SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 1
การวิเ คราะห์ส ภาพแวดล้อ มโดยทัว ไปทาง
่
อุต สาหกรรม
1.1 ข้อ มูล ทั่ว ไปของธุร กิจ ผลิต ชิ้น ส่ว นยานยนต์
(ไบโอพลาสติก )
ในอดีตและปัจจุบันอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก ได้ผลิต
ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น กล่องบรรจุสินค้า กล่องบรรจุอาหาร ถ้วย
จาน แก้วนำ้า ช้อนส้อมพลาสติก กระเป๋าเดินทาง เป็นต้น
ผลิตภัณฑ์ทผลิตดังกล่าว เพื่ออำานวยความสะดวกในการใช้งาน
ี่
และดำาเนินชีวิตประจำาวันของผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ทผลิตนั้น ตอบ
ี่
สนองความต้องการของผู้บริโภคโดยทั่วไป สร้างความพึงพอใจ
ให้กับผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ไบโอพลาสติกส่วนใหญ่มีราคาไม่แพง
และผู้บริโภคสามารถซื้อผลิตภัณฑ์ได้ตามที่ต้องการ เช่น ร้านค้า
ตามท้องตลาดทั่วไป ห้างสรรพสินค้าต่างๆ และปัจจุบันผลิตภัณฑ์
ไบโอพลาสติกกำาลังเป็นที่ต้องการมากขึ้น ตามความต้องการของ
ผู้บริโภคที่ใช้ผลิตภัณฑ์ไบโอพลาสติก เกิดจากการขยายตัว
ประชากรของประเทศเพิ่มขึ้น และนิยมหันมาใช้สินค้าและบริการ
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน ซึ่งคิดเป็น 1015 % ของปริมาณความต้องการพลาสติกทั้งหมด หรือประมาณ
100,000 ตันต่อปี และเพื่อรองรับการจัดการด้านการรักษาสิ่ง
แวดล้อมและนโยบายของภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีการส่งเสริม
และสนับสนุนธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกตลอดมา ดังนั้น
ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความพร้อมทั้งในด้านวัตถุดิบมวล
ชีวภาพ เช่น ข้าวโพด ข้าวสาลี อ้อย มันสำาปะหลัง เป็นต้น จึงเป็น
โอกาสที่ดีในการนำาวัตถุดิบชีวภาพดังกล่าวมาใช้ในกระบวนการ
ผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและยังเป็นการพัฒนา
อุตสาหกรรมที่มีอยู่ให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถสร้าง
ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ขึ้นมาและพัฒนาไปสู่ระดับโลก
ไบโอพลาสติก หมายถึง พลาสติกที่มีคุณสมบัติย่อยสลาย
ได้ง่ายตามธรรมชาติ เมื่อย่อยสลายหมดแล้วจะกลายเป็นสาร
อินทรีย์ ก๊าซมีเทน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็น
สิ่งจำาเป็นในการเจริญเติบโตและดำารงชีวิตของพืช ได้แก่
ข้าวโพด ข้าวสาลี มันฝรั่ง มันสำาปะหลัง เป็นต้น และเป็นวัตถุดิบ
ที่ใช้ในกระบวนการผลิตเป็นพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ
เช่น ภาชนะใส่ขนมปัง เพื่อรักษาความสดใหม่ให้นานขึ้น ฟิล์มหุ้ม
ให้อากาศผ่านได้และถาดใส่ผัก แผ่น ดีวีดี กระถางใส่ต้นไม้ย่อย
สลายได้หลังการใช้งาน และอีกอย่างเป็นพลาสติกที่ถูกออกแบบ
มา เพื่อใช้ในการผลิตและการประกอบรถยนต์ให้มีประสิทธิภาพ
มากขึ้น

ประเภทของพลาสติก ที่ใ ช้ใ นอุต สาหกรรมไบโอพลาสติก
ชีว ภาพ
เราสามารถแบ่งประเภทของเม็ดพลาสติกออกได้เป็น 2 กลุ่ม
ใหญ่ ๆ ได้แก่
1. เทอร์ม อพลาสติก (thermoplastics) คือ เป็นกลุ่ม
พลาสติกชนิดที่ถูกความร้อนอุณหภูมิที่ 140 องศาเซลเซียส จะ
หลอมตัวกลายเป็นของเหลวได้ พลาสติกกลุ่มนี้มีโครงสร้างเป็น
สายยางสามารถนำากลับมาใช้งานได้ตลอด เช่น

รูปภาพที่ 1.1 ลักษณะเม็ดพลาสติกโพลิธีน
ที่มา : www.thai-supply.com
1.1 โพลิธ ีน (Polythene) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะ
โดนเด่นมีเนื้ออ่อน สีขาวขุ่น และมีราคาไม่แพง ผลิตภัณฑ์ที่ทำา
ด้วยโพลิธีน ได้แก่ ขวดใส่สารเคมี ขวดใส่นำ้า กล่องบรรจุสินค้า
เครื่องเล่นของเด็ก เป็นต้น
คลอไรด์

รูปภาพที่ 1.2 ลักษณะเม็ดพลาสติกโพลิไวนิล
ที่มา : www.vcharkarn.com

1.2 โพลิไ วนิล คลอไรด์ (Polyvinyl Chloride)
หรือ P.V.C. คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะคุณสมบัติพิเศษ มีเนื้อ
แข็ง ทนทานต่อการขีดข่วนคงตัวไม่เสียรูปง่าย และเป็นฉนวน
ไฟฟ้าที่ดีมาก ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากโพลิไวนิล คลอไรด์ ได้แก่
ฉนวนหุ้มสายไฟ เสื้อกันฝน กล่องเครื่องมือ กระเป๋า ปกแฟ้ม
เอกสาร กล่องและตลับเครื่องสำาอาง เป็นต้น

ลีน

รูปภาพที่ 1.3 ลักษณะเม็ดพลาสติกโพลิสไต
ที่มา : www.thai-supply.com

1.3 โพลิส ไตลีน (Polyethylene) คือ เป็นพลาสติกที่
มีลักษณะใสเหมือนแก้ว ไม่มีสีและสามารถย้อมสีได้ เพราะมี
คุณสมบัติ ทน กรด ด่าง และเกลือ ละลายได้ดีในเบนซิน และตัว
ทำาละลายพวกออแกนนิคมผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากโพลิสไตลีน ได้แก่
ไม้บรรทัด แปรงสีฟัน ถ้วยจาน แก้วนำ้า ช้อนส้อมที่ใช้แล้วทิ้ง
กล่องบรรจุอาหาร และผลไม้ เป็นต้น

ไปลีน

รูปภาพที่ 1.4 ลักษณะเม็ดพลาสติกโพลีโปร
ที่มา : www.plastic.oie.go.th
1.4 โพลีโ ปรไปลีน (Polypropylene) คือ เป็น
พลาสติกที่ทำาจากก๊าซโปรเทน ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากโพลีโปรไปลีน
ได้แก่ ใช้ทำาถุงพลาสติกร้อน เชือกมัดของ กล่องแบตเตอรี่

รูปภาพที่ 1.5 ลักษณะเม็ดพลาสติกไนล่อน
ที่มา : www.thai-plastic.com
1.5 ไนล่อ น (Nylon) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะทน
ต่อ กรดด่าง กรดอินทรีย์ และสารละลายอินทรีย์ได้ดี แต่ไม่ทนต่อ
กรดแสงแดด และความร้อน ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากไนล่อน ได้แก่ ผ้า
ร่ม ผ้าชนิดต่างๆ โดยผสมกับฝ้าย อวน ใบเรือ เชือก เป็นต้น
2. เทอร์ม อเซตติง พลาสติก (thermosetting plastic)
คือ เป็นพลาสติกที่เป็นผลิตภัณฑ์แล้ว ไม่สามารถจะนำาไปหลอม
นำากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เนื่องจากในขั้นตอนที่ทำาเป็นผลิตภัณฑ์
นั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น โมเลกุลพลาสติกยึดเชื่อม
ต่อกันแบบเชื่อมขวาง การใช้ความร้อนไม่สามารถ ทำาให้ออนตัว
่
ได้อีกและเมื่อได้รับความร้อนมากๆจะไหม้เกรียมและแตกออก

รูปภาพที่ 1.6 ลักษณะเม็ดพลาสติกฟีลโนล
เฟอร์มาดิไฮน์ เรซิน
ที่มา : www.weloveshopping.com
2.1 ฟีล โนล เฟอร์ม าดิไ ฮน์ เรซิน (Phenol
Formaldyhile resin) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะเป็นสีขาว
ขุ่นผิวมีความลื่นมัน และคุณสมบัติดีเยี่ยมในด้านความทนทานต่อ
การกัดกร่อนของสารเคมี และทนความร้อนสูงที่
อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส เนื่องจากทนความร้อนสูงจึงทำาให้
กระบวนการขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์นั้น ต้องใช้ความร้อนสูงและมี
ความยุ่งยากกว่าพลาสติกชนิดอื่นผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากฟีลโนล
เฟอร์มาดิไฮน์ เรซิน ได้แก่ ฉนวนไฟฟ้า ตู้ วิทยุ อุปกรณ์ไฟฟ้า
อื่นๆ

มาดิไฮน์ เรซิน

รูปภาพที่ 1.7 ลักษณะเม็ดพลาสติกยูเรีย เฟอร์

ที่มา : www.gp-plast.com
2.2 ยูเ รีย เฟอร์ม าดิไ ฮน์ เรซิน (Urea
Formaldyhile Resin) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะเป็นสีขาว
ใสสามารถย้อมเป็นสีต่างๆ ได้ และเป็นพลาสติกที่ไม่ทนต่อกรด
ด่าง และแรงกระแทก ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากยูเรีย เฟอร์มาดิไฮน์
เรซิน ได้แก่ ทำาปุ่มจับด้ามเครื่องมือ ด้ามเครื่องมือช่าง หูหม้อ หูก
ระทะ ด้ามมีด เป็นต้น

ฟอร์มาดิไฮด์ เรซิน

รูปภาพที่ 1.8 ลักษณะเม็ดพลาสติกเมลามีน
ที่มา : www.gp-plast.com

2.3 เมลามีน ฟอร์ม าดิไ ฮด์ เรซิน (Melamine
Formaldyhile Resin) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะเป็นเนื้อ
แข็งมาก ทนทานต่อการขีดข่วน เหนียวไม่แตกง่าย และเป็น
พลาสติกอย่างดีมีราคาแพง ทนความร้อนสูงที่อุณหภูมิ 250 องศา
เซลเซียส ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากเมลามีน ฟอร์มาดิไฮด์ เรซิน ได้แก่
จาน ชาม ถ้วยกาแฟ เครื่องใช้ภายในครัว เครื่องประดับ เป็นต้น

1.2 ลัก ษณะของผลิต ภัณ ฑ์ท ี่ธ ุร กิจ สนใจทำา

รูปภาพที่ 1.9 ลักษณะชิ้นส่วนรถยนต์ที่ผลิตจากพลาสติก
(ไบโอพลาสติก)
ที่มา : www.rtnmotor.co.th

รูปภาพที่ 1.10 ลักษณะชิ้นส่วนรถยนต์ที่ผลิตจากไบโอ
พลาสติก (สเกิร์ตด้านหน้า)
ที่มา : www.rtnmotor.co.th
รูปภาพที่ 1.11 ลักษณะชิ้นส่วนรถยนต์ที่ผลิตจากไบโอ
พลาสติก (สเกิร์ตด้านข้าง)
ที่มา : www.rtnmotor.co.th

รูปภาพที่ 1.12 ลักษณะชิ้นส่วนรถยนต์ที่ผลิตจากไบโอ
พลาสติก (สเกิร์ตด้านหลัง)
ที่มา : www.rtnmotor.co.th

1.3 การวิเ คราะห์แ นวโน้น การเจริญ เติบ โตของ
ธุร กิจ ผลิต ชิ้น ส่ว นยานยนต์ (ชิน ส่ว นผลิต จากไบโอ
้
พลาสติก ) ในปัจ จุบ ัน
ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่ใช้ไบโอพลาสติก (สเกิร์ต
รถยนต์) ปัจจุบันมีการขยายตัวผลิตภัณฑ์พลาสติกจำานวนเพิ่มขึ้น
อย่างต่อเนื่อง เกิดจากผู้บริโภคต้องการใช้รถยนต์เป็นยานพาหนะ
ในชีวิตประจำาวัน เพื่ออำานวยความสะดวกและรวดเร็วในการเดิน
ทาง ส่งผลให้ธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์มากขึ้น ทำาให้
ต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้น และเป็นธุรกิจที่น่า
สนใจน่าลงทุนอีกธุรกิจหนึ่ง
ตารางที่ 1.1 ตารางแสดงปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอ
พลาสติก) ในปัจจุบัน (พ.ศ.2549 - พ.ศ.2553)

พ.ศ.
2549
2550
2551
2552
2553

ปริม าณความต้อ งการผลิต
ภัณ ฑ์ไ บโอพลาสติก
(หน่ว ย : ตัน )
300,000
400,000
500,000
600,000
700,000

ที่มา :

www.plastic.oie.go.th
รูปภาพที่ 1.13 กราฟแสดงปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบ
โอพลาสติก) ในปัจจุบัน (พ.ศ.2549 - พ.ศ.2553)
หน่ว ย :
ตัน
1,000,0
00
800,000
600,000

ปริมาณความ

ต้องการ
Vs,djkrhoxhg

400,000

ที
200,000 ่
2550
2551
0 2549
2552
2553
ที่มา : www.plastic.oie.go.th

พ.ศ.

จากกราฟจะเห็นได้ว่า ปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอ
พลาสติก) มีทิศทางที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เป็นผลมาจากธุรกิจ
อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์เพิ่มขึ้น และการขยายตัวเศรษฐกิจใน
ปัจจุบันส่งผลให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) ตั้งแต่ปี
2549 – ปี 2553 อัตราความต้องการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ
100,000 ตัน คาดว่าแนวโน้นการเจริญเติบโตธุรกิจอุตสาหกรรม
ยานยนต์มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ทำาให้มีความต้องการผลิตภัณฑ์
(ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้นอีกเฉลี่ยปีละ 200,000 ตัน จาก
เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นผลมาจากจำานวนผู้ประกอบการ
อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์มีความต้องการมากขึ้น ทำาให้ความ
ต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้นตามลำาดับ

1.4 การวิเ คราะห์แ นวโน้น การเจริญ เติบ โตของ
ธุร กิจ ผลิต ชิ้น ส่ว นยานยนต์ (ชิน ส่ว นผลิต จากไบโอ
้
พลาสติก ) ในอนาคต
ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (ไบโอพลาสติก) อนาคตคาดว่า มี
การขยายตัวผลิตภัณฑ์พลาสติกจำานวนเพิ่มมากขึ้น เกิดจาก
ประชากรของประเทศที่เพิ่มขึ้นและผู้บริโภคส่วนใหญ่ต้องการใช้
รถยนต์เป็นยานพาหนะในชีวิตประจำาวัน เพื่ออำานวยความสะดวก
และรวดเร็วในการเดินทาง
จากเหตุการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้
ธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์เพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของผู้บริโภค ทำาให้ต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก)
มากขึ้น ดังต่อไปนี้
ตารางที่ 1.2 ตารางแสดงปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอ
พลาสติก) ในอนาคต (พ.ศ.2554 - พ.ศ.2558)
พ.ศ.
2554
2555
2556
2557
2558

ปริม าณความต้อ งการผลิต
ภัณ ฑ์ไ บโอพลาสติก
(หน่ว ย : ตัน )
800,000
1,000,000
1,200,000
1,500,000
2,000,000

ที่มา : www.plastic.oie.go.th
รูปภาพที่ 1.14 กราฟแสดงปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบ
โอพลาสติก) ในอนาคต (พ.ศ.2554 - พ.ศ.2558)
หน่ว ย :
ตัน
2,500,0
00
2,000,0
00

ต้องการ

ปริมาณความ

1,500,0
00
พ.ศ.
1,000,0 2554
2555
2556
00
2557
2558
ที่มา : www.plastic.oie.go.th
500,00

จากกราฟจะเห็นได้ว่า ปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอ
พลาสติก) มีทิศทางที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เป็นผลมาจากธุรกิจ
อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์เพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของ
ผู้บริโภคในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการขยายตัวเศรษฐกิจ
ในอนาคต ส่งผลให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก)
ตั้งแต่ปี 2554 – ปี 2558 เพิ่มขึ้นตามลำาดับ

1.5 ความน่า สนใจในธุร กิจ ผลิต ชิ้น ส่ว นยานยนต์
(ไบโอพลาสติก )
จากการวิเคราะห์ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (ไบโอพลาสติก)
พบว่า มีทศทางความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้น
ิ
อย่างต่อเนื่อง เกิดจากประชากรของประเทศเพิ่มขึ้นและการขยาย
ตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ผู้บริโภคต้องการใช้รถยนต์เป็น
ยานพาหนะในชีวิตประจำาวันเพิ่มขึ้น เพื่ออำานวยความสะดวกและ
รวดเร็วในการเดินทาง ส่งผลให้ธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์
มากขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ทำาให้ต้องการ
ผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้น เพื่อใช้ในการผลิตและ
ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ ของรถยนต์ ทั้งภายในและภายนอก ตลอด
จนบริเวณห้องเครื่อง เช่น อุปกรณ์เสริมสเกิร์ตรถยนต์ ฝาครอบล้อ
ยางปัดนำ้าฝนรถยนต์ เป็นต้น จึงทำาให้ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
(ไบโอพลาสติก) มีแนวโน้มการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง เป็น
ธุรกิจที่น่าสนใจในการลงทุนอีกธุรกิจหนึ่ง
บทที่ 2
การวิเ คราะห์ส ภาวะการแข่ง ขัน ทางการตลาด
การวิเ คราะห์ป ัจ จัย ภายในและภายนอกของธุร กิจ
(SWOT Analysis)

