SlideShare a Scribd company logo
ไบโอดีเซล
   การศึกษาวิจยเกี่ยวกับเชื้ อเพลิงชีวภาพของโครงการส่วน
               ั
    พระองค์สวนจิตรลดา เริ่มต้นขึ้ นในปี พ.ศ.๒๕๒๘ ด้วย
    พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดาริวาใน
                               ่ ั                ่
    อนาคตว่าอาจเกิดการขาดแคลนน้ ามัน จึงมีพระราช
    ประสงค์ให้นาอ้อยมาผลิตแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็ นเชื้ อเพลิง
    โดยพระราชทานเงินทุนวิจยเริ่มต้นเป็ นจานวน ๙๒๕,๕๐๐
                                ั
    บาท
  การศึกษาวิจยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เริ่มตั้งแต่การทดลองปลูกอ้อย
                  ั
  หลายพันธุ์ เพื่อคัดเลือกพันธุที่ดีที่สุดนามาทาแอลกอฮอล์ นอกจากอ้อยที่ผลิตได้ภายใน
                                  ์
  โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาแล้วยังออกไปรับซื้ ออ้อยจากเกษตรกรเพื่อนามาเป็ น
  วัตถุดิบอีกด้วย
              โรงงานแอลกอฮอล์ซึ่งมีท้งเครื่องหีบอ้อย ถังหมัก หอกลันขนาดเล็ก เริ่มเดินเครื่อง
                                         ั                           ่
  การผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๕๒๙ สามารถผลิตแอลกอฮอล์ ๙๑ เปอร์เซ็นต์ได้ในอัตรา ๒.๘
  ลิตรต่อชัวโมง
             ่
              ต่อมาเนื่ องจากวัตถุดิบมีไม่เพียงพอ จึงเปลี่ยนมาใช้กากน้ าตาล และมีการสร้าง
  อาคารศึกษาวิจยหลังใหม่ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
                    ั
              สาหรับแอลกอฮอล์ที่ผลิตได้ในช่วงแรกยังไม่สามารถนาไปผสมกับเบนซินได้ จึง
  นาผลผลิตที่ได้ไปทาเป็ นน้ าส้มสายชูต่อมาก็ทาเป็ นแอลกอฮอล์แข็งใช้อุ่นอาหารให้กบทาง ั
  ห้องเครื่องของสวนจิตรลดา เนื่ องจากเดิมใช้แอลกอฮอล์เหลว ครั้งหนึ่ งเมื่อมีการขนส่ง
  แอลกอฮอล์เหลวไปยังพระตาหนักในภาคเหนื อ รถเกิดอุบติเหตุจนไฟไหม้รถทั้งคัน เพราะ
                                                              ั
  แอลกอฮอล์เป็ นเชื้ อเพลิงอย่างดี จึงได้มีการคิดนาแอลกอฮอล์มาทาเป็ นเชื้ อเพลิงแข็งเพื่อ
  ความปลอดภัยแทน
           โรงงานแอลกอฮอล์มีการปรับปรุงการกลันเรื่อยมาต่อมาก็สามารถผลิตแอลกอฮอล์
                                                       ่
  บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ หรือที่เรียกว่าเอทานอลได้เป็ นผลสาเร็จ
     วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเอทานอล
  วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลแบ่งออกเป็ น ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ
 วัตถุดิบประเภทแปง ได้แก่ ธัญพืช ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่ าง และพวก
                       ้
   พืชหัว เช่น มันสาปะหลัง มันฝรัง มันเทศ เป็ นต้น
                                  ่
 วัตถุดิบประเภทน้ าตาล ได้แก่ อ้อย กากน้ าตาล บีตรูต ข้าวฟ่ างหวาน เป็ นต้น
 วัตถุดิบประเภทเส้นใย ส่วนใหญ่เป็ นผลพลอยได้จากผลผลิตทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว
   ชานอ้อย ซังข้าวโพด ราข้าว เศษไม้ เศษกระดาษ ขี้ เลื่อย วัชพืช รวมทั้งของเสียจากโรงงาน
   อุตสาหกรรม เช่น โรงงานกระดาษ เป็ นต้น
 เมื่อโรงงานแอลกอฮอล์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาสามารถผลิตแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ได้
  ๙๕ เปอร์เซ็นต์ ก็ได้ทดลองนาไปผสมกับน้ ามันเบนซินเติมเครื่องยนต์ แต่ไม่ประสบความสาเร็จ
  เพราะแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์มีน้ าผสมอยูดวย ต้องนาไปกลันแยกน้ าเพื่อให้ได้
                                                    ่ ้             ่
  แอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ หรือเอทานอล ก่อนนาไปผสมกับน้ ามันเบนซิน
            โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาจึงนาแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ไปผ่าน
