SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
โครงการในพระราชดาริ ไบโอดีเซล
 "การใช้ น้ามันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์ เป็นน้ามัน
         เชือเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล"
ประวัติและความเป็นมา
             นับเป็นความโชคดีของประชาชนชาวไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีสายพระ
เนตรยาวไกล ทรงเห็นประโยชน์ของพลังงานทดแทนจากพืช พระองค์ทรงริเริ่มให้มีการวิจัยทดลอง
ผลิตและใช้พลังงานทดแทนจากพืช ทั้งเอทานอลที่ใช้ผสมน้้ามันแก๊สโซฮอล์ รวมทั้งการผลิตไบโอ
ดีเซลจากน้้ามันพืชใช้แล้วโดยน้ามาจากห้องเครื่องในวัง น้ามาผลิตในโครงการส่วนพระองค์ สวน
จิตรลดา มานานกว่า ๒๐ ปี
             พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นความส้าคัญของน้้ามันจากพืช ไบโอดีเซลอย่าง
ต่อเนื่อง และขยายผลไปสู่ภาคชนบท โดยในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง มี
พระราชด้าริให้ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ สร้างโรงงานสกัดน้้ามันปาล์ม ณ สหกรณ์นิคมอ่าวลึก
จ.กระบี่ เนื่องจากเป็นแหล่งปลูกปาล์มน้้ามันจ้านวนมาก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง
โรงงานสกัดน้้ามันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็กมีก้าลังผลิตวันละ ๑๑๐ ลิตร ณ ศูนย์การศึกษาพัฒนา
พิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จ.นราธิวาส
จาก นั้นในปี ๒๕๔๓ กองงานส่วนพระองค์ได้ท้าวิจัยพัฒนา และทดลองน้าน้้ามันปาล์ม
บริสุทธิ์หรือปาล์มดีเซล มาทดลองใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลของกองงานส่วนพระองค์ ที่พระราชวังไกล
กังวล
             จากความส้าเร็จดังกล่าว ใน วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่
หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้นายอ้าพล เสนาณรงค์ องคมนตรี เป็นผู้แทนพระองค์ ยื่น จด
สิทธิบัตร ณ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว ชื่อ ที่แสดงถึงการประดิษฐ์คือ "การใช้ น้้ามันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์ เป็นน้้ามัน เชื้อเพลิง
เครื่องยนต์ดีเซล" สิทธิบัตรเลขที่ ๑๐๗๖๔
วัตถุประสงค์การดาเนินโครงการ
             ๑. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริม ให้มีการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงาน ตามแนวทาง
พระราชด้าริเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จฯ พระเจ้าอยู่หัว เรื่องพลังงานทดแทน
             ๒. เพื่อจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ การผลิตพลังงานทดแทน(ไบโอดีเซล) เพื่อให้ค้าแนะน้า
ขั้นตอนการด้าเนินการ ให้กับก้าลังพลของหน่วย ครอบครัว, เยาวชน ที่พักอาศัยในหน่วย, ชุมชนใน
พื้นที่รับผิดชอบของหน่วย และส่วนราชการต่างๆ
             ๓. เพื่อส่งเสริมความรู้และปลูกจิตส้านึกให้แก่ ก้าลังพล และ ครอบครัวตลอดจน บุคคล