SWOT เป็นคำาย่อมาจาก Strengths , Weaknesses ,
Opportunities and Threats
จุด แข็ง (Strengths) คือ เป็นการมองด้านความสามารถ
และสถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นด้านบวกและองศ์กรสามารถ
นำามาใช้ประโยชน์ในการทำางานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้าน
การดำาเนินงานในองค์กร
จุด อ่อ น (Weaknesses) คือ เป็นการมองสถานการณ์
ภายในองค์กรที่เป็นด้านลบ เช่น ด้านความสามารถในการดำาเนิน
งานขององค์กรไม่ค่อยเป็นที่พึงพอใจซึ่งองค์กรไม่สามารถนำามา
ใช้เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการดำาเนินงานภายใยองค์กรทำาได้
โอกาส (Opportunities) คือ เป็นปัจจัยภายนอกที่เอื้อ
อำานวยต่อการทำางานขององค์กรให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ภาย
ใต้สภาพแวดล้อมภายนอก การวิเคราะห์ดังกล่าวมีประโยชน์ต่อ
การดำาเนินงานขององค์กรเป็นอย่างมากเป็นปัจจัยภายนอกที่ส่ง
ผลด้านบวกต่อธุรกิจ
อุป สรรค (Threats) คือ เป็นปัจจัยภายนอกที่ไม่เอื้อ
อำานวยต่อการทำางานขององค์กรให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ภาย
ใต้สภาพแวดล้อมภายนอก การวิเคราะห์ดังกล่าวทำาให้องค์กร
ทราบถึงสิ่งที่เป็นผลเสียที่มีผลกระทบด้านลบต่อการดำาเนินงาน
ขององค์กรเป็นอย่างมากต่อธุรกิจ

2.1 การวิเ คราะห์ป ัจ จัย ภายในและภายนอกของ
ธุร กิจ (บริษ ัท สยามไบโอพลาสติก จำา กัด )
(SWOT Analysis)
จุด แข็ง (Strengths)
1. ผู้บริหารของบริษัทฯ ได้มีการกำาหนดนโยบายที่ชัดเจน
ทำาให้พนักงานทุกฝ่ายสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว
คือ สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อหมดอายุการใช้
งาน
3. ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นผลิตภัณฑ์ที่อนุรักษ์สิ่ง
แวดล้อม (ISO 14001) และการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO
18001)
4. บริษัทฯ มุ่งเน้นความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสำาคัญ โดย
สินค้าที่ผลิตออกมาสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้
เป็นอย่างดี
5. บริษัทฯ นำาเทคนิคด้านการออกแบบและวิจัยผลิตภัณฑ์ที่
ทันสมัย โดยนำาเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยในกระบวนการ
ผลิต
6. บริษัทฯ สามารถผลิตสเกิร์ตรถยนต์มิตซูบีชิจากไบโอ
พลาสติก ด้วยเครื่องมือเครื่องจักรและกระบวนการที่ทันสมัย
7. ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ มีความแข็งแรง คงทน ขึ้นรูปได้
ง่าย
จุด อ่อ น (Weaknesses)
1. บริษัทฯ เปิดกิจการใหม่และผลิตภัณฑ์ใหม่ ยังไม่เป็นที่
รู้จักของผู้บริโภค
2. บริษัทฯ ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความชำานาญ ด้านการ
ใช้เครื่องมือเครื่องจักรในกระบวนการผลิต
3. ทางบริษัทฯ ยังคาดการณ์แนวโน้นการวางแผนการผลิต
และกำาลังการผลิตไม่สมำ่าเสมอ (เพราะความต้องการตลาดไม่คงที่)
4. ผู้บริหารของบริษัทฯ ยังขาดประสบการณ์ด้านการ
บริหารการจัดการ เนื่องจากเป็นธุรกิจใหม่ทำาให้ธุรกิจเติบโตช้า
5. บริษัทฯ ยังขาดนักวางแผนทางด้านการตลาดที่มี
ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ยอดขายตำ่ากว่ามาตรฐานที่วางไว้
โอกาส (Opportunities)
1. รัฐบาลมีการส่งเสริมและสนับสนุนทางด้านเงินทุนและ
ให้การสนับสนุนในธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตพลาสติกชีวภาพ เช่น
โครงการนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์
พลาสติกชีวภาพ
2. ปัจจุบันอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์จากพลาสติก
(ไบโอพลาสติก) ยังมีคู่แข่งขันน้อยราย ทำาให้บริษัทฯ มีความ
เจริญเติบโตสูงขึ้น
3. การขยายตัวด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน ส่งผลให้ผู้บริโภคมี
ความต้องการใช้รถยนต์เพิ่มขึ้น ทำาให้ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์
ต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้น
4. ไบโอพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์ที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่มี
คุณสมบัติสามารถย่อยสลายเองได้ เมื่อหมดอายุการใช้งานและผู้
บริโภคชั้นสูงกำาลังให้ความสนใจ
5. ไบโอพลาสติกชีวภาพเป็นผลิตภัณฑ์ที่ยอมรับของผู้
บริโภคในปัจจุบัน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส่งผลให้อุตสาห
กรรมไบโอพลาสติกมีความเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น

อุป สรรค (Threat)
1. เนื่องจากภาครัฐบาลมีการใช้มาตรการนโยบายค่าจ้าง
แรงงานขั้นตำ่าวันละ 300 บาท/วัน ส่งผลทำาให้ต้นทุนในการผลิต
สินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น
2. จากสภาวะราคานำ้ามันที่ปรับตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้
ต้นทุนการขนส่งสินค้าของธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น
3. สถานการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจภายในประเทศที่
ไม่แน่นอน ส่งผลให้นักลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้น
ส่วนยานยนต์เกิดความไม่มั่นใจในการลงทุนธุรกิจ
4. ผู้บริโภคไม่เชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์สเกิร์ตรถยนต์ ที่ผลิต
จากไบโอพลาสติกชีวภาพ เกี่ยวกับด้านความคงทนและอายุการ
ใช้งานของผลิตภัณฑ์

2.2 การวิเ คราะห์ป ัจ จัย ภายในและภายนอกของ
ธุร กิจ คู่แ ข่ง ขัน (บริษ ัท บางกอกโพลีเ อส เตอร์
จำา กัด )
( SWOT Analysis)
จุด แข็ง (Strengths)
1. บริษัทฯ มีเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องจักรที่ทันสมัยใน
กระบวนการผลิตและมีการกระจ่ายสินค้าที่มีประสิทธิภาพสูง
2. ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นที่รู้จักและสินค้ามีคุณภาพดี
ได้รับการยอมรับจากกลุ่มผู้ซื้อผลิตภัณฑ์
3. บริษัทฯ มีเงินทุนหมุนเวียนภายในดี ทำาให้สามารถจัดซื้อ
ราคาวัตถุดิบในปริมาณที่มากขึ้นจึงได้ราคาที่ถูกกว่าผู้ผลิตรายอื่น
4. บริษัทฯ ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนทำาให้ผู้บริโภคมีความ
สะดวกในการซื้อสินค้า
5. บริษัทฯ เน้นคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุดและการให้
บริการเต็มรูปแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สร้างความพึงพอใจของ
ลูกค้า
จุด อ่อ น (Weaknesses)
1. บริษัทฯ ตั้งอยู่ในจังหวัดระยอง ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม
มากขึ้นในการขนส่งสินค้าไปยังผู้สั่งซื้อที่อยู่ไกล
2. บริษัทฯ ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาวัตถุดิบสูงขึ้น
เนื่องจากบริษัทฯ มีการสั่งซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตมาเป็น
จำานวนมาก
3. บริษัทฯ ยังขาดแคลนแรงงานที่มีความรู้ด้านการวางแผน
การผลิต ส่งผลให้กำาลังการผลิตยังไม่เต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควร
4. บริษัทฯ ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความชำานาญ ด้านการ
ใช้เครื่องจักรอุตสาหกรรมในกระบวนการผลิต
โอกาส (Opportunities)
1. รัฐบาลมีการส่งเสริมและสนับสนุนด้านเงินลงทุนของ
ธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกมากขึ้น เกิดจากผู้บริโภคมีความ
ต้องการใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกเพิ่มขึ้น
2. ปัจจุบันอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์จากไบโอ
พลาสติก ยังมีคู่แข่งขันน้อยราย ส่ง ผลให้บริษัทฯ เจริญเติบโต
ก้าวหน้า
3. ในปัจจุบันมีการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบ
ให้อัตราการเจริญเติบโตของธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกสูง
ขึ้น
4. ไบโอพลาสติกชีวภาพเป็นผลิตภัณฑ์ที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ที่มีคุณสมบัติสามารถย่อยสลายเองได้ เมื่อหมดอายุการใช้งานที่
นักธุรกิจให้ความสนใจ
อุป สรรค (Threats)
1. เนื่องจากภาครัฐบาลได้กำาหนดนโยบายค่าจ้างแรงงาน
ขั้นตำ่าวันละ 300 บาท/วัน ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตของธุรกิจเพิ่ม
สูงขึ้นจากเดิม
2. จากสภาวะราคานำ้ามันที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่ง
ผลให้ต้นทุนการขนส่งสินค้าของธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น
3. สภาวะทางเศรษฐกิจและการเมืองภายในประเทศ ส่งผล
ให้ความเชื่อมั่นในกาลงทุนของนักธุรกิจน้อยลง
4. ปัจจุบันจำานวนคู่แข่งขันในธุรกิจมีแนวโน้นที่เพิ่มขึ้น ส่ง
ผลให้ธุรกิจจำาหน่ายสินค้าไม่ได้ตามเป้าหมาย ทำาให้ยอดขายและ
กำาไรกลับสู่ธุรกิจน้อยลง

2.3 การวิเ คราะห์ส ภาพแวดล้อ มภายใน
อุต สาหกรรม (Five Force Model)
การวิเ คราะห์แ รงผลัก ดัน 5 ประการ (Five Force
Model) คือ การวิเคราะห์การแข่งขันภายในอุตสาหกรรม
ประเภทเดียวกัน โดยนำาปัจจัยทั้ง 5 ประการ มาพิจารณาและ
กำาหนดความรุนแรงด้านการแข่งขันภายในอุตสาหกรรม เพื่อวัด
ความสามารถหรือศักยภาพในการทำากำาไรของธุรกิจดังกล่าวเรา
สามารถอธิบายได้ ดังนี้
ความยากง่า ยใน
การเข้า
มาของคู่แ ข่ง ขัน
รายใหม่
(The Threat of

อำา นาจต่อ รอง
ของผู้ซ ื้อ
(Bargaining
Power
of Buyers)

ความรุน แรง
ภายใน
อุต สาหกรรม
(Intensity of
Rivalry
Among

อำา นาจต่อ
รองของ
ผู้ข ายปัจ จัย
การผลิต
(Bargaining
Power of

การคุก คามของ
สิน ค้า ทดแทน
(Threat
Substitute of
Products or

Model)

รูปภาพที่ 2.1 แสดงการวิเคราะห์ ( Five Force

ความรุน แรงภายในอุต สาหกรรม (Intensity of Rivalry
Among Competing)
จากการพิจารณาคู่แข่งขันภายในอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก
พบว่า สภาพการแข่งขันค่อนข้างสูง เนื่องจากปัจจุบันภาครัฐและ
ภาคเอกชน ให้การส่งเสริมและสนับสนุนธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอ
พลาสติกมาอย่างต่อเนื่อง จนเป็นที่ยอมรับกันว่าในประเทศไทยมี
ความสามารถทางด้านการผลิตไบโอพลาสติกชีวภาพสูงสุดใน
อาเซียน มีการนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการออกแบบ
เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องขึ้นรูปพลาสติก ในกระบวนการ
ผลิตให้มีความเร็วและตัวผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) ได้รับการ
ตอบรับจากกลุ่มลูกค้าได้ดี และสามารถสร้างความพึงพอใจให้
ลูกค้าอย่างมาก ทำาให้ผู้ประกอบการรายอื่นสนใจที่จะเข้ามาลงทุน
ในธุรกิจดังกล่าว ดังนั้น เพื่อให้ธุรกิจสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน
ภายใต้สภาพการแข่งขันธุรกิจที่รุนแรง ผู้ประกอบการควรพัฒนา
สินค้าและออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความทันสมัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อ
เพิ่มศักยภาพให้กับธุรกิจให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น
คว ามย าก ง่า ย ใน ก า ร เ ข้ า ม า ข อ ง คู่แ ข่ง ขัน ร า ย ใ ห ม่ (The
Threat of the Entry New Competitors)
ธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก เป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยม
ในปัจจุบัน และความสนใจจากผู้ประกอบการรายใหม่และนัก
ลงทุนต่างประเทศที่เข้ามาลงทุน นอกจากนี้ได้รับการส่งเสริมและ
สนับสนุนจากภาครัฐและภาคเอกชน ส่งผลให้ธุรกิจมีแนวโน้มการ
เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก ต้อง
ใช้เงินลงทุนที่สูง และสร้างผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ต้องการของกลุ่มผู้
ซื้อและผู้บริโภคซึ่งต้องใช้เวลา Brand สินค้าเป็นส่วนหนึ่งที่ทำาให้
สินค้าเป็นที่ยอมรับและเป็นที่รู้จักของผู้บริโภค ดังนั้น กระจาย
สินค้าต้องดีและครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อตอบสนองความต้องการ
ของกลุ่มผู้ซื้อและผู้บริโภค การเข้ามาของผู้ประกอบการรายใหม่มี
น้อยรายเพราะต้องใช้เงินลงทุนสูง และต้องหาช่องทางการจัด
จำาหน่ายสินค้าออกสู่ตลาดโลก
อำา นาจต่อ รองของผู้ข ายปัจ จัย การผลิต (Bargaining
Power of Suppliers)
การดำาเนินธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก อำานาจต่อรอง
ของ Supplier มีค่อนข้างมาก เนื่องจากผู้ขายปัจจัยการผลิต
วัตถุดิบน้อยราย ส่งผลให้อำานาจต่อรองผู้ขายปัจจัยการผลิตน้อย
ลง ทำาให้ราคาซื้อวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตราคาค่อนข้างแพง
ผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก จึงหลีกเลี่ยง
ปัญหาดังกล่าวไม่ได้ (ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น) และในสภาวะ
เศรษฐกิจทั้งภายในและต่างประเทศที่ไม่แน่นอน ส่งผลกระทบให้
นักลงทุนอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ เกิดความไม่
มั่นใจในการลงทุนของธุรกิจ แต่ทางธุรกิจได้แก้ไขปัญหาดังกล่าว
โดยผู้ประกอบการธุรกิจต้องจับมือกับผู้ขายปัจจัยการผลิต
(พันธมิตรทางการค้า) เพื่อลดอำานาจการต่อรองของผู้ขายปัจจัย
การผลิตให้น้อยลง และกำาหนดราคาวัตถุดิบที่เหมาะสมให้
สอดคล้องกับวัตถุดิบที่จำาหน่าย เพื่อสร้างความเข็มแข็งในการ
ประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการทุกรายในอุตสาหกรรมดังกล่าว
และส่งผลในด้านบวกทำาให้ลดต้นทุนการผลิตได้กำาไรกลับสู่ธุรกิจ
มากขึ้น
อำา นาจต่อ รองของผู้ซ ื้อ (Bargaining Power of Buyers)
เนื่องจากสภาพการแข่งขันทางธุรกิจที่สูง ทำาให้ลูกค้าสามารถ
ต่อรองสินค้ามีราคาที่ตำ่ามากขึ้น ทั้งนี้เป็นเพราะผลิตภัณฑ์ที่ผลิต
สามารถทดแทนกันได้ และมีคุณภาพสินค้าที่ใกล้เคียงกัน ถ้าหาก
ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ผู้
ซื้อสามารถเปรียบเทียบราคาสินค้าของผู้จำาหน่ายสินค้าแต่ละราย
ได้ ขณะเดียวกันผู้ซื้ออาจหันไปซื้อสินค้าของผู้จำาหน่ายสินค้าราย
อื่นที่มีราคาถูกกว่า ดังนั้นส่งผลกระทบต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอ
พลาสติก ทำาให้ยอดขายและกำาไรของธุรกิจน้อยลง อย่างไรก็ตาม
ผู้ซื้อสินค้าที่ต้องการด้านรูปลักษณ์สวยงามมีคุณภาพดีและ
เทคโนโลยีที่ทันสมัยแล้ว อำานาจต่อรองก็จะน้อยลง