  กระบวนการแยกน้ าที่สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยเพื่อให้ได้เอทานอล
                                   ั
  และนากลับมาผสมกับน้ ามันเบนซินที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
             ปี พ.ศ.๒๕๓๗ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาขยายกาลังการผลิตเอทานอลเพื่อให้มี
  ปริมาณเพียงพอผสมกับน้ ามันเบนซิน ๙๑ ในอัตราส่วน ๑ : ๙ ได้เป็ นน้ ามันแก๊สโซฮอล์ เติมให้กบ ั
  รถยนต์ทุกคันของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ซึ่งเป็ นหนึ่ งในหกโครงการเฉลิมพระเกียรติ
  เนื่ องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ของสานัก
                                           ่ ั
  พระราชวัง
             เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
  เสด็จพระราชดาเนิ นไปทรงเปิ ดโรงงานผลิตแอลกอฮอล์เป็ นเชื้ อเพลิง โดยโรงกลันใหม่นี้มีกาลังการ
                                                                           ่
  ผลิตแอลกอฮอล์ได้ชวโมงละ ๒๕ ลิตรในกระบวนการกลันจะได้น้ ากากส่าเป็ นน้ าเสีย ซึ่งส่วนหนึ่ งใช้
                           ั่                           ่
  รดกองปุยหมักของโรงงานปุยอินทรีย์
           ๋                   ๋
   การผสมแอลกอฮอล์กบเบนซินของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาในระยะแรกเป็ นการ
                          ั
    นาน้ ามันและเอทานอลมาผสมในถังธรรมดา ใช้แรงงานคนเขย่าให้เข้ากัน ต่อมาบริษัท
    ปตท. จากัด (มหาชน) (การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทยในเวลานั้น) จึงน้อมเกล้าน้อม
    กระหม่อมถวายหอผสมและสถานี บริการน้ ามันแก๊สโซฮอล์แก่โครงการส่วนพระองค์สวน
    จิตรลดา
      ปี พ.ศ.๒๕๔๔ ภาคเอกชน ๒ กลุ่ม น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเครื่องแยกน้ าออกจาก
    เอทานอล (Dehydration Unit) ๒ แบบ คือ เครื่อง Molecular
    Sieve Dehydration Unit และเครื่อง Membrane
    Dehydration Unit
      ปั จจุบนสถานี บริการเชื้ อเพลิงในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา นอกจากผลิตน้ ามัน
              ั
    แก๊สโซฮอล์เติมให้กบรถยนต์ทุกคันของโครงการแล้ว งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้ อเพลิงของ
                        ั
    โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดายังเป็ นแหล่งความรูแก่ประชาชนที่สนใจอีกด้วย
                                                       ้
   ขั้นตอนการผลิตน้ ามันแก๊สโซฮอล์และสูตรการผสมที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา
   ขั้นตอนการผลิตน้ ามันแก๊สโซฮอล์ในเชิงพาณิชย์
   นาวัตถุดิบอย่างเช่นข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง อ้อย ข้าวฟ่ างหวาน ฯลฯ ไปผ่าน
    กระบวนการหมัก จากนั้นนาไปผ่านกระบวนการกลันและแยกให้บริสุทธิ์ ซึ่งจะทาให้ได้เอทา
                                                    ่
    นอล ๙๕ เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นนาไปผ่านกระบวนการแยกน้ า ทาให้ได้เป็ นเอทานอล
    ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ ก่อนนาไปผสมกับน้ ามันเบนซิน ถ้าผสมกับน้ ามันเบนซิน ๘๗ ก็จะได้เป็ น
    น้ ามันแก๊สโซฮอล์ ๙๑ ถ้าผสมกับน้ ามันเบนซิน ๙๑ ก็จะได้เป็ นน้ ามันแก๊สโซฮอล์ ๙๕
ดีโซฮอล์
      ดีโซฮอล์ คือ น้ ามันเชื้ อเพลิงที่ได้จากการผสมน้ ามันดีเซลกับแอลกอฮอล์ เพื่อนาไปใช้แทนน้ ามันของ
เครื่องยนต์ดีเซล
 โครงการดีโซฮอล์เริ่มขึ้ นในปี พ.ศ.๒๕๔๑ โดยโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาทดลองผสมแอลกอฮอล์ ๙๕
     เปอร์เซ็นต์กบน้ ามันดีเซลและสารอิมลซิไฟเออร์ ซึ่งมีคุณสมบัติทาให้แอลกอฮอล์กบ น้ ามันดีเซลผสมเข้ากัน
                  ั                          ั                                       ั
     ได้โดยไม่แยกกันที่อตราส่วน ๑๔:๘๕:๑
                          ั
 ดีโซฮอล์จะใช้กบเครื่องยนต์ดีเซล เช่น รถแทรกเตอร์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา จากผลการ
                       ั
