาสา (Association of Southeast
Asia)" เพื่อส่ งเสริ มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แต่มีเหตุตองชะงักไป
้
ทว่าก็นบเป็ นหนึ่งในจุดเริ่ มต้นก่อนจะมาเป็ นอาเซี ยนในทุกวันนี้
ั
ลาดับการเข้ าร่ วมเป็ นประเทศสมาชิกอาเซียน
พ.ศ. 2510 สาธารณรัฐอินโดนิเซีย มาเลเซีย สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ สาธารณรัฐสิ งคโปร์
และราชอาณาจักรไทยร่ วมกันก่อตั้งอาเซี ยน
พ.ศ.2527 บรู ไนดารุ สซาลามเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 7 มกราคม
พ.ศ.2528 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม
พ.ศ.2540 สาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาวและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์
เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม
พ.ศ.2542 ราชอาณาจักรกัมพูชาเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 9 เมษายน
บทบาทของประเทศไทยในเวทีอาเซีย
ประเทศไทย มีบทบาทสาคัญในฐานะศูนย์กลางในการเชื่ อมโยงประเทศต่างๆ
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้นบตั้งแต่การก่อตั้งอาเซี ยนเป็ นต้นมา
ั
- ประเทศไทยคือสถานที่ลงนามปฏิญญาอาเซี ยนซึ่ งถือเป็ นการก่อตั้งอาเซี ยนอย่างเป็ นทางการ
จึงเรี ยกปฏิญญาอาเซี ยนว่า ปฏิญญากรุ งเทพฯ (Bangkok Declaration)
- ประเทศไทยเสนอให้อาเซี ยนจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเซี ยน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เมื่อปี
พ.ศ.2535
ประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมอาเซี ยนว่าด้วยความร่ วมมือด้านการเมืองและความมันคงในภูมิภาคเ
่
อเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum: ARF) เป็ นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2537
ประเทศไทยเสนอให้มีการจัดทาความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกการขนส่ งสิ นค้าผ่านแดนและข้า
มแดน ซึ่ งมีการลงนามในกรอบความตกลงดังกล่าวเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2541
ความรู้ เกียวกับอาเซียน
่
คนไทยเคยดารงตาแหน่งเลขาธิ การอาเซี ยน 2 คน คนแรกคือ นายแผน วรรณเมธี
อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ดารงตาแหน่งระหว่างปี พ.ศ.2527-2529 คนที่สองคือ ดร.สุ รินทร์
พิศสุ วรรณ ดารงตาแหน่งระหว่างปี พ.ศ.2551-2555
คานีน่ารู้ เกียวกับอาเซียน
้
่
"ปฏิญญา" หมายถึง คาประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันของประเทศสมาชิก

7 อาชีพ ทีจะทางานได้ อย่างเสรีในประชาคมอาเซียน
่
อาชีพวิศวกร( Engineering Services)
อาชีพพยาบาล (Nursing Services)
อาชีพสถาปนิก(Architectural Services)
อาชีพการสารวจ (Surveying Qualifications)
อาชีพนักบัญชี (Accountancy Services)
อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners)
อาชีพแพทย์ (Medical Practitioners)
และการเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือเสรี ในกลุ่ม 7 อาชีพนั้น มีผลดีต่อไทยไม่นอย เพราะในภาพรวม
้
สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในไทยมีศกยภาพในด้านการผลิตบุคลากรในสาย วิชาชีพทั้ง 7
ั
ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู ง ซึ่ งทาให้ผจบการศึกษาในสายวิชาชีพทั้ง 7
ู้
ตั้งแต่ระดับปริ ญญาตรี จนถึงปริ ญญาเอกมีตลาดงานที่เปิ ดกว้างมากขึ้น จาก
เดิมที่ตลาดมีแค่การให้บริ การประชาชน 63 ล้านคน เป็ นตลาดของประชาชนร่ วม 600 ล้านคนใน 10
่
ประเทศอาเซี ยน นอกจากนั้น ประเทศเหล่านี้ รวมทั้งไทยอยูในทิศทางที่กาลังเติบโตทางด้านเศรษฐกิจทั้ง
สิ้ น เร็ วบ้าง ช้าบ้าง และโดยภาพรวมคุณภาพของผูจบวิชาชีพทั้ง 7
้
่
ในไทยก็สูงอยูในระดับแถวหน้าของประเทศอาเซี ยน ทาให้โอกาสในการหางานมีสูงใน
ขณะที่คนไทยสามารถไปทางานในประเทศอาเซี ยนได้อย่างเสรี น้ น สภาวิชาชีพ
ั
หรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลมาตรฐานของอาชีพทั้ง 7
นั้นคงต้องมีการดาเนินการอย่างเข้มแข็งรัดกุมเป็ นอย่างมาก
เพื่อรักษามาตรฐานของผูจบวิชาชีพในสาขาอาชีพนั้นๆ ในไทยให้คงเดิม หรื อยกระดับให้สูงขึ้นไปอีก
้
ป้ องกันมิให้เกิดการอ่อนด้อยในเรื่ องมาตรฐานขององค์กรในการผลิตคน
บางแห่งที่อาจใช้โอกาสนี้ เพิ่มรายได้ในการเร่ งผลิตคนในวิชาชีพเหล่านั้น
จานวนมากเพื่อตอบสนองตลาดที่ใหญ่ข้ ึน มิฉะนั้นอาจส่ งผลกระทบทางลบโดยรวมอีก
ปัญหาที่อาจะตามมาอีกอย่างคือ บางวิชาชีพไทยเริ่ มจะเข้าสู่ วกฤตการขาดแคลนอาจารย์ เช่น ทันตแพทย์
ิ
ถ้าแก้ปัญหาไม่ทนท่วงทีในเวลาอีกสามถึงห้าปี ข้างหน้า
ั
ไทยจะมีปัญหาเรื่ องการสร้างบุคลากรรุ่ นใหม่ในสายวิชาชี พทันตแพทย์อย่างแน่ นอน ขณะเดียวกัน
ก็ตองระวังดูแลในเรื่ องมาตรฐานของคนจากประเทศต่างๆ ในอาเซี ยนที่เข้ามาประกอบอาชีพทั้ง 7
้
อาชีพในไทยด้วยเช่นกัน
เพราะอาจจะมีผมาจากประเทศอื่นที่มาประกอบอาชีพในไทยมีปัญหาความอ่อนด้อยใน เรื่ องมาตรฐาน
ู้
ซึ่ งถ้าดูแลไม่รอบคอบรัดกุม อาจก่อเกิดผลกระทบกับสังคมไทยในทางลบ
และอาจส่ งผลต่อปั ญหาการประกอบอาชีพของคนไทยเอง

More Related Content

Similar to อาเซียน (10)

19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
19ประชาคมอาเซียนมีผลอย่างไรต่อชีวิตของเรา
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์Asean - สมบูรณ์
Asean - สมบูรณ์
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
อาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไรอาเซียน คืออะไร
อาเซียน คืออะไร
 
Asean m3
Asean m3Asean m3
Asean m3
 
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
บทความ วัฒนธรรมธุรกิจในกลุ่มประเทศอาเซียน แก้ไข29-5-2013
 
58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss58210401117 งาน 2 ss
58210401117 งาน 2 ss
 
58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s58210401117 งาน 1 s
58210401117 งาน 1 s
 