การคุก คามของสิน ค้า ทดแทน (Threat Substitute of
Products or Services)
ผลิตภัณฑ์สเกิร์ตรถยนต์มิตซูบีชิที่ผลิตจากพลาสติก ABS
(acrylonitrile butadiene styrene) เป็นสินค้าทดแทนที่
สามารถนำาไปใช้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค แทนสินค้า
หรือบริการหลักที่ผู้บริโภคต้องการอันดับแรกได้เหมือนกัน ซึ่ง
สินค้าที่นำามาทดแทนดังกล่าว จะตอบสนองความต้องการได้อย่าง
สมบูรณ์หรือใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ชนิดแรกที่เราต้องการมาก
ที่สุด เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลให้การดำาเนินธุรกิจประสบปัญหา
และอุปสรรค คือ ผู้ประกอบการรายอื่นสามารถผลิตสินค้าหรือ
สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายคลึงกันกับผลิตภัณฑ์
สเกิร์ตรถยนต์ ผู้บริโภคจึงหันไปเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ที่มี
คุณภาพใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ทำาให้การดำาเนิน
ธุรกิจถดถอย เนื่องจากปริมาณการจำาหน่ายสินค้ายอดขายรายได้
ลดลง รวมถึงกำาไรของธุรกิจมีทิศทางลดลงอย่างเห็นได้ชัด
บทที่ 3
แผนกลยุท ธ์
สเกิร์ตรถยนต์เป็นอุปกรณ์เสริมเพื่อความสวยงาม สเกิร์ต
รถยนต์โดยทั่วไปผลิตจากพลาสติกประเภท ABS
(Acrylonitrile-Butadiene-Styrene) ที่มีคุณสมบัติคือ มีความ
แข็งแรง คงทน สวยงาม และขึ้นรูปง่าย แต่มีขอเสียคือ ราคา
้
พลาสติก ABS สูง ดังนั้นเพื่อสร้างความแตกต่างในด้านราคา
บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด ได้ทำาการผลิตสเกิร์ตรถยนต์
จากไบโอพลาสติกที่ราคาตำ่ากว่าคู่แข่งขันและมีคุณสมบัติไม่แตก
ต่างกันคือ มีความแข็งแรง คงทน ขึนรูปง่ายและสามารถย่อย
้
สลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อหมดอายุการใช้งาน เพื่อจำาหน่าย
ให้กับลูกค้าในประเทศ ตามแนวโน้มความต้องการของลูกค้าที่
นิยมการใช้รถยนต์เป็นยานพาหนะ ธุรกิจผลิตสเกิร์ตรถยนต์เป็น
ธุรกิจที่ทำากำาไรได้ดี จึงทำาให้เกิดแรงจูงใจในการประกอบธุรกิจ
ผลิตสเกิร์ตรถยนต์ ดังนั้นการทำาธุรกิจของบริษัทฯ มุ่งเน้นการ
เลือกตลาดลูกค้าในแต่ละกลุ่มโดยบริษัทฯกำาหนดกลุ่มเป้าหมาย
และกลยุทธ์ของบริษัทฯ ดังนี้
3.1 การแบ่ง ส่ว นตลาด การเลือ กตลาดเป้า หมาย
และการกำา หนดตำา แหน่ง ผลิต ภัณ ฑ์
(STP Marketing)
บริษัทฯได้ทำาการผลิตสเกิร์ตรถยนต์เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้า บริษัทฯจึงใช้กลยุทธ์ในการแบ่งส่วนตลาด
ดังนี้
3.1.1 การแบ่ง ส่ว นตลาด (Maeketing
Segmentation) : S
3.1.1.1 การแบ่ง ตลาดตามลัก ษณะทางภูม ิศ าสตร์
(Geographic Segmentation)
ภูม ิภ าค
ภาคใต้
ภาคกลาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคเหนือ
กรุงเทพฯและปริมณฑล
3.1.1.2 ลัก ษณะการประกอบอาชีพ
(Occupation Segmentation)
ประเภทการประกอบอาชีพ รถยนต์
ประเภทรถยนต์นั่ง
ประเภทรถยนต์โดยสาร
ประเภทรถยนต์บรรทุก
ประเภทรถยนต์ลากจูง
ประเภทรถพ่วง
ประเภทรถจักรยานยนต์
ประเภทรถยนต์นั่งรับจ้างสาธารณะ
ประเภทรถยนต์เบ็ดเตล็ด
3.1.1.3 พฤติก รรมศาสตร์ (Behavioral
Segmentation)
การแสวงหาผลประโยชน์
สินค้าราคาประหยัด
สินค้าคุณภาพสูง
สินค้าหาซื้อง่าย
3.1.2 การเลือ กตลาดเป้า หมาย (Targeting) : T
บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด ผลิตภัณฑ์ของบ
ริษัทฯได้แก่ สเกิร์ตรถยนต์ มีคุณสมบัติพิเศษสามารถย่อยสลาย
เองเมื่อหมดอายุการใช้งาน บริษัทฯได้พิจารณาและเลือกกลุ่มเป้า
หมาย ดังนี้ บริษัทได้เลือกเลือกกลุ่มลูกค้าที่ในเขตกรุงเทพฯและ
ปริมณฑล ซึ่งกลุ่มลูกค้าจะเป็นผู้ประกอบการที่สั่งซื้อสเกิร์ต
รถยนต์ไปเป็นชิ้นส่วนในการประกอบธุรกิจรถยนต์นั่งและเลือกซื้อ
สินค้าแน้นคุณภาพสูง

3.1.3 การกำา หนดตำา แหน่ง ของผลิต ภัณ ฑ์ (Market
Positioning): P
บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด ได้กำาหนดตำาแหน่ง
ของผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่างชัดเจน และตรงกับความ
ต้องการของผู้บริโภค โดยการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ
กับผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันโดยนำาปัจจัยด้านราคาและคุณภาพ
เป็นตัวพิจารณา บริษัทได้กำาหนดตำาแหน่งของผลิตภัณฑ์ไว้ ดังนี้

ราคา
สูง
คุณ ภา
พตำ่า

คุณ ภาพ
สูง (สูง )

บริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์
จำากัด

ราคา
ตำ่า
บริษัท สยามไบโอพลาสติก
จำา กัด

ภาพที่ 3.1 แผนแสดงการกำาหนดตำาแหน่งผลิตภัณฑ์
กลยุทธ์การวางตำาแหน่งผลิตภัณฑ์เมื่อเปรียบเทียบกับคู่
แข่งขัน สามารถอธิบายได้ว่า บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด
ได้กำาหนดตำาแหน่งผลิตภัณฑ์ไว้ตำ่ากว่าบริษัท บางกอก
โพลีเอสเตอร์ จำากัด เห็นได้ว่าราคามีความแตกต่างกัน เนื่องจาก
บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด เป็นบริษัทฯที่พึ่งจะเปิดกิจการ
เสียเปรียบด้านลูกค้ายังไม่รู้จักกับสินค้าของบริษัทฯ จึงวาง
ตำาแหน่งผลิตภัณฑ์อยู่ตำาแหน่งตำ่ากว่าคู่แข่งขัน เพื่อให้สามารถ
แข่งขันในตลาดได้

3.2 กลยุท ธ์ส ่ว นประสมทางการตลาด (Marketing
Mix Strategy)

ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ไม่เป็นที่รู้จักในตลาดและเป็น
ผลิตภัณฑ์ใหม่ ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างความได้เปรียบทางด้าน
ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำาหน่ายและด้านการส่ง
เสริมการตลาด บริษัทฯจึงกำาหนดกลยุทธ์ทางการตลาด ดังนี้
3.2.1 กลยุท ธ์ผ ลิต ภัณ ฑ์ (Product Strategy)
ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากไบโอ
พลาสติกที่ข้อดี คือ ย่อยสลายได้ง่ายไม่ทิ้งสารที่เป็นอันตรายต่อ
สิงแวดล้อมเหมือนกับพลาสติกที่ได้จากปิโตรเลียม และไม่มี
อันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค คือปล่อยสารที่เป็นพิษต่อ
ร่างกายที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งในระยะยาว บริษัทฯเน้นคุณภาพ
ของสินค้าและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยบริษัทฯผลิตสินค้าเพื่อ
จำาหน่ายให้ผู้บริโภค ดังนี้
3.2.1.1 ชนิด ของสิน ค้า (Type of Product)
บริษัทฯ ผลิตสเกิร์ตรถยนต์เพียงชนิดเดียว
คือ ชุดสเกิร์ตรอบคันสำาหรับมิตซูบีชิมิราจ สเกิร์ตรถยนต์ เป็น
ผลิตภัณฑ์ทผลิตจากไบโอพลาสติกที่มีกระบวนการผลิตเช่นเดียว
ี่
กับการผลิตสเกิร์ตรถยนต์จากพลาสติกปีโตรเคมี แต่สเกิร์ตที่ผลิต
จาก (ไบโอพลาสติก) มีความพิเศษกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับสเกิร์ตที่
ผลิตจากปิโตรเคมี คือ สามารถย่อยสลายได้เร็วเมื่อหมดอายุการ
ใช้งานของผลิตภัณฑ์ ในระยะแรกบริษัทฯจะผลิตสเกิร์ตรถยนต์
ให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า

รูปภาพที่ 3.2 ชุดสเกิร์ตรถยนต์มิราจ

รูปภาพที่ 3.3 สเกิร์ตหน้ารถยนต์

รูปภาพที่ 3.4 สเกิร์ตข้างรถยนต์
รูปภาพที่ 3.5 สเกิร์ตท้ายรถยนต์
3.2.1.2 ขนาดของสิน ค้า (Size of Produc
ขนาดของสเกิร์ตรถยนต์ ในช่วงแรกบริษัทฯ
ได้ผลิตเพียงขนาดเดียวคือ ชุดสเกิร์ตสำาหรับมิราจ มีขนาดดังนี้ ส
เกิร์ตหน้ามี 2 ชิ้น (L,R) แต่ละชิ้นขนาดกว้าง 5 เซนติเมตร ขนาด
ยาว 45 เซนติเมตร ขนาดสูง 15 เซนติเมตรและมีนำ้าหนัก 1.5
กิโลกรัม สเกิร์ตข้างมี 2 ชิ้น (L,R) แต่ละชิ้นขนาดกว้าง 4
เซนติเมตร ขนาดยาว 140 เซนติเมตร สูง 15 เซนติเมตรและมี
นำ้าหนัก 2 กิโลกรัม สเกิร์ตหลังมี 2 ชิ้น (L,R) แต่ละชิ้นขนาด
กว้าง 5 เซนติเมตร ขนาดยาว 40 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร
และมีนำ้าหนัก 1 กิโลกรัม
3.2.1.3 บรรจุภ ัณ ฑ์ (Packaging)
บรรจุภัณฑ์เป็นสิ่งที่ห่อหุ้มสินค้าไม่ให้เกิด
ความเสียหายหรือได้รับการกระแทกจากสิ่งภายนอก ผลิตภัณฑ์
ของบริษัทเป็นงานดิบยังไม่ทำาสี บริษัทฯจึงใช้กล่องกระดาษลูกฟูก
ลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยมเปิดได้ด้านบนและด้านล่าง ฝาด้านบน
และด้านล่างมีลักษณะเกย เพื่อป้องกันการกระแทก การกดทับ
และการเคลื่อนย้ายของสินค้า มีขนาดเท่ากับ กว้าง 60
เซนติเมตร สูง 40 เซนติเมตร ยาว 160 เซนติเมตร
รูปภาพที่ 3.6 กล่องกระดาษลูกฟูกที่ใช้บรรจุภัณฑ์
3.2.1.4 ตราสิน ค้า (Brand)
บริษัทฯ ได้กำาหนดตราสินค้าของบริษัทฯ เป็น
รูปโลก มีลูกศรสีเขียวรอบ หมายถึง การครองตลาดทั่วโลกภายใน
อนาคตและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เนื่องจากผลิตภัณฑ์สเกิร์ต
รถยนต์ผลิตจากพลาสติกสามารถย่อยสลายได้เองเมื่อหมดอายุ
การใช้งาน ทำาให้ผู้ลูกค้าไว้วางใจในตัวผลิตภัณฑ์มากขึ้น

SBP
www. S ia m B io Pla stic .co.th

รูปภาพที่ 3.7 ลักษณะตราสินค้าของบริษัทฯ

3.2.2 กลยุท ธ์ด ้า นราคา (Price Strategy)
สเกิร์ตรถยนต์ที่ผลิตจากไบโอพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์
ใหม่ซึ่งอยู่ในวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ในขั้นแนะนำาสินค้า การกำาหนด
ราคาจะถูกกำาหนดไว้ในราคาที่เหมาะสม เพื่อให้ครอบคลุมกับ
ต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เสียไปจากการผลิตและการส่งเสริมการตลาด
การตั้งราคาตามคุณภาพที่ลูกค้ายอมรับได้ เพื่อการดึงดูดใจของ
ลูกค้า บริษัทฯตั้งราคาโดยคำานึงถึงต้นทุนการผลิตการดำาเนินงาน
และราคาของคู่แข่งขัน บริษัทฯตั้งราคาขายดังนี้ สเกิร์ตรถยนต์
ชุดละ 3,000 บาท
เมื่อเปรียบเทียบราคาสินค้ากับคู่แข่งขันระหว่างบริษัท
สยามไบโอพลาสติก จำากัด และบริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์
จำากัด มีข้อมูลดังนี้

หน่ว ยงาน/บริษ ัท
บริษ ัท ไบโอพลาสติก
จำา กัด
บริษ ัท บางกอก
โพลีเ อสเตอร์ จำา กัด

ชือ สิน ค้า
่
สเกิร ์ต มิ
ราจ
สเกิร ์ต มิ
ราจ

ราคา/
หน่ว ย
3,000
฿
4,000
฿

ตารางที่ 3.1 ตารางเปรียบเทียบราคาสินค้าระหว่างบริษัท
สยามไบโอพลาสติก จำากัด และบริษัท
บางกอกโพลีเอสเตอร์ จำากัด
3.2.3 กลยุท ธ์ด ้า นช่อ งทางการจัด จำา หน่า ย (Place of
Channel of Distribution Strategy)
1) จำาหน่ายโดยตรงให้กับลูกค้า บริษัทฯมีช่องทางการ
จัดจำาหน่ายโดยตรงให้กับลูกค้าที่ต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ของบ
ริษัทฯโดยตรง
ผูผ ลิต
้

ลูก ค้า

2) จำาหน่ายโดยตัวแทนจำาหน่ายของบริษัทคือ
เดอะมอลล์บางแค โดยบริษัทฯให้เครดิตนำาสินค้าไปจำาหน่ายก่อน
ชำาระค่าสินค้า 60 วัน
ผูผ ลิต
้

เดอะมอลล์
บางแค

ลูก ค้า
3.2.4 กลยุท ธ์ด ้า นการส่ง เสริม การตลาด
(Promotion Strategy)
บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด จะเผยแพร่ความรู้
เกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติเพื่อสร้างจิตสำานึกแก่ประชาชน
ทั่วไปให้ตระหนัก ถึงปัญหามลภาวะและช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม
กลยุทธ์นี้เป็นการสร้างความต้องการในอนาคต โดยเริ่มจากให้ผู้
บริโภคเกิดความตระหนักในกิจกรรมสิ่งแวดล้อมต่างของบริษัทฯ
เพื่อให้ลูกค้าตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมจนเกิดการตัดสินใจในการสั่ง
ซื้อสินค้าในที่สุด
นอกจากนี้ การสร้างจิตสำา นึกในเรื่องการอนุรักษ์
ธรรมชาติให้กับประชาชน จะเป็นการผลักดันให้ผู้ประกอบการหัน
มาใช้สินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างภาพพจน์ที่ดีของ
องค์กรในสายตาผู้บริโภค โดยบริษัทใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาด
ดังนี้
3.2.4.1 การโฆษณาและการประชาสัม พัน ธ์
(Advertising and Relation)
บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด มีการ
ประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆดังนี้
1) บริษัทฯมีการประชาสัมพันธ์โดยเน้นเข้าร่วม
กิจกรรมต่างๆเพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับบริษัท เช่น
การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมและงานแสดงเทคโนโลยี
นวัฒกรรมใหม่ๆ เพื่อให้ลูกค้าเข้าถึงข้อมูลจนเกิดความต้องการ
ซื้อสินค้าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของลูกค้าหน้าใหม่
2) หนังสือพิมพ์ โดยลงในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลิ
นิวล์ และข่าวสด ขนาด หนึ่งส่วนสี่หน้าขาวดำา ในช่วงทุกเดือน
การคลอบคลุมการเข้าถึงและความถี่ต้องการให้เข้าถึงกลุ่มเป้า
หมายอย่างน้อย 30% และอย่างน้อย 4 ครั้งในระยะเวลา 1 เดือน
3) นิตยาสาร เป็นการสื่อสารให้ลูกค้าได้ทราบถึง
ข้อมูลของสินค้าที่เราได้นำาเสมออย่างชัดเจน สำาหรับสเกิร์ตรถ
ยนต์ไบโอพลาสติกลงโฆษณาหนังสือเกี่ยวกับ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรมใหม่ๆ เช่น หนังสื่อมอเตอร์โชว์ เป็นต้น
4) Internet (www.Siambioplastic.co.th) เว็บ
ไซด์ของบริษัท สยามพลาสติก จำากัด ในปัจจุบันอินเตอร์เน็ตได้
รับความนิยมมาก สื่อทางอินเตอร์เน็ตจึงเป็นสื่อที่สามารถนำาเสนอ
ข้อมูลสู่กลุ่มเป้าหมายได้ดีและสามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ
บริษัทได้ดี บริษัท มีเว็บไซด์ที่ให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารและ
ผลิตภัณฑ์ ของบริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด
5) บริษัทฯจะเน้นสื่อโทรทัศน์บางรายการ เช่น
รายการเรื่องสั้นเพื่อโลกสีเขียว ซึ่งเป็นรายการเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี
ของประเทศ โดยบริษัทฯ จะติดต่อให้ขอมูลเกี่ยวกับพลาสติกที่
้
ย่อยสลายได้ซึ่งเป็นหัวข้อเรื่องที่สอดคล้องกับรูปแบบรายการ