,เยาวชน ที่พักอาศัยในหน่วยและชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วย ได้มีความรู้และทราบว่า
น้้ามันพืชที่ได้ผ่านการปรุงอาหารมาแล้วแทนที่จะน้าไปทิ้งหรือน้้าไปปรุงอาหารซ้้าซึ่งอาจเป็นสารก่อ
มะเร็งต่อมนุษย์ได้นั้นสามารถน้ามาเป็นวัตถุดิบในการผลิต น้้ามันไบโอดีเซลได้
             ๔. เพื่อศึกษาหาข้อมูลว่ามีข้อดี-ข้อเสียของน้้ามัน ไบโอดีเซล หรือเปรียบเทียบกับน้้ามัน
ดีเซลที่มีขายตามท้องตลาด เช่น ประหยัดค่าใช้จ่ายน้้ามันเชื้อเพลิง ลดมลภาวะ ฝุ่นละออง ควันด้า
ลดการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นสาเหตุ ที่ท้าให้เกิดภาวะโลกร้อน
             ๕. เพื่อให้สามารถผลิตน้้ามัน ไบโอดีเซลได้เองเพื่อน้ามาใช้กับรถยนต์ของทางราชการ
             ๖. เพื่อจ้าหน่ายให้กับประชาชน / ชุมชนรอบค่ายในราคาที่ถูกกว่าราคาตลาด
ไบโอดีเซล คืออะไร
           ไบโอดีเซล (Biodiesel) คือ น้้ามันพืชหรือน้้ามันสัตว์ รวมทั้งน้้ามันใช้แล้วจากการ
ปรุงอาหารน้ามาท้าปฏิกิรยาทางเคมีกับแอลกอฮอล์ เรียกอีกอย่างว่าสารเอสเตอร์ มีคุณสมบัติ
ใกล้เคียงกับน้้ามันดีเซลมาก และในกระบวนการผลิตยังได้กลีเซอรอลเป็นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถ
น้ามาใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องส้าอางอีกด้วย
วัตถุดิบสาหรับการผลิตไบโอดีเซล
            วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลได้แก่น้ามันพืชและน้้ามันสัตว์ทุกชนิด แต่การน้าพืชน้้ามัน
ชนิดใดมาท้าเป็นไบโอดีเซลนั้น แตกต่างกันไปตามลักษณะสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ
            ส้าหรับในประเทศไทยผลิตไบโอดีเซลจากมะพร้าวและปาล์มน้้ามัน โดยผลการวิจัยใน
ปัจจุบันพบว่าปาล์มคือพืชที่ดีและเหมาะสมที่สุดในการน้ามาใช้ท้าไบโอดีเซล เพราะเป็นพืชที่มี
ศักยภาพในการน้ามาผลิตเป็นเชื้อเพลิงสูงกว่าพืชน้้ามันชนิดอื่น จากการที่มีต้นทุนการผลิตต่้า ให้
ผลผลิตต่อพื้นที่สูง ปาล์มน้้ามันให้ผลผลิตน้้ามันต่อไร่สูงกว่าเมล็ดเรพซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการ
ผลิตไบโอดีเซลในประเทศแถบยุโรปถึง ๕ เท่า และสูงกว่าถั่วเหลืองที่ใช้กันมากในสหรัฐอเมริกาถึง
๑๐ เท่า
            นอกจากพืชดังกล่าวมาแล้ว น้้ามันพืชใช้แล้วก็สามารถน้ามาท้าไบโอดีเซลได้เช่นกัน และ
น้้ามันพืชใช้แล้วก็เป็นวัตถุดิบอีกชนิดหนึ่งที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาใช้ผลิตไบโอดีเซลมา
เนิ่นนานแล้ว โดยน้าน้้ามันเหลือใช้จากห้องเครื่องมาท้าเป็นไบโอดีเซล
หลักการในการผลิต
           วัตถุดิบที่มีศักยภาพในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยได้แก่ น้้ามันพืชใช้แล้วและพืช
น้้ามัน โดยน้ามาผสมกับเมทานอลหรือเอทานอล จะได้เมทิลเอสเตอร์หรือเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งก็คือไบ
โอดีเซล และได้กลีเซอรอลเป็นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถน้ามาใช้ในอุตสาหกรรมและเครื่องส้าอางอีก
ด้วย
วัสดุอุปกรณ์
- จัดซื้อถังน้้าแบบกลมขนาด ๒๐๐ ลิตร ๑ ใบ