58210401117
58210401117 58210401117
58210401117
 

อาเซียน

  • 1. ประวัติความเป็ นมาประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) AEC เป็ นการพัฒนามาจากการเป็ น สมาคมประชาชาติแห่ งเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ (The Association of South East Asian Nations : ASEAN) ก่อตั้งขึ้นตามปฏิญญากรุ งเทพฯ (Bangkok Declaration) เมื่อ 8 สิ งหาคม 2510 โดยมีประเทศผูก่อตั้งแรกเริ่ ม 5 ประเทศ คือ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ ้ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรู ไน ก็ได้เข้าเป็ นสมาชิก ตามด้วย 2538 เวียดนาม ก็เข้าร่ วมเป็ นสมาชิก ต่อมา 2540 ลาวและพม่า เข้าร่ วม และปี 2542 กัมพูชา ก็ได้เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกลาดับที่ 10 ทาให้ปัจจุบนอาเซี ยนเป็ นกลุ่มเศรษฐกิจภูมิภาคขนาดใหญ่ มีประชากร รวมกันเกือบ 500 ล้านคน ั จากนั้นในการประชุมสุ ดยอดอาเซี ยนครั้งที่ 9 ที่อินโดนีเซีย เมื่อ 7 ต.ค. 2546 ผูนาประเทศสมาชิกอาเซี ยนได้ตกลงกันที่จะจัดตั้งประชาคมอาเซี ยน (ASEAN Community) ้ คาขวัญของอาเซียน คือ “ One Vision, One Identity, One Community.” หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่ง อัตลักษณ์ หนึ่งประชาคม ปัจจุบันประเทศสมาชิ กอาเซียน รวม 10 ประเทศได้ แก่ ไทย พม่า มาเลเซี ย อินโดนีเซี ย ฟิ ลิปปิ นส์ สิ งคโปร์ เวียดนาม ลาว กัมพูชา บรู ไน สาหรับเสาหลักการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (ASEAN Economic Community หรื อ AEC )ภายในปี 2558 เพื่อให้อาเซียนมีการเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การลงทุน แรงงานฝี มือ อย่างเสรี และเงินทุนที่เสรี ข้ ึนต่อมาในปี 2550 อาเซี ยนได้จดทาพิมพ์เขียวเพื่อจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน (AEC Blueprint) ั เป็ นแผนบูรณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AEC ซึ่ งประกอบด้วยแผนงานเศรษฐกิจในด้าน ต่าง ๆ พร้อมกรอบระยะเวลาที่ชดเจนในการดาเนินมาตรการต่าง ั ่ ๆ จนบรรลุเป้ าหมายในปี 2558 รวมทั้งการให้ความยืดหยุนตามที่ประเทศสมาชิกได้ตกลงกันล่วงหน้า
  • 2. อาเซียนน่ ารู้ สานักงานเลาขาธิ การอาเซี ยนแห่งชาติ (ASEAN National Secretariat) มีหน้าที่ประสานงานกิจการอาเซี ยนและติดตามผลการดาเนินงานภายในประเทศ สาหรับประเทศไทยมีกรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ ทาหน้าที่ดงกล่าว ก่อนจะมาเป็ นอาเซี ยน ั ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ได้มีการรวมตัวกันมาแล้วครั้งหนึ่ง เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยมีประเทศไทย มาเลเซี ย และฟิ ลิปปิ นส์ร่วมกันก่อตั้ง "สมาคมอาสา (Association of Southeast Asia)" เพื่อส่ งเสริ มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม แต่มีเหตุตองชะงักไป ้ ทว่าก็นบเป็ นหนึ่งในจุดเริ่ มต้นก่อนจะมาเป็ นอาเซี ยนในทุกวันนี้ ั ลาดับการเข้ าร่ วมเป็ นประเทศสมาชิกอาเซียน พ.ศ. 2510 สาธารณรัฐอินโดนิเซีย มาเลเซีย สาธารณรัฐฟิ ลิปปิ นส์ สาธารณรัฐสิ งคโปร์ และราชอาณาจักรไทยร่ วมกันก่อตั้งอาเซี ยน พ.ศ.2527 บรู ไนดารุ สซาลามเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 7 มกราคม พ.ศ.2528 สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ.2540 สาธารณรัฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาวและสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ เข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ.2542 ราชอาณาจักรกัมพูชาเข้าร่ วมเป็ นสมาชิกเมื่อวันที่ 9 เมษายน บทบาทของประเทศไทยในเวทีอาเซีย ประเทศไทย มีบทบาทสาคัญในฐานะศูนย์กลางในการเชื่ อมโยงประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้นบตั้งแต่การก่อตั้งอาเซี ยนเป็ นต้นมา ั - ประเทศไทยคือสถานที่ลงนามปฏิญญาอาเซี ยนซึ่ งถือเป็ นการก่อตั้งอาเซี ยนอย่างเป็ นทางการ จึงเรี ยกปฏิญญาอาเซี ยนว่า ปฏิญญากรุ งเทพฯ (Bangkok Declaration) - ประเทศไทยเสนอให้อาเซี ยนจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเซี ยน (ASEAN Free Trade Area: AFTA) เมื่อปี พ.