3.2.4.2 การส่ง เสริม การขาย (Sales Promotion)
1) การให้ส่วนลด ทางบริษัทฯมีการให้ส่วนลด
สำาหรับการสั่งซื้อในปริมาณมาก โดยกำาหนดส่วนลดดังนี้ การสั่ง
ซื้อในปริมาณ 50 - 99 ชุด (ส่วนลด 10 %) การสั่งซื้อในปริมาณ
100 ชุดขึ้นไป (ส่วนลด 20 %)
2) การให้สิทธิในการเปลี่ยนคืนสินค้าที่ชำารุดโดยไม่
เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น เนื่องมาจากการจัดส่งสินค้าของบริษัทฯ

3.3 กลยุท ธ์ข องบริษ ัท สยามไบโอพลาสติก จำา กัด

เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯมีจุดเด่นเป็นผลิตภัณฑ์ที่
รักษาสิ่งแวดล้อม ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีการวางแผนในการเสริม
สร้างจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ให้แข็งแรงยิ่งขึ้น โดยบริษัทใช้กลยุทธ์
ในการดำาเนินธุรกิจ ดังนี้
บริษัทฯได้กำาหนดกลยุทธ์การสร้างความแตกต่างความโดด
เด่นในตัวผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation) บริษัทฯผลิตส
เกิร์ตรถยนต์จากไบโอพลาสติกรายแรกของประเทศ ผลิตภัณฑ์
ของบริษัทฯ มีคุณสมบัติที่แตกต่างจากคู่แข่งขัน คือ ผลิตภัณฑ์
พลาสติกมีความคงทน ความสวยงาม ขึ้นรูปได้ง่ายและสามารถ
ย่อยสลายได้ง่ายไม่ทิ้งสารตกค้างที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม
เหมือนกับพลาสติกที่ได้จากปิโตรเลียม ไบโอพลาสติกยังเป็นมิตร
ต่อสุขภาพของผู้บริโภคอีกด้วย คือจะไม่ปลดปล่อยสารที่เป็นพิษ
ต่อร่างกายซึ่งมักก่อให้เกิดมะเร็งในระยะยาว
บทที่ 4
แผนการดำา เนิน งานและแผนการผลิต
4.1 ข้อ มูล ธุร กิจ
ชื่อกิจการ
ที่อยู่/ที่ตั้งกิจการ

รูปแบบการดำาเนินการ
ของธุรกิจ
ทุนจดทะเบียน

ระยะเวลาดำาเนินการที่
ผ่านมา
หมายเลขทะเบียนการ

บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด
เลขที่ 11/1 ซ.สุขสว่างดี
ถ.ราชพฤกษ์ ข.บางพลับ 4
อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120
ดำาเนินธุรกิจผลิตสเกิร์ตสำาหรับรถ
มิตซูบีชิมิราจ
35,000,000.00 บาท แบ่งเป็น
ส่วนของผู้ถือหุ้น
25,000,000.00 บาท
และส่วนของเงินกู้ระยะยาว
10,000,000.00 บาท
เริ่มดำาเนินการ
024321550
ค้า

4.2 รายนามคณะกรรมการบริษ ัท ฯ
ลำา
ดับ

ชือ –นามสกุล
่

2.

นายพงษ์ชัย กฤต
วิโรจน์
นายวุฒิเดช ซุยซวง

3.

นายณรงค์ อุบลบาน

4.

นายภูเบก สิงห์โคตร

5.

นายเพิ่มศักดิ์ สุวะพันธ์

1.

ตำา แหน่ง
กรรมการผู้จัดการ
โรงงาน
รองกรรมการผู้จัดการ
ผู้จดการฝ่ายบุคคล,คลัง
ั
สินค้า
ผู้จดการฝ่ายการเงิน,การ
ั
ตลาด
ผู้จดการฝ่ายการ
ั
ผลิต,ซ่อมบำารุง

ตารางที่ 4.1 รายนามคณะกรรมการบริษัท

4.3 อำา นาจการลงนามผูก พัน บริษ ัท ของกรรมการ

อำานาจการลงนามผูกพันของบริษัทสยามไบโอพลาสติกขึ้น
อยู่กับ นายพงษ์ชัย กฤตวิโรจน์ กรรมการผู้จัดการบริษัท สยามไบ
โอพลาสติก เป็นผู้ตัดสิ้นใจแต่เพียงผู้เดียว

4.4 รายชื่อ ผู้ถ ือ หุ้น / หุ้น ส่ว น และสัด ส่ว นการถือ
ลำา
ชื่อ –นามสกุล
ดับ
1. นายพงษ์ชัย กฤต
วิโรจน์
2. นายวุฒิเดช ซุยซวง
3. นายณรงค์ อุบลบาน
4.
ครอง นายภูเบก สิงห์โคตร

จำา นว
นหุ้น
50,00
0
50,00
0
50,00
0
50,00

มูล ค่า เปอร์เ
หุ้น
ซนต์
5,000 20%
,000
5,000 20%
,000
5,000 20%
,000
5,000 20%
ตารางที่ 4.2 รายชื่อผู้ถือหุ้น / หุ้นส่วน และสัดส่วนการถือ
ครอง

4.5 ประวัต ิข องกรรมการหรือ ผู้บ ริห าร
4.5.1 ชื่อ -สกุล
นายพงษ์ชัย กฤตวิโรจน์
อายุ
25 ปี
ระดับ การศึก ษา
ปริญญาตรี
จาก
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปี พ.ศ.
2555
ประสบการณ์ก ารทำา งาน
บริษ ัท
CBMS.CO.LTD
ตำา แหน่ง TECHNICAL SERVICE
ปี พ.ศ.
2551
4.5.2 ชื่อ -สกุล
นายวุฒิเดช ซุยซวง
อายุ
24 ปี
ระดับ การศึก ษา
ปริญญาตรี
จาก
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปี พ.ศ.
2555
ประสบการณ์ก ารทำา งาน
บริษ ัท
ISUZU.CO.LTD
ตำา แหน่ง TECHNICAL MAINTENANCE
ปี พ.ศ.
2551
4.5.3 ชื่อ -สกุล
นายณรงค์ อุบลบาน
อายุ
24 ปี
ระดับ การศึก ษา
ปริญญาตรี
จาก
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปี พ.ศ.
2555
ประสบการณ์ก ารทำา งาน
บริษ ัท
ITTHIPORN IMPORT.CO>LTD
ตำา แหน่ง TECHNICAL MAINTENANCE
ปี พ.ศ.
2551
4.5.4 ชื่อ -สกุล
อายุ
ระดับ การศึก
จาก

นายภูเบก สิงห์โคตร
24 ปี
ปริญญาตรี
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปี พ.ศ.
2555
ประสบการณ์ก ารทำา งาน
บริษ ัท
ISUZU.CO.LTD
ตำา แหน่ง TECHNICAL MAINTENANCE
ปี พ.ศ.
2551
4.5.5 ชื่อ -สกุล
นายเพิ่มศักดิ์ สุวะพันธ์
อายุ
25 ปี
ระดับ การศึก
ปริญญาตรี
จาก
มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปี พ.ศ.
2555
ประสบการณ์ก ารทำา งาน
บริษ ัท
TOYOTA THAILAND.CO.LTD
ตำา แหน่ง TECHNICAL MAINTENANCE
ปี พ.ศ.
2551

4.6 แผนผัง องค์ก ร
รูปภาพที่ 4.1 แผนผังองค์การ

4.7 หน้า ที่ค วามรับ ผิด ชอบ และคุณ สมบัต ิข อง
บุค ลากรหลัก
4. ชื่อ -สกุล
7.
1
ตำา แหน่ง
หน้า ที่ค วาม /
รับ ผิด ชอบ

นายพงษ์ชัย กฤตวิโรจน์

4. ชื่อ -สกุล
7.
2
ตำา แหน่ง
หน้า ที่ค วามรับ
ผิด ชอบ

นายวุฒิเดช ซุยซวง

4. ชื่อ -สกุล
7.
3
ตำา แหน่ง
หน้า ที่ค วามรับ
ผิด ชอบ
การศึก ษา /
คุณ สมบัต ิ
อัต ราเงิน เดือ น

นายณรงค์ อุบลบาน

กรรมการผู้จัดการโรงงาน
รับผิดชอบด้านการบริหารติดตาม
สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจและ
สังคม
ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา
การศึก ษา /
คุณ สมบัต ิ
การจัดการอุตสาหกรรม
อัต ราเงิน เดือ น 40,000 บาท

รองกรรมการผู้จัดการ
ปฏิบัติงานที่ประธานกรรมการมอบ
หมายและบริหารงานทั้งหมดใน
บริษัท
การศึก ษา /
ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา
การจัดการอุตสาหกรรม
คุณ สมบัต ิ
อัต ราเงิน เดือ น 35,000 บาท

4.
7.
4

ผู้จัดการฝ่ายบุคคล,คลังสินค้า
การบริหารงานในด้านบุคคลและ
คลังสินค้า
ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา
การจัดการอุตสาหกรรม
30,000 บาท

ชื่อ -สกุล

นายภูเบก สิงห์โคตร

ตำา แหน่ง
หน้า ที่ค วามรับ

ผู้จัดการฝ่ายการเงิน,การตลาด
การบริหารงานในด้านการเงินและ
ผิด ชอบ
การศึก ษา /
คุณ สมบัต ิ
อัต ราเงิน เดือ น
4.7.5 ชื่อ -สกุล

การตลาด
ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา
การจัดการอุตสาหกรรม
30,000 บาท
นายเพิ่มศักดิ์ สุวะพันธ์

ตำา แหน่ง
หน้า ที่ค วามรับ
ผิด ชอบ
การศึก ษา /
คุณ สมบัต ิ
อัต ราเงิน เดือ น

ผู้จัดการฝ่ายการผลิต,ซ่อมบำารุง
การบริหารงานในด้านการผลิตและ
งานซ่อมบำารุง
ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา
การจัดการอุตสาหกรรม
30,000 บาท

4.8 แผนงานด้า นบุค ลากร และค่า ใช้จ ่า ยบุค ลากร
ของธุร กิจ
ลำา
ดับ

ฝ่า ยงาน

กรรมการผู้
จัดการโรงงาน
2. ฝ่ายบริหาร
รองกรรมการผู้
จัดการโรงงาน
3. ฝ่ายบุคคล,คลัง ผู้จัดการฝ่าย
สินค้า
บุคคล,คลัง
สินค้า
4. ฝ่ายการ
ผู้จัดการฝ่าย
เงิน,การตลาด การเงิน,การ
ตลาด
5. ฝ่ายการผลิต,
ผู้จัดการฝ่าย
ซ่อมบำารุง
การผลิต,
ซ่อมบำารุง
9. ฝ่ายบุคคล,คลัง พนักงานฝ่าย
สินค้า
บุคคล
10 ฝ่ายบุคคล,คลัง พนักงานฝ่าย
. สินค้า
คลังสินค้า
11 ฝ่ายการ
พนักงานฝ่าย
. เงิน,การตลาด การเงิน
12 ฝ่ายการ
พนักงานฝ่าย
. เงิน,การตลาด การตลาด
13 ฝ่ายการผลิต,
พนักงานฝ่าย
1.

ฝ่ายบริหาร

ตำา แหน่ง งาน

จำา นวน

1

อัต รา รวมเงิน
เงิน
เดือ น
เดือ น
40,000 40,000

1

35,000 35,000

1

30,000 30,000

1

30,000 30,000

1

30,000 30,000

6

10,000 60,000

6

11,000 66,000

6

10,000 60,000

6

10,000 60,000

40

9,500 380,00
ตารางที่ 4.3 แผนงานด้านบุคลากรและค่าใช้จ่ายบุคลากรขอ
งบริษัทฯ

4.9 วิส ัย ทัศ น์

บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด เป็นผู้ผลิตและจำาหน่ายส

เกิร์ตแต่งสำาหรับรถมิตซูบีชิมิราจ โดยใช้วัตถุดิบเป็นพลาสติกที่
สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติหรือไบโอพลาสติกเพื่อ
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค บริษัทมีการนำาเทคโนโลยีที่
ทันสมัยและเน้นการคิดค้นรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆเสมอเพื่อให้
ผลิตภัณฑ์สามารถก้าวสู่ระดับสากลและเป็นที่ต้องการของตลาด
มากขึ้น

4.10 พัน ธกิจ

4.10.1 บริษัทฯจะผลิตสินค้าที่สามารถย่อยสลายเองตาม
ธรรมชาติและไม่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
4.10.2 บริษัทฯจะผลิตและจำาหน่ายสเกิร์ตสำาหรับมิตซูบีชิ
มิราจที่มีคุณภาพสูงในราคาที่เหมาะสมให้แก่ลูกค้า
4.10.3 บริษัทฯ จะผลิตสินค้าตามกระบวนการผลิตที่ได้
มาตรฐานสากล
4.10.4 บริษัทฯ มีการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์อย่าง
ต่อเนืองเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า

4.11 เป้า หมายทางธุร กิจ

4.11.1 เป้า หมายระยะสั้น (1 ปี) (พ.ศ.2556)
ขยายสาขาจำาหน่ายสเกิร์ตรถยนต์เพิ่ม 4 สาขา ให้
ครอบคลุมพื้นที่ในกรุงเทพฯและปริมณฑล
4.11.2 เป้า หมายระยะกลาง (3 ปี) (พ.ศ.2556-2558)
1) รับสมัครพนักงานขายจำานวน 8 คน และพนักงาน
ฝ่ายผลิตจำานวน 20 คน
2) ขยายสาขาจำาหน่ายสเกิร์ตรถยนต์เพิ่ม 6 สาขา ให้
ครอบคลุมพื้นที่ในภาคกลาง
3) จัดซื้อเครื่องจักร, ติดตั้งเครื่องจักรและทดสอบ
เครื่องจักร
4) เพิ่มกำาลังการผลิต 20 %

4.11.3 เป้า หมายระยะยาว (5 ปี) (พ.ศ.2556-2560)
1) รับสมัครพักงานขายจำานวน 9 คน
2) ขยายสาขาจำาหน่ายสเกิร์ตรถยนต์เพิ่ม 7 สาขา ให้
ครอบคลุมทุกพื้นที่ประเทศไทย
3) กำาไรขั้นต้น (60%)

4.12 ปัจ จัย แห่ง ความสำา เร็จ

4.12.1 ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นที่ต้องการในปัจจุบันและ
อนาคตสูง เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถย่อยสลายได้ตาม
ธรรมชาติ ไม่ก่อให้เกิดมูลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
4.12.2 บริษัทฯ มีบุคลากรที่มีความสามารถในการออกแบบ
ผลิตภัณฑ์ใหม่
4.12.3 บริษัทฯ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศให้เกิด
ประโยชน์สูงสุดในการประกอบธุรกิจ
4.12.4 ผู้นำามีลักษณะที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีความ
สามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหา
4.12.5 มีการนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการดำาเนิน
งานในการผลิต
4.12.6 รู้ถึงคุณค่าของวัตถุดิบและใช้อย่างคุ้มค่าลดปริมาณ
ของเสีย
4.12.7 มีความซื้อตรงในการทำาธุรกิจและมีการบริหาร
จัดการเวลาที่ดี
4.12.8 มีระบบสาระสนเทศจัดการข้อมูล
4.12.9 การบริหารการจัดการมีการวางแผนในการดำาเนิน
งานที่มีคุณภาพ
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน
โครงงาน

More Related Content

Similar to โครงงาน

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
Kunyanut Muangkaew
 
กระถางจากขวดพลาสติก
กระถางจากขวดพลาสติกกระถางจากขวดพลาสติก
กระถางจากขวดพลาสติก
Kunyanut Muangkaew
 
สมุนไพรกำจัดปลวก
สมุนไพรกำจัดปลวกสมุนไพรกำจัดปลวก
สมุนไพรกำจัดปลวก
ZeeZa Blackslott
 
ธุรกิจกระเป๋าแบรนด์ Tostell
ธุรกิจกระเป๋าแบรนด์ Tostellธุรกิจกระเป๋าแบรนด์ Tostell
ธุรกิจกระเป๋าแบรนด์ Tostell
nuttapong sangwattanatakul
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
Wuttiphong Kompow
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
Wuttiphong Kompow
 

Similar to โครงงาน (6)

บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
กระถางจากขวดพลาสติก
กระถางจากขวดพลาสติกกระถางจากขวดพลาสติก
กระถางจากขวดพลาสติก
 
สมุนไพรกำจัดปลวก
สมุนไพรกำจัดปลวกสมุนไพรกำจัดปลวก
สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ธุรกิจกระเป๋าแบรนด์ Tostell
ธุรกิจกระเป๋าแบรนด์ Tostellธุรกิจกระเป๋าแบรนด์ Tostell
ธุรกิจกระเป๋าแบรนด์ Tostell
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 
โครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะโครงการของใช้จากขยะ
โครงการของใช้จากขยะ
 