- จัดซื้อถังน้้าแบบกลมขนาด ๑๐๐ ลิตร ๑ ใบ
- ซื้อวาล์วน้้าขนาด ๑ นิ้ว ๑ ตัว
-ข้องอ PVC ๔๕ องศา ขนาด ๖ หุน ๑ ตัว
-ตัวลด PVC จาก ๖ หุน เหลือ ๔ หุน ยาว ๑ เมตร
- ตัวลัดสายยางขนาด ๑ นิ้ว ๑ ตัว
-ตัวลัดสายยางขนาด ๔ หุน ๑ ตัว
- สายยางใสขนาด ๔ หุน ยาว ๑ เมตร
- กรองดักน้้ารถบรรทุกแบบใสมองเห็นน้้ามันได้ ๑ ตัว
-กรองดักน้้ารถบรรทุกแบบใสมองเห็นน้้ามันได้ ๑ ตัว
- ลวดเชื่อม ๑ ห่อ
- เหล็กท่อขนาด ๑ นิ้ว ครึ่ง จ้านวน ๔ เส้น
- กรวยกรองน้้าขนาดปากกรวย ๙ นิ้ว มีตระแกรงกรอง ๑ ตัว
(สั่งท้าจากร้านท้ารางน้้า)
- กรวยกรองรูปไซทางเข้า ๑ นิ้ว และทางออก ๑ นิ้วมีตระแกรงจ้านวน ๑ ตัว
(สั่งท้าจากร้านท้ารางน้้า)
- ถังเก็บน้้ามันขนาด ๒๐ ลิตร จ้านวน ๒ ใบ
- ท่อ PVC ขนาด ๑ นิ้ว ยาว ๒ เมตร
ขั้นตอนในการผลิต
- จัดหาน้้ามันพืชที่ใช้แล้ว
- น้าน้้ามันพืชเทลงถัง ๒๐๐ ลิตร โดยผ่านกรวยกรองขนาด ๙ นิ้ว ลงถัง
- เปิดวาวล์ตัวที่ ๑ ที่ติดกับถัง ๒๐๐ ลิตร
- น้้ามันจะไหลตามท่อ พีวีซี ขนาด ๑ นิ้ว ลงถัง ๑๐๐ ลิตร โดยผ่านกรวยกรองรูปไซ
- เมื่อน้าน้้ามันเทลงถังขนาด ๑๐๐ ลิตร แล้วเปิดวาวล์ถัง ๑๐๐ ลิตรตามท่อ พีวีซี ขนาด ๖ หุนและไหลตามสายยางใส
สามารถมองเห็นน้้ามันไหลตามสายยางได้
- น้้ามันจะไหลเข้าทางท่อผ่านกรองน้้ามันจนกว่าจะเต็มกรองน้้ามัน
- น้้ามันจะไหลผ่านกรองและไหลออกทางท่อของกรองน้้ามัน
- กรองน้้ามันสามรถถอดเปลี่ยนได้ถ้ากรองอุดตัน
- น้้ามันจะไหลตามสายยางใสผ่านไปยังกรองดักน้้า ส่วนกรองดักน้้านั้นจะมีทั้งท่อออกและท่อเข้า
- เมื่อน้้ามันไหลเข้าจนเต็มกรองดักน้้ามันแล้ว น้ามันจะไหลออกทางท่อ
- กรองดักน้้าจะท้าการแยกน้้ามันออกจากน้้าซึ่งอยูในตัวเดียวกัน
                                                    ่
- ที่กรองดักน้้าจะมีท่อระบายน้้าทิ้งซึ่งอยูด้านล่างของกรองดักน้้า
                                           ่
- เมื่อเปิดน้้าทิ้งจะต้องปิดทุกครั้ง
- กรองดักน้้าสามารถเปลี่ยนสามารถเปลี่ยนไส้กรองได้เมื่อเกิดการอุดตัน
- เมื่อน้้ามันที่กรองได้แล้ว สามารถน้าไปใช้กับรถที่ใช้น้ามันดีเซลทุกชนิดและเครื่องจักรที่ใช้ดีเซล
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
         ๑.ก้าลังพลที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ร.๑๑ พัน.๒ รอ.ทั้งส่วนราชการและบ้านพัก
ได้ช่วยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ และยังช่วยอนุรักษ์และประหยัดพลังงานในการ
ด้าเนินงานตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตาม หลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
         ๒. ประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่ายในด้านเชื้อเพลิงของ กองพันทหาร
ราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๑๑รักษาพระองค์
         ๓.ประหยัดพลังงานและรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศในการลด
มลพิษในอากาศ
         ๔.ให้ก้าลังพลรู้จักคุณค่าของสิ่งของที่เหลือใช้ประเภทน้้ามันพืชสามารถ
น้ามาพัฒนาเป็นพลังงานทดแทนน้้ามันเชื้อเพลิงได้