ศ.2535 ประเทศไทยเป็ นเจ้าภาพจัดการประชุมอาเซี ยนว่าด้วยความร่ วมมือด้านการเมืองและความมันคงในภูมิภาคเ ่ อเชีย-แปซิฟิก (ASEAN Regional Forum: ARF) เป็ นครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ.2537 ประเทศไทยเสนอให้มีการจัดทาความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกการขนส่ งสิ นค้าผ่านแดนและข้า มแดน ซึ่ งมีการลงนามในกรอบความตกลงดังกล่าวเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.2541
  • 3. ความรู้ เกียวกับอาเซียน ่ คนไทยเคยดารงตาแหน่งเลขาธิ การอาเซี ยน 2 คน คนแรกคือ นายแผน วรรณเมธี อดีตปลัดกระทรวงการต่างประเทศ ดารงตาแหน่งระหว่างปี พ.ศ.2527-2529 คนที่สองคือ ดร.สุ รินทร์ พิศสุ วรรณ ดารงตาแหน่งระหว่างปี พ.ศ.2551-2555 คานีน่ารู้ เกียวกับอาเซียน ้ ่ "ปฏิญญา" หมายถึง คาประกาศเจตนารมณ์ร่วมกันของประเทศสมาชิก 7 อาชีพ ทีจะทางานได้ อย่างเสรีในประชาคมอาเซียน ่ อาชีพวิศวกร( Engineering Services) อาชีพพยาบาล (Nursing Services) อาชีพสถาปนิก(Architectural Services) อาชีพการสารวจ (Surveying Qualifications) อาชีพนักบัญชี (Accountancy Services) อาชีพทันตแพทย์ (Dental Practitioners) อาชีพแพทย์ (Medical Practitioners)
  • 4. และการเคลื่อนย้ายแรงงานฝี มือเสรี ในกลุ่ม 7 อาชีพนั้น มีผลดีต่อไทยไม่นอย เพราะในภาพรวม ้ สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาในไทยมีศกยภาพในด้านการผลิตบุคลากรในสาย วิชาชีพทั้ง 7 ั ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู ง ซึ่ งทาให้ผจบการศึกษาในสายวิชาชีพทั้ง 7 ู้ ตั้งแต่ระดับปริ ญญาตรี จนถึงปริ ญญาเอกมีตลาดงานที่เปิ ดกว้างมากขึ้น จาก เดิมที่ตลาดมีแค่การให้บริ การประชาชน 63 ล้านคน เป็ นตลาดของประชาชนร่ วม 600 ล้านคนใน 10 ่ ประเทศอาเซี ยน นอกจากนั้น ประเทศเหล่านี้ รวมทั้งไทยอยูในทิศทางที่กาลังเติบโตทางด้านเศรษฐกิจทั้ง สิ้ น เร็ วบ้าง ช้าบ้าง และโดยภาพรวมคุณภาพของผูจบวิชาชีพทั้ง 7 ้ ่ ในไทยก็สูงอยูในระดับแถวหน้าของประเทศอาเซี ยน ทาให้โอกาสในการหางานมีสูงใน ขณะที่คนไทยสามารถไปทางานในประเทศอาเซี ยนได้อย่างเสรี น้ น สภาวิชาชีพ ั หรื อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดูแลมาตรฐานของอาชีพทั้ง 7 นั้นคงต้องมีการดาเนินการอย่างเข้มแข็งรัดกุมเป็ นอย่างมาก เพื่อรักษามาตรฐานของผูจบวิชาชีพในสาขาอาชีพนั้นๆ ในไทยให้คงเดิม หรื อยกระดับให้สูงขึ้นไปอีก ้ ป้ องกันมิให้เกิดการอ่อนด้อยในเรื่ องมาตรฐานขององค์กรในการผลิตคน บางแห่งที่อาจใช้โอกาสนี้ เพิ่มรายได้ในการเร่ งผลิตคนในวิชาชีพเหล่านั้น จานวนมากเพื่อตอบสนองตลาดที่ใหญ่ข้ ึน มิฉะนั้นอาจส่ งผลกระทบทางลบโดยรวมอีก ปัญหาที่อาจะตามมาอีกอย่างคือ บางวิชาชีพไทยเริ่ มจะเข้าสู่ วกฤตการขาดแคลนอาจารย์ เช่น ทันตแพทย์ ิ ถ้าแก้ปัญหาไม่ทนท่วงทีในเวลาอีกสามถึงห้าปี ข้างหน้า ั ไทยจะมีปัญหาเรื่ องการสร้างบุคลากรรุ่ นใหม่ในสายวิชาชี พทันตแพทย์อย่างแน่ นอน ขณะเดียวกัน ก็ตองระวังดูแลในเรื่ องมาตรฐานของคนจากประเทศต่างๆ ในอาเซี ยนที่เข้ามาประกอบอาชีพทั้ง 7 ้ อาชีพในไทยด้วยเช่นกัน เพราะอาจจะมีผมาจากประเทศอื่นที่มาประกอบอาชีพในไทยมีปัญหาความอ่อนด้อยใน เรื่ องมาตรฐาน ู้ ซึ่ งถ้าดูแลไม่รอบคอบรัดกุม อาจก่อเกิดผลกระทบกับสังคมไทยในทางลบ และอาจส่ งผลต่อปั ญหาการประกอบอาชีพของคนไทยเอง