โครงงาน

  • 1. บทที่ 1 การวิเ คราะห์ส ภาพแวดล้อ มโดยทัว ไปทาง ่ อุต สาหกรรม 1.1 ข้อ มูล ทั่ว ไปของธุร กิจ ผลิต ชิ้น ส่ว นยานยนต์ (ไบโอพลาสติก ) ในอดีตและปัจจุบันอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก ได้ผลิต ผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น กล่องบรรจุสินค้า กล่องบรรจุอาหาร ถ้วย จาน แก้วนำ้า ช้อนส้อมพลาสติก กระเป๋าเดินทาง เป็นต้น ผลิตภัณฑ์ทผลิตดังกล่าว เพื่ออำานวยความสะดวกในการใช้งาน ี่ และดำาเนินชีวิตประจำาวันของผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ทผลิตนั้น ตอบ ี่ สนองความต้องการของผู้บริโภคโดยทั่วไป สร้างความพึงพอใจ ให้กับผู้บริโภค ผลิตภัณฑ์ไบโอพลาสติกส่วนใหญ่มีราคาไม่แพง และผู้บริโภคสามารถซื้อผลิตภัณฑ์ได้ตามที่ต้องการ เช่น ร้านค้า ตามท้องตลาดทั่วไป ห้างสรรพสินค้าต่างๆ และปัจจุบันผลิตภัณฑ์ ไบโอพลาสติกกำาลังเป็นที่ต้องการมากขึ้น ตามความต้องการของ ผู้บริโภคที่ใช้ผลิตภัณฑ์ไบโอพลาสติก เกิดจากการขยายตัว ประชากรของประเทศเพิ่มขึ้น และนิยมหันมาใช้สินค้าและบริการ ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยลดภาวะโลกร้อน ซึ่งคิดเป็น 1015 % ของปริมาณความต้องการพลาสติกทั้งหมด หรือประมาณ 100,000 ตันต่อปี และเพื่อรองรับการจัดการด้านการรักษาสิ่ง แวดล้อมและนโยบายของภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีการส่งเสริม และสนับสนุนธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกตลอดมา ดังนั้น ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความพร้อมทั้งในด้านวัตถุดิบมวล ชีวภาพ เช่น ข้าวโพด ข้าวสาลี อ้อย มันสำาปะหลัง เป็นต้น จึงเป็น โอกาสที่ดีในการนำาวัตถุดิบชีวภาพดังกล่าวมาใช้ในกระบวนการ ผลิตผลิตภัณฑ์ต่างๆ เพื่อรักษาสิ่งแวดล้อมและยังเป็นการพัฒนา อุตสาหกรรมที่มีอยู่ให้มีศักยภาพมากยิ่งขึ้น รวมทั้งสามารถสร้าง ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ขึ้นมาและพัฒนาไปสู่ระดับโลก ไบโอพลาสติก หมายถึง พลาสติกที่มีคุณสมบัติย่อยสลาย ได้ง่ายตามธรรมชาติ เมื่อย่อยสลายหมดแล้วจะกลายเป็นสาร อินทรีย์ ก๊าซมีเทน และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็น สิ่งจำาเป็นในการเจริญเติบโตและดำารงชีวิตของพืช ได้แก่ ข้าวโพด ข้าวสาลี มันฝรั่ง มันสำาปะหลัง เป็นต้น และเป็นวัตถุดิบ
  • 2. ที่ใช้ในกระบวนการผลิตเป็นพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ เช่น ภาชนะใส่ขนมปัง เพื่อรักษาความสดใหม่ให้นานขึ้น ฟิล์มหุ้ม ให้อากาศผ่านได้และถาดใส่ผัก แผ่น ดีวีดี กระถางใส่ต้นไม้ย่อย สลายได้หลังการใช้งาน และอีกอย่างเป็นพลาสติกที่ถูกออกแบบ มา เพื่อใช้ในการผลิตและการประกอบรถยนต์ให้มีประสิทธิภาพ มากขึ้น ประเภทของพลาสติก ที่ใ ช้ใ นอุต สาหกรรมไบโอพลาสติก ชีว ภาพ เราสามารถแบ่งประเภทของเม็ดพลาสติกออกได้เป็น 2 กลุ่ม ใหญ่ ๆ ได้แก่ 1. เทอร์ม อพลาสติก (thermoplastics) คือ เป็นกลุ่ม พลาสติกชนิดที่ถูกความร้อนอุณหภูมิที่ 140 องศาเซลเซียส จะ หลอมตัวกลายเป็นของเหลวได้ พลาสติกกลุ่มนี้มีโครงสร้างเป็น สายยางสามารถนำากลับมาใช้งานได้ตลอด เช่น รูปภาพที่ 1.1 ลักษณะเม็ดพลาสติกโพลิธีน ที่มา : www.thai-supply.com 1.1 โพลิธ ีน (Polythene) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะ โดนเด่นมีเนื้ออ่อน สีขาวขุ่น และมีราคาไม่แพง ผลิตภัณฑ์ที่ทำา ด้วยโพลิธีน ได้แก่ ขวดใส่สารเคมี ขวดใส่นำ้า กล่องบรรจุสินค้า เครื่องเล่นของเด็ก เป็นต้น
  • 3. คลอไรด์ รูปภาพที่ 1.2 ลักษณะเม็ดพลาสติกโพลิไวนิล ที่มา : www.vcharkarn.com 1.2 โพลิไ วนิล คลอไรด์ (Polyvinyl Chloride) หรือ P.V.C. คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะคุณสมบัติพิเศษ มีเนื้อ แข็ง ทนทานต่อการขีดข่วนคงตัวไม่เสียรูปง่าย และเป็นฉนวน ไฟฟ้าที่ดีมาก ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากโพลิไวนิล คลอไรด์ ได้แก่ ฉนวนหุ้มสายไฟ เสื้อกันฝน กล่องเครื่องมือ กระเป๋า ปกแฟ้ม เอกสาร กล่องและตลับเครื่องสำาอาง เป็นต้น ลีน รูปภาพที่ 1.3 ลักษณะเม็ดพลาสติกโพลิสไต ที่มา : www.thai-supply.com 1.3 โพลิส ไตลีน (Polyethylene) คือ เป็นพลาสติกที่ มีลักษณะใสเหมือนแก้ว ไม่มีสีและสามารถย้อมสีได้ เพราะมี คุณสมบัติ ทน กรด ด่าง และเกลือ ละลายได้ดีในเบนซิน และตัว ทำาละลายพวกออแกนนิคมผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากโพลิสไตลีน ได้แก่ ไม้บรรทัด แปรงสีฟัน ถ้วยจาน แก้วนำ้า ช้อนส้อมที่ใช้แล้วทิ้ง กล่องบรรจุอาหาร และผลไม้ เป็นต้น ไปลีน รูปภาพที่ 1.4 ลักษณะเม็ดพลาสติกโพลีโปร ที่มา : www.plastic.oie.go.th
  • 4. 1.4 โพลีโ ปรไปลีน (Polypropylene) คือ เป็น พลาสติกที่ทำาจากก๊าซโปรเทน ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากโพลีโปรไปลีน ได้แก่ ใช้ทำาถุงพลาสติกร้อน เชือกมัดของ กล่องแบตเตอรี่ รูปภาพที่ 1.5 ลักษณะเม็ดพลาสติกไนล่อน ที่มา : www.thai-plastic.com 1.5 ไนล่อ น (Nylon) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะทน ต่อ กรดด่าง กรดอินทรีย์ และสารละลายอินทรีย์ได้ดี แต่ไม่ทนต่อ กรดแสงแดด และความร้อน ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากไนล่อน ได้แก่ ผ้า ร่ม ผ้าชนิดต่างๆ โดยผสมกับฝ้าย อวน ใบเรือ เชือก เป็นต้น 2. เทอร์ม อเซตติง พลาสติก (thermosetting plastic) คือ เป็นพลาสติกที่เป็นผลิตภัณฑ์แล้ว ไม่สามารถจะนำาไปหลอม นำากลับมาใช้ใหม่ได้อีก เนื่องจากในขั้นตอนที่ทำาเป็นผลิตภัณฑ์ นั้นจะมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีเกิดขึ้น โมเลกุลพลาสติกยึดเชื่อม ต่อกันแบบเชื่อมขวาง การใช้ความร้อนไม่สามารถ ทำาให้ออนตัว ่ ได้อีกและเมื่อได้รับความร้อนมากๆจะไหม้เกรียมและแตกออก รูปภาพที่ 1.6 ลักษณะเม็ดพลาสติกฟีลโนล เฟอร์มาดิไฮน์ เรซิน ที่มา : www.weloveshopping.com 2.1 ฟีล โนล เฟอร์ม าดิไ ฮน์ เรซิน (Phenol Formaldyhile resin) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะเป็นสีขาว ขุ่นผิวมีความลื่นมัน และคุณสมบัติดีเยี่ยมในด้านความทนทานต่อ การกัดกร่อนของสารเคมี และทนความร้อนสูงที่
  • 5. อุณหภูมิ 300 องศาเซลเซียส เนื่องจากทนความร้อนสูงจึงทำาให้ กระบวนการขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์นั้น ต้องใช้ความร้อนสูงและมี ความยุ่งยากกว่าพลาสติกชนิดอื่นผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากฟีลโนล เฟอร์มาดิไฮน์ เรซิน ได้แก่ ฉนวนไฟฟ้า ตู้ วิทยุ อุปกรณ์ไฟฟ้า อื่นๆ มาดิไฮน์ เรซิน รูปภาพที่ 1.7 ลักษณะเม็ดพลาสติกยูเรีย เฟอร์ ที่มา : www.gp-plast.com 2.2 ยูเ รีย เฟอร์ม าดิไ ฮน์ เรซิน (Urea Formaldyhile Resin) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะเป็นสีขาว ใสสามารถย้อมเป็นสีต่างๆ ได้ และเป็นพลาสติกที่ไม่ทนต่อกรด ด่าง และแรงกระแทก ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากยูเรีย เฟอร์มาดิไฮน์ เรซิน ได้แก่ ทำาปุ่มจับด้ามเครื่องมือ ด้ามเครื่องมือช่าง หูหม้อ หูก ระทะ ด้ามมีด เป็นต้น ฟอร์มาดิไฮด์ เรซิน รูปภาพที่ 1.8 ลักษณะเม็ดพลาสติกเมลามีน ที่มา : www.gp-plast.com 2.3 เมลามีน ฟอร์ม าดิไ ฮด์ เรซิน (Melamine Formaldyhile Resin) คือ เป็นพลาสติกที่มีลักษณะเป็นเนื้อ แข็งมาก ทนทานต่อการขีดข่วน เหนียวไม่แตกง่าย และเป็น พลาสติกอย่างดีมีราคาแพง ทนความร้อนสูงที่อุณหภูมิ 250 องศา
  • 6. เซลเซียส ผลิตภัณฑ์ที่ทำาจากเมลามีน ฟอร์มาดิไฮด์ เรซิน ได้แก่ จาน ชาม ถ้วยกาแฟ เครื่องใช้ภายในครัว เครื่องประดับ เป็นต้น 1.2 ลัก ษณะของผลิต ภัณ ฑ์ท ี่ธ ุร กิจ สนใจทำา รูปภาพที่ 1.9 ลักษณะชิ้นส่วนรถยนต์ที่ผลิตจากพลาสติก (ไบโอพลาสติก) ที่มา : www.rtnmotor.co.th รูปภาพที่ 1.10 ลักษณะชิ้นส่วนรถยนต์ที่ผลิตจากไบโอ พลาสติก (สเกิร์ตด้านหน้า) ที่มา : www.rtnmotor.co.th
  • 7. รูปภาพที่ 1.11 ลักษณะชิ้นส่วนรถยนต์ที่ผลิตจากไบโอ พลาสติก (สเกิร์ตด้านข้าง) ที่มา : www.rtnmotor.co.th รูปภาพที่ 1.12 ลักษณะชิ้นส่วนรถยนต์ที่ผลิตจากไบโอ พลาสติก (สเกิร์ตด้านหลัง) ที่มา : www.rtnmotor.co.th 1.3 การวิเ คราะห์แ นวโน้น การเจริญ เติบ โตของ ธุร กิจ ผลิต ชิ้น ส่ว นยานยนต์ (ชิน ส่ว นผลิต จากไบโอ ้ พลาสติก ) ในปัจ จุบ ัน ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ที่ใช้ไบโอพลาสติก (สเกิร์ต รถยนต์) ปัจจุบันมีการขยายตัวผลิตภัณฑ์พลาสติกจำานวนเพิ่มขึ้น อย่างต่อเนื่อง เกิดจากผู้บริโภคต้องการใช้รถยนต์เป็นยานพาหนะ
  • 8. ในชีวิตประจำาวัน เพื่ออำานวยความสะดวกและรวดเร็วในการเดิน ทาง ส่งผลให้ธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์มากขึ้น ทำาให้ ต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้น และเป็นธุรกิจที่น่า สนใจน่าลงทุนอีกธุรกิจหนึ่ง ตารางที่ 1.1 ตารางแสดงปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอ พลาสติก) ในปัจจุบัน (พ.ศ.2549 - พ.ศ.2553) พ.ศ. 2549 2550 2551 2552 2553 ปริม าณความต้อ งการผลิต ภัณ ฑ์ไ บโอพลาสติก (หน่ว ย : ตัน ) 300,000 400,000 500,000 600,000 700,000 ที่มา : www.plastic.oie.go.th รูปภาพที่ 1.13 กราฟแสดงปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบ โอพลาสติก) ในปัจจุบัน (พ.ศ.2549 - พ.ศ.2553) หน่ว ย : ตัน 1,000,0 00 800,000 600,000 ปริมาณความ ต้องการ Vs,djkrhoxhg 400,000 ที 200,000 ่ 2550 2551 0 2549 2552 2553 ที่มา : www.plastic.oie.go.th พ.ศ. จากกราฟจะเห็นได้ว่า ปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอ พลาสติก) มีทิศทางที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เป็นผลมาจากธุรกิจ อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์เพิ่มขึ้น และการขยายตัวเศรษฐกิจใน ปัจจุบันส่งผลให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) ตั้งแต่ปี 2549 – ปี 2553 อัตราความต้องการเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ
  • 9. 100,000 ตัน คาดว่าแนวโน้นการเจริญเติบโตธุรกิจอุตสาหกรรม ยานยนต์มีการขยายตัวเพิ่มขึ้น ทำาให้มีความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้นอีกเฉลี่ยปีละ 200,000 ตัน จาก เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นผลมาจากจำานวนผู้ประกอบการ อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์มีความต้องการมากขึ้น ทำาให้ความ ต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้นตามลำาดับ 1.4 การวิเ คราะห์แ นวโน้น การเจริญ เติบ โตของ ธุร กิจ ผลิต ชิ้น ส่ว นยานยนต์ (ชิน ส่ว นผลิต จากไบโอ ้ พลาสติก ) ในอนาคต ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (ไบโอพลาสติก) อนาคตคาดว่า มี การขยายตัวผลิตภัณฑ์พลาสติกจำานวนเพิ่มมากขึ้น เกิดจาก ประชากรของประเทศที่เพิ่มขึ้นและผู้บริโภคส่วนใหญ่ต้องการใช้ รถยนต์เป็นยานพาหนะในชีวิตประจำาวัน เพื่ออำานวยความสะดวก และรวดเร็วในการเดินทาง จากเหตุการณ์ดังกล่าว ส่งผลให้ ธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์เพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองความ ต้องการของผู้บริโภค ทำาให้ต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) มากขึ้น ดังต่อไปนี้ ตารางที่ 1.2 ตารางแสดงปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอ พลาสติก) ในอนาคต (พ.ศ.2554 - พ.ศ.2558) พ.ศ. 2554 2555 2556 2557 2558 ปริม าณความต้อ งการผลิต ภัณ ฑ์ไ บโอพลาสติก (หน่ว ย : ตัน ) 800,000 1,000,000 1,200,000 1,500,000 2,000,000 ที่มา : www.plastic.oie.go.th รูปภาพที่ 1.14 กราฟแสดงปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบ โอพลาสติก) ในอนาคต (พ.ศ.2554 - พ.ศ.2558) หน่ว ย : ตัน