More Related Content

Similar to โครงการไบโอดีเซล

งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงงานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงparinee
 
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงงานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงparinee
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริAommy_18
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพKobwit Piriyawat
 
น้ำผึ้ง 4 10 เลขที่ 3
น้ำผึ้ง 4 10 เลขที่ 3น้ำผึ้ง 4 10 เลขที่ 3
น้ำผึ้ง 4 10 เลขที่ 3Yuan Yuan'
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106Kinyokung
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106Kinyokung
 

Similar to โครงการไบโอดีเซล (7)

งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงงานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
 
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวงงานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
งานนำเสนอ1งานคอมในหลวง
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ12.ก๊าซชีวภาพ
12.ก๊าซชีวภาพ
 
น้ำผึ้ง 4 10 เลขที่ 3
น้ำผึ้ง 4 10 เลขที่ 3น้ำผึ้ง 4 10 เลขที่ 3
น้ำผึ้ง 4 10 เลขที่ 3
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
 
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล   group 106
ขวด Pet รักษ์โลก...นวัตกรรมการผลิตเส้นใยรีไซเคิล group 106
 

โครงการไบโอดีเซล

  • 1. โครงการในพระราชดาริ ไบโอดีเซล "การใช้ น้ามันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์ เป็นน้ามัน เชือเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล"
  • 2. ประวัติและความเป็นมา นับเป็นความโชคดีของประชาชนชาวไทย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีสายพระ เนตรยาวไกล ทรงเห็นประโยชน์ของพลังงานทดแทนจากพืช พระองค์ทรงริเริ่มให้มีการวิจัยทดลอง ผลิตและใช้พลังงานทดแทนจากพืช ทั้งเอทานอลที่ใช้ผสมน้้ามันแก๊สโซฮอล์ รวมทั้งการผลิตไบโอ ดีเซลจากน้้ามันพืชใช้แล้วโดยน้ามาจากห้องเครื่องในวัง น้ามาผลิตในโครงการส่วนพระองค์ สวน จิตรลดา มานานกว่า ๒๐ ปี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงเห็นความส้าคัญของน้้ามันจากพืช ไบโอดีเซลอย่าง ต่อเนื่อง และขยายผลไปสู่ภาคชนบท โดยในปี พ.ศ. ๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรง มี พระราชด้าริให้ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ สร้างโรงงานสกัดน้้ามันปาล์ม ณ สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จ.กระบี่ เนื่องจากเป็นแหล่งปลูกปาล์มน้้ามันจ้านวนมาก และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง โรงงานสกัดน้้ามันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็กมีก้าลังผลิตวันละ ๑๑๐ ลิตร ณ ศูนย์การศึกษาพัฒนา พิกุลทอง อันเนื่องมาจากพระราชด้าริ จ.นราธิวาส
  • 3. จาก นั้นในปี ๒๕๔๓ กองงานส่วนพระองค์ได้ท้าวิจัยพัฒนา และทดลองน้าน้้ามันปาล์ม บริสุทธิ์หรือปาล์มดีเซล มาทดลองใช้กับเครื่องยนต์ดีเซลของกองงานส่วนพระองค์ ที่พระราชวังไกล กังวล จากความส้าเร็จดังกล่าว ใน วันที่ ๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่ หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้นายอ้าพล เสนาณรงค์ องคมนตรี เป็นผู้แทนพระองค์ ยื่น จด สิทธิบัตร ณ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ ในพระปรมาภิไธยของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว ชื่อ ที่แสดงถึงการประดิษฐ์คือ "การใช้ น้้ามันปาล์มกลั่นบริสุทธิ์ เป็นน้้ามัน เชื้อเพลิง เครื่องยนต์ดีเซล" สิทธิบัตรเลขที่ ๑๐๗๖๔