  • 10. 2,500,0 00 2,000,0 00 ต้องการ ปริมาณความ 1,500,0 00 พ.ศ. 1,000,0 2554 2555 2556 00 2557 2558 ที่มา : www.plastic.oie.go.th 500,00 จากกราฟจะเห็นได้ว่า ปริมาณความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอ พลาสติก) มีทิศทางที่เพิ่มขึ้น ทั้งนี้เป็นผลมาจากธุรกิจ อุตสาหกรรมผลิตรถยนต์เพิ่มขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของ ผู้บริโภคในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงการขยายตัวเศรษฐกิจ ในอนาคต ส่งผลให้ความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) ตั้งแต่ปี 2554 – ปี 2558 เพิ่มขึ้นตามลำาดับ 1.5 ความน่า สนใจในธุร กิจ ผลิต ชิ้น ส่ว นยานยนต์ (ไบโอพลาสติก ) จากการวิเคราะห์ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (ไบโอพลาสติก) พบว่า มีทศทางความต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้น ิ อย่างต่อเนื่อง เกิดจากประชากรของประเทศเพิ่มขึ้นและการขยาย ตัวของเศรษฐกิจโลก ส่งผลให้ผู้บริโภคต้องการใช้รถยนต์เป็น ยานพาหนะในชีวิตประจำาวันเพิ่มขึ้น เพื่ออำานวยความสะดวกและ รวดเร็วในการเดินทาง ส่งผลให้ธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์ มากขึ้น เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค ทำาให้ต้องการ ผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้น เพื่อใช้ในการผลิตและ ประกอบชิ้นส่วนต่างๆ ของรถยนต์ ทั้งภายในและภายนอก ตลอด จนบริเวณห้องเครื่อง เช่น อุปกรณ์เสริมสเกิร์ตรถยนต์ ฝาครอบล้อ ยางปัดนำ้าฝนรถยนต์ เป็นต้น จึงทำาให้ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ (ไบโอพลาสติก) มีแนวโน้มการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง เป็น ธุรกิจที่น่าสนใจในการลงทุนอีกธุรกิจหนึ่ง
  • 11. บทที่ 2 การวิเ คราะห์ส ภาวะการแข่ง ขัน ทางการตลาด การวิเ คราะห์ป ัจ จัย ภายในและภายนอกของธุร กิจ (SWOT Analysis) SWOT เป็นคำาย่อมาจาก Strengths , Weaknesses , Opportunities and Threats จุด แข็ง (Strengths) คือ เป็นการมองด้านความสามารถ และสถานการณ์ภายในองค์กรที่เป็นด้านบวกและองศ์กรสามารถ นำามาใช้ประโยชน์ในการทำางานเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ด้าน การดำาเนินงานในองค์กร จุด อ่อ น (Weaknesses) คือ เป็นการมองสถานการณ์ ภายในองค์กรที่เป็นด้านลบ เช่น ด้านความสามารถในการดำาเนิน งานขององค์กรไม่ค่อยเป็นที่พึงพอใจซึ่งองค์กรไม่สามารถนำามา ใช้เพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ด้านการดำาเนินงานภายใยองค์กรทำาได้ โอกาส (Opportunities) คือ เป็นปัจจัยภายนอกที่เอื้อ อำานวยต่อการทำางานขององค์กรให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ภาย
  • 12. ใต้สภาพแวดล้อมภายนอก การวิเคราะห์ดังกล่าวมีประโยชน์ต่อ การดำาเนินงานขององค์กรเป็นอย่างมากเป็นปัจจัยภายนอกที่ส่ง ผลด้านบวกต่อธุรกิจ อุป สรรค (Threats) คือ เป็นปัจจัยภายนอกที่ไม่เอื้อ อำานวยต่อการทำางานขององค์กรให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ภาย ใต้สภาพแวดล้อมภายนอก การวิเคราะห์ดังกล่าวทำาให้องค์กร ทราบถึงสิ่งที่เป็นผลเสียที่มีผลกระทบด้านลบต่อการดำาเนินงาน ขององค์กรเป็นอย่างมากต่อธุรกิจ 2.1 การวิเ คราะห์ป ัจ จัย ภายในและภายนอกของ ธุร กิจ (บริษ ัท สยามไบโอพลาสติก จำา กัด ) (SWOT Analysis) จุด แข็ง (Strengths) 1. ผู้บริหารของบริษัทฯ ได้มีการกำาหนดนโยบายที่ชัดเจน ทำาให้พนักงานทุกฝ่ายสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว คือ สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อหมดอายุการใช้ งาน 3. ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นผลิตภัณฑ์ที่อนุรักษ์สิ่ง แวดล้อม (ISO 14001) และการจัดการสิ่งแวดล้อม (ISO 18001) 4. บริษัทฯ มุ่งเน้นความพึงพอใจของลูกค้าเป็นสำาคัญ โดย สินค้าที่ผลิตออกมาสามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ เป็นอย่างดี 5. บริษัทฯ นำาเทคนิคด้านการออกแบบและวิจัยผลิตภัณฑ์ที่ ทันสมัย โดยนำาเอาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยในกระบวนการ ผลิต 6. บริษัทฯ สามารถผลิตสเกิร์ตรถยนต์มิตซูบีชิจากไบโอ พลาสติก ด้วยเครื่องมือเครื่องจักรและกระบวนการที่ทันสมัย 7. ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ มีความแข็งแรง คงทน ขึ้นรูปได้ ง่าย จุด อ่อ น (Weaknesses) 1. บริษัทฯ เปิดกิจการใหม่และผลิตภัณฑ์ใหม่ ยังไม่เป็นที่ รู้จักของผู้บริโภค
  • 13. 2. บริษัทฯ ขาดบุคลากรที่มีความรู้ความชำานาญ ด้านการ ใช้เครื่องมือเครื่องจักรในกระบวนการผลิต 3. ทางบริษัทฯ ยังคาดการณ์แนวโน้นการวางแผนการผลิต และกำาลังการผลิตไม่สมำ่าเสมอ (เพราะความต้องการตลาดไม่คงที่) 4. ผู้บริหารของบริษัทฯ ยังขาดประสบการณ์ด้านการ บริหารการจัดการ เนื่องจากเป็นธุรกิจใหม่ทำาให้ธุรกิจเติบโตช้า 5. บริษัทฯ ยังขาดนักวางแผนทางด้านการตลาดที่มี ประสิทธิภาพ ส่งผลให้ยอดขายตำ่ากว่ามาตรฐานที่วางไว้ โอกาส (Opportunities) 1. รัฐบาลมีการส่งเสริมและสนับสนุนทางด้านเงินทุนและ ให้การสนับสนุนในธุรกิจอุตสาหกรรมผลิตพลาสติกชีวภาพ เช่น โครงการนวัตกรรมเชิงยุทธศาสตร์ โครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์ พลาสติกชีวภาพ 2. ปัจจุบันอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์จากพลาสติก (ไบโอพลาสติก) ยังมีคู่แข่งขันน้อยราย ทำาให้บริษัทฯ มีความ เจริญเติบโตสูงขึ้น 3. การขยายตัวด้านเศรษฐกิจในปัจจุบัน ส่งผลให้ผู้บริโภคมี ความต้องการใช้รถยนต์เพิ่มขึ้น ทำาให้ธุรกิจผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ต้องการผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) เพิ่มขึ้น 4. ไบโอพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์ที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่มี คุณสมบัติสามารถย่อยสลายเองได้ เมื่อหมดอายุการใช้งานและผู้ บริโภคชั้นสูงกำาลังให้ความสนใจ 5. ไบโอพลาสติกชีวภาพเป็นผลิตภัณฑ์ที่ยอมรับของผู้ บริโภคในปัจจุบัน ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ส่งผลให้อุตสาห กรรมไบโอพลาสติกมีความเจริญเติบโตเพิ่มขึ้น อุป สรรค (Threat) 1. เนื่องจากภาครัฐบาลมีการใช้มาตรการนโยบายค่าจ้าง แรงงานขั้นตำ่าวันละ 300 บาท/วัน ส่งผลทำาให้ต้นทุนในการผลิต สินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น 2. จากสภาวะราคานำ้ามันที่ปรับตัวอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ ต้นทุนการขนส่งสินค้าของธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น
  • 14. 3. สถานการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจภายในประเทศที่ ไม่แน่นอน ส่งผลให้นักลงทุนในอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้น ส่วนยานยนต์เกิดความไม่มั่นใจในการลงทุนธุรกิจ 4. ผู้บริโภคไม่เชื่อมั่นในผลิตภัณฑ์สเกิร์ตรถยนต์ ที่ผลิต จากไบโอพลาสติกชีวภาพ เกี่ยวกับด้านความคงทนและอายุการ ใช้งานของผลิตภัณฑ์ 2.2 การวิเ คราะห์ป ัจ จัย ภายในและภายนอกของ ธุร กิจ คู่แ ข่ง ขัน (บริษ ัท บางกอกโพลีเ อส เตอร์ จำา กัด ) ( SWOT Analysis) จุด แข็ง (Strengths) 1. บริษัทฯ มีเทคโนโลยี เครื่องมือเครื่องจักรที่ทันสมัยใน กระบวนการผลิตและมีการกระจ่ายสินค้าที่มีประสิทธิภาพสูง 2. ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นที่รู้จักและสินค้ามีคุณภาพดี ได้รับการยอมรับจากกลุ่มผู้ซื้อผลิตภัณฑ์ 3. บริษัทฯ มีเงินทุนหมุนเวียนภายในดี ทำาให้สามารถจัดซื้อ ราคาวัตถุดิบในปริมาณที่มากขึ้นจึงได้ราคาที่ถูกกว่าผู้ผลิตรายอื่น 4. บริษัทฯ ตั้งอยู่ในแหล่งชุมชนทำาให้ผู้บริโภคมีความ สะดวกในการซื้อสินค้า 5. บริษัทฯ เน้นคุณภาพของผลิตภัณฑ์ที่ดีที่สุดและการให้ บริการเต็มรูปแบบเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ สร้างความพึงพอใจของ ลูกค้า จุด อ่อ น (Weaknesses) 1. บริษัทฯ ตั้งอยู่ในจังหวัดระยอง ต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่ม มากขึ้นในการขนส่งสินค้าไปยังผู้สั่งซื้อที่อยู่ไกล 2. บริษัทฯ ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาวัตถุดิบสูงขึ้น เนื่องจากบริษัทฯ มีการสั่งซื้อวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตมาเป็น จำานวนมาก 3. บริษัทฯ ยังขาดแคลนแรงงานที่มีความรู้ด้านการวางแผน การผลิต ส่งผลให้กำาลังการผลิตยังไม่เต็มประสิทธิภาพเท่าที่ควร 4. บริษัทฯ ยังขาดบุคลากรที่มีความรู้ความชำานาญ ด้านการ ใช้เครื่องจักรอุตสาหกรรมในกระบวนการผลิต โอกาส (Opportunities)
  • 15. 1. รัฐบาลมีการส่งเสริมและสนับสนุนด้านเงินลงทุนของ ธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกมากขึ้น เกิดจากผู้บริโภคมีความ ต้องการใช้ผลิตภัณฑ์พลาสติกเพิ่มขึ้น 2. ปัจจุบันอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์จากไบโอ พลาสติก ยังมีคู่แข่งขันน้อยราย ส่ง ผลให้บริษัทฯ เจริญเติบโต ก้าวหน้า 3. ในปัจจุบันมีการขยายตัวทางด้านเศรษฐกิจ ส่งผลกระทบ ให้อัตราการเจริญเติบโตของธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกสูง ขึ้น 4. ไบโอพลาสติกชีวภาพเป็นผลิตภัณฑ์ที่อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่มีคุณสมบัติสามารถย่อยสลายเองได้ เมื่อหมดอายุการใช้งานที่ นักธุรกิจให้ความสนใจ อุป สรรค (Threats) 1. เนื่องจากภาครัฐบาลได้กำาหนดนโยบายค่าจ้างแรงงาน ขั้นตำ่าวันละ 300 บาท/วัน ส่งผลให้ต้นทุนการผลิตของธุรกิจเพิ่ม สูงขึ้นจากเดิม 2. จากสภาวะราคานำ้ามันที่ปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่ง ผลให้ต้นทุนการขนส่งสินค้าของธุรกิจเพิ่มสูงขึ้น 3. สภาวะทางเศรษฐกิจและการเมืองภายในประเทศ ส่งผล ให้ความเชื่อมั่นในกาลงทุนของนักธุรกิจน้อยลง 4. ปัจจุบันจำานวนคู่แข่งขันในธุรกิจมีแนวโน้นที่เพิ่มขึ้น ส่ง ผลให้ธุรกิจจำาหน่ายสินค้าไม่ได้ตามเป้าหมาย ทำาให้ยอดขายและ กำาไรกลับสู่ธุรกิจน้อยลง 2.3 การวิเ คราะห์ส ภาพแวดล้อ มภายใน อุต สาหกรรม (Five Force Model) การวิเ คราะห์แ รงผลัก ดัน 5 ประการ (Five Force Model) คือ การวิเคราะห์การแข่งขันภายในอุตสาหกรรม ประเภทเดียวกัน โดยนำาปัจจัยทั้ง 5 ประการ มาพิจารณาและ กำาหนดความรุนแรงด้านการแข่งขันภายในอุตสาหกรรม เพื่อวัด ความสามารถหรือศักยภาพในการทำากำาไรของธุรกิจดังกล่าวเรา สามารถอธิบายได้ ดังนี้
  • 16. ความยากง่า ยใน การเข้า มาของคู่แ ข่ง ขัน รายใหม่ (The Threat of อำา นาจต่อ รอง ของผู้ซ ื้อ (Bargaining Power of Buyers) ความรุน แรง ภายใน อุต สาหกรรม (Intensity of Rivalry Among อำา นาจต่อ รองของ ผู้ข ายปัจ จัย การผลิต (Bargaining Power of การคุก คามของ สิน ค้า ทดแทน (Threat Substitute of Products or Model) รูปภาพที่ 2.1 แสดงการวิเคราะห์ ( Five Force ความรุน แรงภายในอุต สาหกรรม (Intensity of Rivalry Among Competing) จากการพิจารณาคู่แข่งขันภายในอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก พบว่า สภาพการแข่งขันค่อนข้างสูง เนื่องจากปัจจุบันภาครัฐและ ภาคเอกชน ให้การส่งเสริมและสนับสนุนธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอ พลาสติกมาอย่างต่อเนื่อง จนเป็นที่ยอมรับกันว่าในประเทศไทยมี ความสามารถทางด้านการผลิตไบโอพลาสติกชีวภาพสูงสุดใน อาเซียน มีการนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัยเข้ามาใช้ในการออกแบบ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องขึ้นรูปพลาสติก ในกระบวนการ ผลิตให้มีความเร็วและตัวผลิตภัณฑ์ (ไบโอพลาสติก) ได้รับการ ตอบรับจากกลุ่มลูกค้าได้ดี และสามารถสร้างความพึงพอใจให้ ลูกค้าอย่างมาก ทำาให้ผู้ประกอบการรายอื่นสนใจที่จะเข้ามาลงทุน ในธุรกิจดังกล่าว ดังนั้น เพื่อให้ธุรกิจสามารถอยู่ได้อย่างยั่งยืน ภายใต้สภาพการแข่งขันธุรกิจที่รุนแรง ผู้ประกอบการควรพัฒนา
  • 17. สินค้าและออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีความทันสมัยอย่างต่อเนื่อง เพื่อ เพิ่มศักยภาพให้กับธุรกิจให้มีความเข้มแข็งมากยิ่งขึ้น คว ามย าก ง่า ย ใน ก า ร เ ข้ า ม า ข อ ง คู่แ ข่ง ขัน ร า ย ใ ห ม่ (The Threat of the Entry New Competitors) ธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก เป็นธุรกิจที่ได้รับความนิยม ในปัจจุบัน และความสนใจจากผู้ประกอบการรายใหม่และนัก ลงทุนต่างประเทศที่เข้ามาลงทุน นอกจากนี้ได้รับการส่งเสริมและ สนับสนุนจากภาครัฐและภาคเอกชน ส่งผลให้ธุรกิจมีแนวโน้มการ เจริญเติบโตอย่างต่อเนื่อง ธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก ต้อง ใช้เงินลงทุนที่สูง และสร้างผลิตภัณฑ์ให้เป็นที่ต้องการของกลุ่มผู้ ซื้อและผู้บริโภคซึ่งต้องใช้เวลา Brand สินค้าเป็นส่วนหนึ่งที่ทำาให้ สินค้าเป็นที่ยอมรับและเป็นที่รู้จักของผู้บริโภค ดังนั้น กระจาย สินค้าต้องดีและครอบคลุมทุกพื้นที่ เพื่อตอบสนองความต้องการ ของกลุ่มผู้ซื้อและผู้บริโภค การเข้ามาของผู้ประกอบการรายใหม่มี น้อยรายเพราะต้องใช้เงินลงทุนสูง และต้องหาช่องทางการจัด จำาหน่ายสินค้าออกสู่ตลาดโลก อำา นาจต่อ รองของผู้ข ายปัจ จัย การผลิต (Bargaining Power of Suppliers) การดำาเนินธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก อำานาจต่อรอง ของ Supplier มีค่อนข้างมาก เนื่องจากผู้ขายปัจจัยการผลิต วัตถุดิบน้อยราย ส่งผลให้อำานาจต่อรองผู้ขายปัจจัยการผลิตน้อย ลง ทำาให้ราคาซื้อวัตถุดิบหลักที่ใช้ในการผลิตราคาค่อนข้างแพง ผู้ประกอบการในธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอพลาสติก จึงหลีกเลี่ยง ปัญหาดังกล่าวไม่ได้ (ต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้น) และในสภาวะ เศรษฐกิจทั้งภายในและต่างประเทศที่ไม่แน่นอน ส่งผลกระทบให้ นักลงทุนอุตสาหกรรมยานยนต์และชิ้นส่วนยานยนต์ เกิดความไม่ มั่นใจในการลงทุนของธุรกิจ แต่ทางธุรกิจได้แก้ไขปัญหาดังกล่าว โดยผู้ประกอบการธุรกิจต้องจับมือกับผู้ขายปัจจัยการผลิต (พันธมิตรทางการค้า) เพื่อลดอำานาจการต่อรองของผู้ขายปัจจัย การผลิตให้น้อยลง และกำาหนดราคาวัตถุดิบที่เหมาะสมให้ สอดคล้องกับวัตถุดิบที่จำาหน่าย เพื่อสร้างความเข็มแข็งในการ ประกอบธุรกิจของผู้ประกอบการทุกรายในอุตสาหกรรมดังกล่าว และส่งผลในด้านบวกทำาให้ลดต้นทุนการผลิตได้กำาไรกลับสู่ธุรกิจ มากขึ้น
  • 18. อำา นาจต่อ รองของผู้ซ ื้อ (Bargaining Power of Buyers) เนื่องจากสภาพการแข่งขันทางธุรกิจที่สูง ทำาให้ลูกค้าสามารถ ต่อรองสินค้ามีราคาที่ตำ่ามากขึ้น ทั้งนี้เป็นเพราะผลิตภัณฑ์ที่ผลิต สามารถทดแทนกันได้ และมีคุณภาพสินค้าที่ใกล้เคียงกัน ถ้าหาก ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมไบโอพลาสติกเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้ผู้ ซื้อสามารถเปรียบเทียบราคาสินค้าของผู้จำาหน่ายสินค้าแต่ละราย ได้ ขณะเดียวกันผู้ซื้ออาจหันไปซื้อสินค้าของผู้จำาหน่ายสินค้าราย อื่นที่มีราคาถูกกว่า ดังนั้นส่งผลกระทบต่อธุรกิจอุตสาหกรรมไบโอ พลาสติก ทำาให้ยอดขายและกำาไรของธุรกิจน้อยลง อย่างไรก็ตาม ผู้ซื้อสินค้าที่ต้องการด้านรูปลักษณ์สวยงามมีคุณภาพดีและ เทคโนโลยีที่ทันสมัยแล้ว อำานาจต่อรองก็จะน้อยลง การคุก คามของสิน ค้า ทดแทน (Threat Substitute of Products or Services) ผลิตภัณฑ์สเกิร์ตรถยนต์มิตซูบีชิที่ผลิตจากพลาสติก ABS (acrylonitrile butadiene styrene) เป็นสินค้าทดแทนที่ สามารถนำาไปใช้ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค แทนสินค้า หรือบริการหลักที่ผู้บริโภคต้องการอันดับแรกได้เหมือนกัน ซึ่ง สินค้าที่นำามาทดแทนดังกล่าว จะตอบสนองความต้องการได้อย่าง สมบูรณ์หรือใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ชนิดแรกที่เราต้องการมาก ที่สุด เหตุการณ์ดังกล่าวส่งผลให้การดำาเนินธุรกิจประสบปัญหา และอุปสรรค คือ ผู้ประกอบการรายอื่นสามารถผลิตสินค้าหรือ สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ที่มีลักษณะรูปร่างคล้ายคลึงกันกับผลิตภัณฑ์ สเกิร์ตรถยนต์ ผู้บริโภคจึงหันไปเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ดังกล่าว ที่มี คุณภาพใกล้เคียงกับผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ทำาให้การดำาเนิน ธุรกิจถดถอย เนื่องจากปริมาณการจำาหน่ายสินค้ายอดขายรายได้ ลดลง รวมถึงกำาไรของธุรกิจมีทิศทางลดลงอย่างเห็นได้ชัด
  • 19. บทที่ 3 แผนกลยุท ธ์ สเกิร์ตรถยนต์เป็นอุปกรณ์เสริมเพื่อความสวยงาม สเกิร์ต รถยนต์โดยทั่วไปผลิตจากพลาสติกประเภท ABS (Acrylonitrile-Butadiene-Styrene) ที่มีคุณสมบัติคือ มีความ แข็งแรง คงทน สวยงาม และขึ้นรูปง่าย แต่มีขอเสียคือ ราคา ้ พลาสติก ABS สูง ดังนั้นเพื่อสร้างความแตกต่างในด้านราคา บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด ได้ทำาการผลิตสเกิร์ตรถยนต์ จากไบโอพลาสติกที่ราคาตำ่ากว่าคู่แข่งขันและมีคุณสมบัติไม่แตก ต่างกันคือ มีความแข็งแรง คงทน ขึนรูปง่ายและสามารถย่อย ้ สลายได้เองตามธรรมชาติเมื่อหมดอายุการใช้งาน เพื่อจำาหน่าย ให้กับลูกค้าในประเทศ ตามแนวโน้มความต้องการของลูกค้าที่ นิยมการใช้รถยนต์เป็นยานพาหนะ ธุรกิจผลิตสเกิร์ตรถยนต์เป็น ธุรกิจที่ทำากำาไรได้ดี จึงทำาให้เกิดแรงจูงใจในการประกอบธุรกิจ ผลิตสเกิร์ตรถยนต์ ดังนั้นการทำาธุรกิจของบริษัทฯ มุ่งเน้นการ เลือกตลาดลูกค้าในแต่ละกลุ่มโดยบริษัทฯกำาหนดกลุ่มเป้าหมาย และกลยุทธ์ของบริษัทฯ ดังนี้
  • 20. 3.1 การแบ่ง ส่ว นตลาด การเลือ กตลาดเป้า หมาย และการกำา หนดตำา แหน่ง ผลิต ภัณ ฑ์ (STP Marketing) บริษัทฯได้ทำาการผลิตสเกิร์ตรถยนต์เพื่อตอบสนองความ ต้องการของลูกค้า บริษัทฯจึงใช้กลยุทธ์ในการแบ่งส่วนตลาด ดังนี้ 3.1.1 การแบ่ง ส่ว นตลาด (Maeketing Segmentation) : S 3.1.1.1 การแบ่ง ตลาดตามลัก ษณะทางภูม ิศ าสตร์ (Geographic Segmentation) ภูม ิภ าค ภาคใต้ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ กรุงเทพฯและปริมณฑล 3.1.1.2 ลัก ษณะการประกอบอาชีพ (Occupation Segmentation) ประเภทการประกอบอาชีพ รถยนต์ ประเภทรถยนต์นั่ง ประเภทรถยนต์โดยสาร ประเภทรถยนต์บรรทุก ประเภทรถยนต์ลากจูง ประเภทรถพ่วง ประเภทรถจักรยานยนต์ ประเภทรถยนต์นั่งรับจ้างสาธารณะ ประเภทรถยนต์เบ็ดเตล็ด 3.1.1.3 พฤติก รรมศาสตร์ (Behavioral Segmentation)
  • 21. การแสวงหาผลประโยชน์ สินค้าราคาประหยัด สินค้าคุณภาพสูง สินค้าหาซื้อง่าย 3.1.2 การเลือ กตลาดเป้า หมาย (Targeting) : T บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด ผลิตภัณฑ์ของบ ริษัทฯได้แก่ สเกิร์ตรถยนต์ มีคุณสมบัติพิเศษสามารถย่อยสลาย เองเมื่อหมดอายุการใช้งาน บริษัทฯได้พิจารณาและเลือกกลุ่มเป้า หมาย ดังนี้ บริษัทได้เลือกเลือกกลุ่มลูกค้าที่ในเขตกรุงเทพฯและ ปริมณฑล ซึ่งกลุ่มลูกค้าจะเป็นผู้ประกอบการที่สั่งซื้อสเกิร์ต รถยนต์ไปเป็นชิ้นส่วนในการประกอบธุรกิจรถยนต์นั่งและเลือกซื้อ สินค้าแน้นคุณภาพสูง 3.1.3 การกำา หนดตำา แหน่ง ของผลิต ภัณ ฑ์ (Market Positioning): P บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด ได้กำาหนดตำาแหน่ง ของผลิตภัณฑ์ให้มีความแตกต่างชัดเจน และตรงกับความ ต้องการของผู้บริโภค โดยการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ กับผลิตภัณฑ์ของคู่แข่งขันโดยนำาปัจจัยด้านราคาและคุณภาพ เป็นตัวพิจารณา บริษัทได้กำาหนดตำาแหน่งของผลิตภัณฑ์ไว้ ดังนี้ ราคา สูง คุณ ภา พตำ่า คุณ ภาพ สูง (สูง ) บริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์ จำากัด ราคา ตำ่า
  • 22. บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำา กัด ภาพที่ 3.1 แผนแสดงการกำาหนดตำาแหน่งผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์การวางตำาแหน่งผลิตภัณฑ์เมื่อเปรียบเทียบกับคู่ แข่งขัน สามารถอธิบายได้ว่า บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด ได้กำาหนดตำาแหน่งผลิตภัณฑ์ไว้ตำ่ากว่าบริษัท บางกอก โพลีเอสเตอร์ จำากัด เห็นได้ว่าราคามีความแตกต่างกัน เนื่องจาก บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด เป็นบริษัทฯที่พึ่งจะเปิดกิจการ เสียเปรียบด้านลูกค้ายังไม่รู้จักกับสินค้าของบริษัทฯ จึงวาง ตำาแหน่งผลิตภัณฑ์อยู่ตำาแหน่งตำ่ากว่าคู่แข่งขัน เพื่อให้สามารถ แข่งขันในตลาดได้ 3.2 กลยุท ธ์ส ่ว นประสมทางการตลาด (Marketing Mix Strategy) ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ ไม่เป็นที่รู้จักในตลาดและเป็น ผลิตภัณฑ์ใหม่ ดังนั้นเพื่อเป็นการสร้างความได้เปรียบทางด้าน ผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำาหน่ายและด้านการส่ง เสริมการตลาด บริษัทฯจึงกำาหนดกลยุทธ์ทางการตลาด ดังนี้ 3.2.1 กลยุท ธ์ผ ลิต ภัณ ฑ์ (Product Strategy) ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ผลิตจากไบโอ พลาสติกที่ข้อดี คือ ย่อยสลายได้ง่ายไม่ทิ้งสารที่เป็นอันตรายต่อ สิงแวดล้อมเหมือนกับพลาสติกที่ได้จากปิโตรเลียม และไม่มี อันตรายต่อสุขภาพของผู้บริโภค คือปล่อยสารที่เป็นพิษต่อ ร่างกายที่จะก่อให้เกิดโรคมะเร็งในระยะยาว บริษัทฯเน้นคุณภาพ ของสินค้าและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม โดยบริษัทฯผลิตสินค้าเพื่อ จำาหน่ายให้ผู้บริโภค ดังนี้ 3.2.1.1 ชนิด ของสิน ค้า (Type of Product) บริษัทฯ ผลิตสเกิร์ตรถยนต์เพียงชนิดเดียว คือ ชุดสเกิร์ตรอบคันสำาหรับมิตซูบีชิมิราจ สเกิร์ตรถยนต์ เป็น ผลิตภัณฑ์ทผลิตจากไบโอพลาสติกที่มีกระบวนการผลิตเช่นเดียว ี่ กับการผลิตสเกิร์ตรถยนต์จากพลาสติกปีโตรเคมี แต่สเกิร์ตที่ผลิต จาก (ไบโอพลาสติก) มีความพิเศษกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับสเกิร์ตที่
  • 23. ผลิตจากปิโตรเคมี คือ สามารถย่อยสลายได้เร็วเมื่อหมดอายุการ ใช้งานของผลิตภัณฑ์ ในระยะแรกบริษัทฯจะผลิตสเกิร์ตรถยนต์ ให้ตรงกับความต้องการของลูกค้า รูปภาพที่ 3.2 ชุดสเกิร์ตรถยนต์มิราจ รูปภาพที่ 3.3 สเกิร์ตหน้ารถยนต์ รูปภาพที่ 3.4 สเกิร์ตข้างรถยนต์
  • 24. รูปภาพที่ 3.5 สเกิร์ตท้ายรถยนต์ 3.2.1.2 ขนาดของสิน ค้า (Size of Produc ขนาดของสเกิร์ตรถยนต์ ในช่วงแรกบริษัทฯ ได้ผลิตเพียงขนาดเดียวคือ ชุดสเกิร์ตสำาหรับมิราจ มีขนาดดังนี้ ส เกิร์ตหน้ามี 2 ชิ้น (L,R) แต่ละชิ้นขนาดกว้าง 5 เซนติเมตร ขนาด ยาว 45 เซนติเมตร ขนาดสูง 15 เซนติเมตรและมีนำ้าหนัก 1.5 กิโลกรัม สเกิร์ตข้างมี 2 ชิ้น (L,R) แต่ละชิ้นขนาดกว้าง 4 เซนติเมตร ขนาดยาว 140 เซนติเมตร สูง 15 เซนติเมตรและมี นำ้าหนัก 2 กิโลกรัม สเกิร์ตหลังมี 2 ชิ้น (L,R) แต่ละชิ้นขนาด กว้าง 5 เซนติเมตร ขนาดยาว 40 เซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร และมีนำ้าหนัก 1 กิโลกรัม 3.2.1.3 บรรจุภ ัณ ฑ์ (Packaging) บรรจุภัณฑ์เป็นสิ่งที่ห่อหุ้มสินค้าไม่ให้เกิด ความเสียหายหรือได้รับการกระแทกจากสิ่งภายนอก ผลิตภัณฑ์ ของบริษัทเป็นงานดิบยังไม่ทำาสี บริษัทฯจึงใช้กล่องกระดาษลูกฟูก ลักษณะเป็นกล่องสี่เหลี่ยมเปิดได้ด้านบนและด้านล่าง ฝาด้านบน และด้านล่างมีลักษณะเกย เพื่อป้องกันการกระแทก การกดทับ และการเคลื่อนย้ายของสินค้า มีขนาดเท่ากับ กว้าง 60 เซนติเมตร สูง 40 เซนติเมตร ยาว 160 เซนติเมตร
  • 25. รูปภาพที่ 3.6 กล่องกระดาษลูกฟูกที่ใช้บรรจุภัณฑ์ 3.2.1.4 ตราสิน ค้า (Brand) บริษัทฯ ได้กำาหนดตราสินค้าของบริษัทฯ เป็น รูปโลก มีลูกศรสีเขียวรอบ หมายถึง การครองตลาดทั่วโลกภายใน อนาคตและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เนื่องจากผลิตภัณฑ์สเกิร์ต รถยนต์ผลิตจากพลาสติกสามารถย่อยสลายได้เองเมื่อหมดอายุ การใช้งาน ทำาให้ผู้ลูกค้าไว้วางใจในตัวผลิตภัณฑ์มากขึ้น SBP www. S ia m B io Pla stic .co.th รูปภาพที่ 3.7 ลักษณะตราสินค้าของบริษัทฯ 3.2.2 กลยุท ธ์ด ้า นราคา (Price Strategy) สเกิร์ตรถยนต์ที่ผลิตจากไบโอพลาสติกเป็นผลิตภัณฑ์ ใหม่ซึ่งอยู่ในวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ในขั้นแนะนำาสินค้า การกำาหนด ราคาจะถูกกำาหนดไว้ในราคาที่เหมาะสม เพื่อให้ครอบคลุมกับ
  • 26. ต้นทุนค่าใช้จ่ายที่เสียไปจากการผลิตและการส่งเสริมการตลาด การตั้งราคาตามคุณภาพที่ลูกค้ายอมรับได้ เพื่อการดึงดูดใจของ ลูกค้า บริษัทฯตั้งราคาโดยคำานึงถึงต้นทุนการผลิตการดำาเนินงาน และราคาของคู่แข่งขัน บริษัทฯตั้งราคาขายดังนี้ สเกิร์ตรถยนต์ ชุดละ 3,000 บาท เมื่อเปรียบเทียบราคาสินค้ากับคู่แข่งขันระหว่างบริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด และบริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์ จำากัด มีข้อมูลดังนี้ หน่ว ยงาน/บริษ ัท บริษ ัท ไบโอพลาสติก จำา กัด บริษ ัท บางกอก โพลีเ อสเตอร์ จำา กัด ชือ สิน ค้า ่ สเกิร ์ต มิ ราจ สเกิร ์ต มิ ราจ ราคา/ หน่ว ย 3,000 ฿ 4,000 ฿ ตารางที่ 3.1 ตารางเปรียบเทียบราคาสินค้าระหว่างบริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด และบริษัท บางกอกโพลีเอสเตอร์ จำากัด 3.2.3 กลยุท ธ์ด ้า นช่อ งทางการจัด จำา หน่า ย (Place of Channel of Distribution Strategy) 1) จำาหน่ายโดยตรงให้กับลูกค้า บริษัทฯมีช่องทางการ จัดจำาหน่ายโดยตรงให้กับลูกค้าที่ต้องการซื้อผลิตภัณฑ์ของบ ริษัทฯโดยตรง ผูผ ลิต ้ ลูก ค้า 2) จำาหน่ายโดยตัวแทนจำาหน่ายของบริษัทคือ เดอะมอลล์บางแค โดยบริษัทฯให้เครดิตนำาสินค้าไปจำาหน่ายก่อน ชำาระค่าสินค้า 60 วัน ผูผ ลิต ้ เดอะมอลล์ บางแค ลูก ค้า