  • 4. วัตถุประสงค์การดาเนินโครงการ ๑. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริม ให้มีการอนุรักษ์พลังงานและการใช้พลังงาน ตามแนวทาง พระราชด้าริเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จฯ พระเจ้าอยู่หัว เรื่องพลังงานทดแทน ๒. เพื่อจัดตั้งเป็นศูนย์การเรียนรู้ การผลิตพลังงานทดแทน(ไบโอดีเซล) เพื่อให้ค้าแนะน้า ขั้นตอนการด้าเนินการ ให้กับก้าลังพลของหน่วย ครอบครัว, เยาวชน ที่พักอาศัยในหน่วย, ชุมชนใน พื้นที่รับผิดชอบของหน่วย และส่วนราชการต่างๆ ๓. เพื่อส่งเสริมความรู้และปลูกจิตส้านึกให้แก่ ก้าลังพล และ ครอบครัวตลอดจน บุคคล ,เยาวชน ที่พักอาศัยในหน่วยและชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบของหน่วย ได้มีความรู้และทราบว่า น้้ามันพืชที่ได้ผ่านการปรุงอาหารมาแล้วแทนที่จะน้าไปทิ้งหรือน้้าไปปรุงอาหารซ้้าซึ่งอาจเป็นสารก่อ มะเร็งต่อมนุษย์ได้นั้นสามารถน้ามาเป็นวัตถุดิบในการผลิต น้้ามันไบโอดีเซลได้ ๔. เพื่อศึกษาหาข้อมูลว่ามีข้อดี-ข้อเสียของน้้ามัน ไบโอดีเซล หรือเปรียบเทียบกับน้้ามัน ดีเซลที่มีขายตามท้องตลาด เช่น ประหยัดค่าใช้จ่ายน้้ามันเชื้อเพลิง ลดมลภาวะ ฝุ่นละออง ควันด้า ลดการผลิตก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นสาเหตุ ที่ท้าให้เกิดภาวะโลกร้อน ๕. เพื่อให้สามารถผลิตน้้ามัน ไบโอดีเซลได้เองเพื่อน้ามาใช้กับรถยนต์ของทางราชการ ๖. เพื่อจ้าหน่ายให้กับประชาชน / ชุมชนรอบค่ายในราคาที่ถูกกว่าราคาตลาด
  • 5. ไบโอดีเซล คืออะไร ไบโอดีเซล (Biodiesel) คือ น้้ามันพืชหรือน้้ามันสัตว์ รวมทั้งน้้ามันใช้แล้วจากการ ปรุงอาหารน้ามาท้าปฏิกิรยาทางเคมีกับแอลกอฮอล์ เรียกอีกอย่างว่าสารเอสเตอร์ มีคุณสมบัติ ใกล้เคียงกับน้้ามันดีเซลมาก และในกระบวนการผลิตยังได้กลีเซอรอลเป็นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถ น้ามาใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องส้าอางอีกด้วย
  • 6. วัตถุดิบสาหรับการผลิตไบโอดีเซล วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลได้แก่น้ามันพืชและน้้ามันสัตว์ทุกชนิด แต่การน้าพืชน้้ามัน ชนิดใดมาท้าเป็นไบโอดีเซลนั้น แตกต่างกันไปตามลักษณะสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ ส้าหรับในประเทศไทยผลิตไบโอดีเซลจากมะพร้าวและปาล์มน้้ามัน โดยผลการวิจัยใน ปัจจุบันพบว่าปาล์มคือพืชที่ดีและเหมาะสมที่สุดในการน้ามาใช้ท้าไบโอดีเซล เพราะเป็นพืชที่มี ศักยภาพในการน้ามาผลิตเป็นเชื้อเพลิงสูงกว่าพืชน้้ามันชนิดอื่น จากการที่มีต้นทุนการผลิตต่้า ให้ ผลผลิตต่อพื้นที่สูง ปาล์มน้้ามันให้ผลผลิตน้้ามันต่อไร่สูงกว่าเมล็ดเรพซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการ ผลิตไบโอดีเซลในประเทศแถบยุโรปถึง ๕ เท่า และสูงกว่าถั่วเหลืองที่ใช้กันมากในสหรัฐอเมริกาถึง ๑๐ เท่า นอกจากพืชดังกล่าวมาแล้ว น้้ามันพืชใช้แล้วก็สามารถน้ามาท้าไบโอดีเซลได้เช่นกัน และ น้้ามันพืชใช้แล้วก็เป็นวัตถุดิบอีกชนิดหนึ่งที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาใช้ผลิตไบโอดีเซลมา เนิ่นนานแล้ว โดยน้าน้้ามันเหลือใช้จากห้องเครื่องมาท้าเป็นไบโอดีเซล