  • 27. 3.2.4 กลยุท ธ์ด ้า นการส่ง เสริม การตลาด (Promotion Strategy) บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด จะเผยแพร่ความรู้ เกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติเพื่อสร้างจิตสำานึกแก่ประชาชน ทั่วไปให้ตระหนัก ถึงปัญหามลภาวะและช่วยกันรักษาสิ่งแวดล้อม กลยุทธ์นี้เป็นการสร้างความต้องการในอนาคต โดยเริ่มจากให้ผู้ บริโภคเกิดความตระหนักในกิจกรรมสิ่งแวดล้อมต่างของบริษัทฯ เพื่อให้ลูกค้าตระหนักถึงสิ่งแวดล้อมจนเกิดการตัดสินใจในการสั่ง ซื้อสินค้าในที่สุด นอกจากนี้ การสร้างจิตสำา นึกในเรื่องการอนุรักษ์ ธรรมชาติให้กับประชาชน จะเป็นการผลักดันให้ผู้ประกอบการหัน มาใช้สินค้าเพื่อสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น เพื่อสร้างภาพพจน์ที่ดีของ องค์กรในสายตาผู้บริโภค โดยบริษัทใช้กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาด ดังนี้ 3.2.4.1 การโฆษณาและการประชาสัม พัน ธ์ (Advertising and Relation) บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด มีการ ประชาสัมพันธ์ในช่องทางต่างๆดังนี้ 1) บริษัทฯมีการประชาสัมพันธ์โดยเน้นเข้าร่วม กิจกรรมต่างๆเพื่อเป็นการสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับบริษัท เช่น การเข้าร่วมงานแสดงสินค้าอุตสาหกรรมและงานแสดงเทคโนโลยี นวัฒกรรมใหม่ๆ เพื่อให้ลูกค้าเข้าถึงข้อมูลจนเกิดความต้องการ ซื้อสินค้าเพิ่มและตอบสนองความต้องการของลูกค้าหน้าใหม่ 2) หนังสือพิมพ์ โดยลงในหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ เดลิ นิวล์ และข่าวสด ขนาด หนึ่งส่วนสี่หน้าขาวดำา ในช่วงทุกเดือน การคลอบคลุมการเข้าถึงและความถี่ต้องการให้เข้าถึงกลุ่มเป้า หมายอย่างน้อย 30% และอย่างน้อย 4 ครั้งในระยะเวลา 1 เดือน 3) นิตยาสาร เป็นการสื่อสารให้ลูกค้าได้ทราบถึง ข้อมูลของสินค้าที่เราได้นำาเสมออย่างชัดเจน สำาหรับสเกิร์ตรถ ยนต์ไบโอพลาสติกลงโฆษณาหนังสือเกี่ยวกับ เทคโนโลยีและ นวัตกรรมใหม่ๆ เช่น หนังสื่อมอเตอร์โชว์ เป็นต้น 4) Internet (www.Siambioplastic.co.th) เว็บ ไซด์ของบริษัท สยามพลาสติก จำากัด ในปัจจุบันอินเตอร์เน็ตได้ รับความนิยมมาก สื่อทางอินเตอร์เน็ตจึงเป็นสื่อที่สามารถนำาเสนอ ข้อมูลสู่กลุ่มเป้าหมายได้ดีและสามารถสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับ
  • 28. บริษัทได้ดี บริษัท มีเว็บไซด์ที่ให้บริการด้านข้อมูลข่าวสารและ ผลิตภัณฑ์ ของบริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด 5) บริษัทฯจะเน้นสื่อโทรทัศน์บางรายการ เช่น รายการเรื่องสั้นเพื่อโลกสีเขียว ซึ่งเป็นรายการเพื่อสิ่งแวดล้อมที่ดี ของประเทศ โดยบริษัทฯ จะติดต่อให้ขอมูลเกี่ยวกับพลาสติกที่ ้ ย่อยสลายได้ซึ่งเป็นหัวข้อเรื่องที่สอดคล้องกับรูปแบบรายการ 3.2.4.2 การส่ง เสริม การขาย (Sales Promotion) 1) การให้ส่วนลด ทางบริษัทฯมีการให้ส่วนลด สำาหรับการสั่งซื้อในปริมาณมาก โดยกำาหนดส่วนลดดังนี้ การสั่ง ซื้อในปริมาณ 50 - 99 ชุด (ส่วนลด 10 %) การสั่งซื้อในปริมาณ 100 ชุดขึ้นไป (ส่วนลด 20 %) 2) การให้สิทธิในการเปลี่ยนคืนสินค้าที่ชำารุดโดยไม่ เสียค่าใช้จ่ายใดๆทั้งสิ้น เนื่องมาจากการจัดส่งสินค้าของบริษัทฯ 3.3 กลยุท ธ์ข องบริษ ัท สยามไบโอพลาสติก จำา กัด เนื่องจากผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯมีจุดเด่นเป็นผลิตภัณฑ์ที่ รักษาสิ่งแวดล้อม ดังนั้น บริษัทฯ จึงมีการวางแผนในการเสริม สร้างจุดเด่นของผลิตภัณฑ์ให้แข็งแรงยิ่งขึ้น โดยบริษัทใช้กลยุทธ์ ในการดำาเนินธุรกิจ ดังนี้ บริษัทฯได้กำาหนดกลยุทธ์การสร้างความแตกต่างความโดด เด่นในตัวผลิตภัณฑ์ (Product Differentiation) บริษัทฯผลิตส เกิร์ตรถยนต์จากไบโอพลาสติกรายแรกของประเทศ ผลิตภัณฑ์ ของบริษัทฯ มีคุณสมบัติที่แตกต่างจากคู่แข่งขัน คือ ผลิตภัณฑ์ พลาสติกมีความคงทน ความสวยงาม ขึ้นรูปได้ง่ายและสามารถ ย่อยสลายได้ง่ายไม่ทิ้งสารตกค้างที่เป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม เหมือนกับพลาสติกที่ได้จากปิโตรเลียม ไบโอพลาสติกยังเป็นมิตร ต่อสุขภาพของผู้บริโภคอีกด้วย คือจะไม่ปลดปล่อยสารที่เป็นพิษ ต่อร่างกายซึ่งมักก่อให้เกิดมะเร็งในระยะยาว
  • 29. บทที่ 4 แผนการดำา เนิน งานและแผนการผลิต 4.1 ข้อ มูล ธุร กิจ ชื่อกิจการ ที่อยู่/ที่ตั้งกิจการ รูปแบบการดำาเนินการ ของธุรกิจ ทุนจดทะเบียน ระยะเวลาดำาเนินการที่ ผ่านมา หมายเลขทะเบียนการ บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด เลขที่ 11/1 ซ.สุขสว่างดี ถ.ราชพฤกษ์ ข.บางพลับ 4 อ.ปากเกร็ด จ.นนทบุรี 11120 ดำาเนินธุรกิจผลิตสเกิร์ตสำาหรับรถ มิตซูบีชิมิราจ 35,000,000.00 บาท แบ่งเป็น ส่วนของผู้ถือหุ้น 25,000,000.00 บาท และส่วนของเงินกู้ระยะยาว 10,000,000.00 บาท เริ่มดำาเนินการ 024321550
  • 30. ค้า 4.2 รายนามคณะกรรมการบริษ ัท ฯ ลำา ดับ ชือ –นามสกุล ่ 2. นายพงษ์ชัย กฤต วิโรจน์ นายวุฒิเดช ซุยซวง 3. นายณรงค์ อุบลบาน 4. นายภูเบก สิงห์โคตร 5. นายเพิ่มศักดิ์ สุวะพันธ์ 1. ตำา แหน่ง กรรมการผู้จัดการ โรงงาน รองกรรมการผู้จัดการ ผู้จดการฝ่ายบุคคล,คลัง ั สินค้า ผู้จดการฝ่ายการเงิน,การ ั ตลาด ผู้จดการฝ่ายการ ั ผลิต,ซ่อมบำารุง ตารางที่ 4.1 รายนามคณะกรรมการบริษัท 4.3 อำา นาจการลงนามผูก พัน บริษ ัท ของกรรมการ อำานาจการลงนามผูกพันของบริษัทสยามไบโอพลาสติกขึ้น อยู่กับ นายพงษ์ชัย กฤตวิโรจน์ กรรมการผู้จัดการบริษัท สยามไบ โอพลาสติก เป็นผู้ตัดสิ้นใจแต่เพียงผู้เดียว 4.4 รายชื่อ ผู้ถ ือ หุ้น / หุ้น ส่ว น และสัด ส่ว นการถือ ลำา ชื่อ –นามสกุล ดับ 1. นายพงษ์ชัย กฤต วิโรจน์ 2. นายวุฒิเดช ซุยซวง 3. นายณรงค์ อุบลบาน 4. ครอง นายภูเบก สิงห์โคตร จำา นว นหุ้น 50,00 0 50,00 0 50,00 0 50,00 มูล ค่า เปอร์เ หุ้น ซนต์ 5,000 20% ,000 5,000 20% ,000 5,000 20% ,000 5,000 20%
  • 31. ตารางที่ 4.2 รายชื่อผู้ถือหุ้น / หุ้นส่วน และสัดส่วนการถือ ครอง 4.5 ประวัต ิข องกรรมการหรือ ผู้บ ริห าร 4.5.1 ชื่อ -สกุล นายพงษ์ชัย กฤตวิโรจน์ อายุ 25 ปี ระดับ การศึก ษา ปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี พ.ศ. 2555 ประสบการณ์ก ารทำา งาน บริษ ัท CBMS.CO.LTD ตำา แหน่ง TECHNICAL SERVICE ปี พ.ศ. 2551 4.5.2 ชื่อ -สกุล นายวุฒิเดช ซุยซวง อายุ 24 ปี ระดับ การศึก ษา ปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี พ.ศ. 2555 ประสบการณ์ก ารทำา งาน บริษ ัท ISUZU.CO.LTD ตำา แหน่ง TECHNICAL MAINTENANCE ปี พ.ศ. 2551 4.5.3 ชื่อ -สกุล นายณรงค์ อุบลบาน อายุ 24 ปี ระดับ การศึก ษา ปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี พ.ศ. 2555 ประสบการณ์ก ารทำา งาน บริษ ัท ITTHIPORN IMPORT.CO>LTD ตำา แหน่ง TECHNICAL MAINTENANCE ปี พ.ศ. 2551 4.5.4 ชื่อ -สกุล อายุ ระดับ การศึก จาก นายภูเบก สิงห์โคตร 24 ปี ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
  • 32. ปี พ.ศ. 2555 ประสบการณ์ก ารทำา งาน บริษ ัท ISUZU.CO.LTD ตำา แหน่ง TECHNICAL MAINTENANCE ปี พ.ศ. 2551 4.5.5 ชื่อ -สกุล นายเพิ่มศักดิ์ สุวะพันธ์ อายุ 25 ปี ระดับ การศึก ปริญญาตรี จาก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ ปี พ.ศ. 2555 ประสบการณ์ก ารทำา งาน บริษ ัท TOYOTA THAILAND.CO.LTD ตำา แหน่ง TECHNICAL MAINTENANCE ปี พ.ศ. 2551 4.6 แผนผัง องค์ก ร
  • 33. รูปภาพที่ 4.1 แผนผังองค์การ 4.7 หน้า ที่ค วามรับ ผิด ชอบ และคุณ สมบัต ิข อง บุค ลากรหลัก
  • 34. 4. ชื่อ -สกุล 7. 1 ตำา แหน่ง หน้า ที่ค วาม / รับ ผิด ชอบ นายพงษ์ชัย กฤตวิโรจน์ 4. ชื่อ -สกุล 7. 2 ตำา แหน่ง หน้า ที่ค วามรับ ผิด ชอบ นายวุฒิเดช ซุยซวง 4. ชื่อ -สกุล 7. 3 ตำา แหน่ง หน้า ที่ค วามรับ ผิด ชอบ การศึก ษา / คุณ สมบัต ิ อัต ราเงิน เดือ น นายณรงค์ อุบลบาน กรรมการผู้จัดการโรงงาน รับผิดชอบด้านการบริหารติดตาม สภาวะแวดล้อมทางเศรษฐกิจและ สังคม ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา การศึก ษา / คุณ สมบัต ิ การจัดการอุตสาหกรรม อัต ราเงิน เดือ น 40,000 บาท รองกรรมการผู้จัดการ ปฏิบัติงานที่ประธานกรรมการมอบ หมายและบริหารงานทั้งหมดใน บริษัท การศึก ษา / ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา การจัดการอุตสาหกรรม คุณ สมบัต ิ อัต ราเงิน เดือ น 35,000 บาท 4. 7. 4 ผู้จัดการฝ่ายบุคคล,คลังสินค้า การบริหารงานในด้านบุคคลและ คลังสินค้า ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา การจัดการอุตสาหกรรม 30,000 บาท ชื่อ -สกุล นายภูเบก สิงห์โคตร ตำา แหน่ง หน้า ที่ค วามรับ ผู้จัดการฝ่ายการเงิน,การตลาด การบริหารงานในด้านการเงินและ
  • 35. ผิด ชอบ การศึก ษา / คุณ สมบัต ิ อัต ราเงิน เดือ น 4.7.5 ชื่อ -สกุล การตลาด ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา การจัดการอุตสาหกรรม 30,000 บาท นายเพิ่มศักดิ์ สุวะพันธ์ ตำา แหน่ง หน้า ที่ค วามรับ ผิด ชอบ การศึก ษา / คุณ สมบัต ิ อัต ราเงิน เดือ น ผู้จัดการฝ่ายการผลิต,ซ่อมบำารุง การบริหารงานในด้านการผลิตและ งานซ่อมบำารุง ปริญญาตรี คณะบริหารธุรกิจ สาขา การจัดการอุตสาหกรรม 30,000 บาท 4.8 แผนงานด้า นบุค ลากร และค่า ใช้จ ่า ยบุค ลากร ของธุร กิจ ลำา ดับ ฝ่า ยงาน กรรมการผู้ จัดการโรงงาน 2. ฝ่ายบริหาร รองกรรมการผู้ จัดการโรงงาน 3. ฝ่ายบุคคล,คลัง ผู้จัดการฝ่าย สินค้า บุคคล,คลัง สินค้า 4. ฝ่ายการ ผู้จัดการฝ่าย เงิน,การตลาด การเงิน,การ ตลาด 5. ฝ่ายการผลิต, ผู้จัดการฝ่าย ซ่อมบำารุง การผลิต, ซ่อมบำารุง 9. ฝ่ายบุคคล,คลัง พนักงานฝ่าย สินค้า บุคคล 10 ฝ่ายบุคคล,คลัง พนักงานฝ่าย . สินค้า คลังสินค้า 11 ฝ่ายการ พนักงานฝ่าย . เงิน,การตลาด การเงิน 12 ฝ่ายการ พนักงานฝ่าย . เงิน,การตลาด การตลาด 13 ฝ่ายการผลิต, พนักงานฝ่าย 1. ฝ่ายบริหาร ตำา แหน่ง งาน จำา นวน 1 อัต รา รวมเงิน เงิน เดือ น เดือ น 40,000 40,000 1 35,000 35,000 1 30,000 30,000 1 30,000 30,000 1 30,000 30,000 6 10,000 60,000 6 11,000 66,000 6 10,000 60,000 6 10,000 60,000 40 9,500 380,00
  • 36. ตารางที่ 4.3 แผนงานด้านบุคลากรและค่าใช้จ่ายบุคลากรขอ งบริษัทฯ 4.9 วิส ัย ทัศ น์ บริษัท สยามไบโอพลาสติก จำากัด เป็นผู้ผลิตและจำาหน่ายส เกิร์ตแต่งสำาหรับรถมิตซูบีชิมิราจ โดยใช้วัตถุดิบเป็นพลาสติกที่ สามารถย่อยสลายได้เองตามธรรมชาติหรือไบโอพลาสติกเพื่อ ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค บริษัทมีการนำาเทคโนโลยีที่ ทันสมัยและเน้นการคิดค้นรูปแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆเสมอเพื่อให้ ผลิตภัณฑ์สามารถก้าวสู่ระดับสากลและเป็นที่ต้องการของตลาด มากขึ้น 4.10 พัน ธกิจ 4.10.1 บริษัทฯจะผลิตสินค้าที่สามารถย่อยสลายเองตาม ธรรมชาติและไม่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม 4.10.2 บริษัทฯจะผลิตและจำาหน่ายสเกิร์ตสำาหรับมิตซูบีชิ มิราจที่มีคุณภาพสูงในราคาที่เหมาะสมให้แก่ลูกค้า 4.10.3 บริษัทฯ จะผลิตสินค้าตามกระบวนการผลิตที่ได้ มาตรฐานสากล 4.10.4 บริษัทฯ มีการพัฒนาและออกแบบผลิตภัณฑ์อย่าง ต่อเนืองเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้า 4.11 เป้า หมายทางธุร กิจ 4.11.1 เป้า หมายระยะสั้น (1 ปี) (พ.ศ.2556) ขยายสาขาจำาหน่ายสเกิร์ตรถยนต์เพิ่ม 4 สาขา ให้ ครอบคลุมพื้นที่ในกรุงเทพฯและปริมณฑล 4.11.2 เป้า หมายระยะกลาง (3 ปี) (พ.ศ.2556-2558) 1) รับสมัครพนักงานขายจำานวน 8 คน และพนักงาน ฝ่ายผลิตจำานวน 20 คน
  • 37. 2) ขยายสาขาจำาหน่ายสเกิร์ตรถยนต์เพิ่ม 6 สาขา ให้ ครอบคลุมพื้นที่ในภาคกลาง 3) จัดซื้อเครื่องจักร, ติดตั้งเครื่องจักรและทดสอบ เครื่องจักร 4) เพิ่มกำาลังการผลิต 20 % 4.11.3 เป้า หมายระยะยาว (5 ปี) (พ.ศ.2556-2560) 1) รับสมัครพักงานขายจำานวน 9 คน 2) ขยายสาขาจำาหน่ายสเกิร์ตรถยนต์เพิ่ม 7 สาขา ให้ ครอบคลุมทุกพื้นที่ประเทศไทย 3) กำาไรขั้นต้น (60%) 4.12 ปัจ จัย แห่ง ความสำา เร็จ 4.12.1 ผลิตภัณฑ์ของบริษัทฯ เป็นที่ต้องการในปัจจุบันและ อนาคตสูง เนื่องจากเป็นผลิตภัณฑ์ที่สามารถย่อยสลายได้ตาม ธรรมชาติ ไม่ก่อให้เกิดมูลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม 4.12.2 บริษัทฯ มีบุคลากรที่มีความสามารถในการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ใหม่ 4.12.3 บริษัทฯ ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในประเทศให้เกิด ประโยชน์สูงสุดในการประกอบธุรกิจ 4.12.4 ผู้นำามีลักษณะที่มีความคิดสร้างสรรค์ มีความ สามารถในการตัดสินใจและแก้ปัญหา 4.12.5 มีการนำาเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการดำาเนิน งานในการผลิต 4.12.6 รู้ถึงคุณค่าของวัตถุดิบและใช้อย่างคุ้มค่าลดปริมาณ ของเสีย 4.12.7 มีความซื้อตรงในการทำาธุรกิจและมีการบริหาร จัดการเวลาที่ดี 4.12.8 มีระบบสาระสนเทศจัดการข้อมูล 4.12.9 การบริหารการจัดการมีการวางแผนในการดำาเนิน งานที่มีคุณภาพ