  • 7. หลักการในการผลิต วัตถุดิบที่มีศักยภาพในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยได้แก่ น้้ามันพืชใช้แล้วและพืช น้้ามัน โดยน้ามาผสมกับเมทานอลหรือเอทานอล จะได้เมทิลเอสเตอร์หรือเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งก็คือไบ โอดีเซล และได้กลีเซอรอลเป็นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถน้ามาใช้ในอุตสาหกรรมและเครื่องส้าอางอีก ด้วย
  • 8. วัสดุอุปกรณ์ - จัดซื้อถังน้้าแบบกลมขนาด ๒๐๐ ลิตร ๑ ใบ - จัดซื้อถังน้้าแบบกลมขนาด ๑๐๐ ลิตร ๑ ใบ - ซื้อวาล์วน้้าขนาด ๑ นิ้ว ๑ ตัว -ข้องอ PVC ๔๕ องศา ขนาด ๖ หุน ๑ ตัว -ตัวลด PVC จาก ๖ หุน เหลือ ๔ หุน ยาว ๑ เมตร - ตัวลัดสายยางขนาด ๑ นิ้ว ๑ ตัว -ตัวลัดสายยางขนาด ๔ หุน ๑ ตัว - สายยางใสขนาด ๔ หุน ยาว ๑ เมตร - กรองดักน้้ารถบรรทุกแบบใสมองเห็นน้้ามันได้ ๑ ตัว -กรองดักน้้ารถบรรทุกแบบใสมองเห็นน้้ามันได้ ๑ ตัว - ลวดเชื่อม ๑ ห่อ - เหล็กท่อขนาด ๑ นิ้ว ครึ่ง จ้านวน ๔ เส้น - กรวยกรองน้้าขนาดปากกรวย ๙ นิ้ว มีตระแกรงกรอง ๑ ตัว (สั่งท้าจากร้านท้ารางน้้า) - กรวยกรองรูปไซทางเข้า ๑ นิ้ว และทางออก ๑ นิ้วมีตระแกรงจ้านวน ๑ ตัว (สั่งท้าจากร้านท้ารางน้้า) - ถังเก็บน้้ามันขนาด ๒๐ ลิตร จ้านวน ๒ ใบ - ท่อ PVC ขนาด ๑ นิ้ว ยาว ๒ เมตร
  • 9. ขั้นตอนในการผลิต - จัดหาน้้ามันพืชที่ใช้แล้ว - น้าน้้ามันพืชเทลงถัง ๒๐๐ ลิตร โดยผ่านกรวยกรองขนาด ๙ นิ้ว ลงถัง - เปิดวาวล์ตัวที่ ๑ ที่ติดกับถัง ๒๐๐ ลิตร - น้้ามันจะไหลตามท่อ พีวีซี ขนาด ๑ นิ้ว ลงถัง ๑๐๐ ลิตร โดยผ่านกรวยกรองรูปไซ - เมื่อน้าน้้ามันเทลงถังขนาด ๑๐๐ ลิตร แล้วเปิดวาวล์ถัง ๑๐๐ ลิตรตามท่อ พีวีซี ขนาด ๖ หุนและไหลตามสายยางใส สามารถมองเห็นน้้ามันไหลตามสายยางได้ - น้้ามันจะไหลเข้าทางท่อผ่านกรองน้้ามันจนกว่าจะเต็มกรองน้้ามัน - น้้ามันจะไหลผ่านกรองและไหลออกทางท่อของกรองน้้ามัน - กรองน้้ามันสามรถถอดเปลี่ยนได้ถ้ากรองอุดตัน - น้้ามันจะไหลตามสายยางใสผ่านไปยังกรองดักน้้า ส่วนกรองดักน้้านั้นจะมีทั้งท่อออกและท่อเข้า - เมื่อน้้ามันไหลเข้าจนเต็มกรองดักน้้ามันแล้ว น้ามันจะไหลออกทางท่อ - กรองดักน้้าจะท้าการแยกน้้ามันออกจากน้้าซึ่งอยูในตัวเดียวกัน ่ - ที่กรองดักน้้าจะมีท่อระบายน้้าทิ้งซึ่งอยูด้านล่างของกรองดักน้้า ่ - เมื่อเปิดน้้าทิ้งจะต้องปิดทุกครั้ง - กรองดักน้้าสามารถเปลี่ยนสามารถเปลี่ยนไส้กรองได้เมื่อเกิดการอุดตัน - เมื่อน้้ามันที่กรองได้แล้ว สามารถน้าไปใช้กับรถที่ใช้น้ามันดีเซลทุกชนิดและเครื่องจักรที่ใช้ดีเซล
  • 10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๑.ก้าลังพลที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ ร.๑๑ พัน.๒ รอ.ทั้งส่วนราชการและบ้านพัก ได้ช่วยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ และยังช่วยอนุรักษ์และประหยัดพลังงานในการ ด้าเนินงานตามรอยเบื้องพระยุคลบาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ตาม หลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒. ประหยัดพลังงานและลดค่าใช้จ่ายในด้านเชื้อเพลิงของ กองพันทหาร ราบที่ ๒ กรมทหารราบที่ ๑๑รักษาพระองค์ ๓.ประหยัดพลังงานและรักษาสภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศในการลด มลพิษในอากาศ ๔.ให้ก้าลังพลรู้จักคุณค่าของสิ่งของที่เหลือใช้ประเภทน้้ามันพืชสามารถ น้ามาพัฒนาเป็นพลังงานทดแทนน้้ามันเชื้อเพลิงได้