     ทดลองพบว่าสามารถใช้เป็ นเชื้ อเพลิงได้ดีพอสมควร และสามารถลดควันดาลงไปประมาณ ๕๐ เปอร์เซ็นต์
      ปั จจุบนดีโซฮอล์เป็ นโครงการศึกษาวิจยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเท่านั้น ยังไม่มีการนา
              ั                                 ั
     ออกมาใช้ในเชิงพาณิชย์
     ไบโอดีเซล
         เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดาริให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สร้าง
                                                      ่ ั
โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มขนาดเล็กที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัดกระบี่ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง
โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็ก กาลังผลิตวันละ ๑๑๐ ลิตร ที่ศนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอัน
                                                                          ู
เนื่ องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส
         ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชดาเนิ นพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา
                                                           ่ ั
      ฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตรโรงงานสกัดน้ ามันปาล์มสาธิตที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมีพระ
      ราชดารัสให้ไปทดลองสร้างโรงงานให้กลุ่มเกษตรกรที่มีความพร้อมในพื้ นที่จริง
          ปี ถัดมา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จดสร้างโรงงานสกัดน้ ามันปาล์มทดลองขึ้ นที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก
                                              ั
      จังหวัดกระบี่
          ปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชกระแสให้สร้างโรงงานแปรรูปน้ ามันปาล์มขนาด
                                                  ่ ั
      เล็กครบวงจร ที่ศนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งแล้วเสร็จในปี
                       ู
      พ.ศ.๒๕๓๓
           ในปี พ.ศ.๒๕๔๓ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาและกองงานส่วนพระองค์ วังไกลกังวล อาเภอหัวหิน
      จังหวัดประจวบคีรีขนธ์ เริ่มการทดลองนาน้ ามันปาล์มมาใช้เป็ นเชื้ อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซล
                          ั
           จากการทดสอบพบว่า น้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ สามารถใช้เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงสาหรับ
      เครื่องยนต์ดีเซล โดยไม่ตองผสมกับน้ ามันเชื้ อเพลิงอื่น ๆ หรืออาจใช้ผสมกับน้ ามันดีเซลได้ต้งแต่ ๐.๐๑
                               ้                                                                ั
      เปอร์เซ็นต์ ไปจนถึง ๙๙.๙๙ เปอร์เซ็นต์
 สิทธิบตรการประดิษฐ์
          ั
   "การใช้น้ ามันปาล์มกลันบริสุทธิ์เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซล"
                            ่
     จากผลความสาเร็จดังกล่าว เมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึง
                                                                                    ่ ั
  ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คุณอาพล เสนาณรงค์ องคมนตรี เป็ นผูแทนพระองค์ยื่นจดสิทธิบตร
                                                                           ้            ั
  "การใช้น้ ามันปาล์มกลันบริสุทธิ์เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล"
                          ่
      ปี เดียวกันนั้นสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติอญเชิญอัญเชิญผลงานของพระบาทสมเด็จ
                                                    ั          ั
  พระเจ้าอยูหว ๓ ผลงาน คือ ทฤษฎีใหม่ โครงการฝนหลวงและโครงการน้ ามันไบโอดีเซลสูตรสกัด
              ่ ั
  จากน้ ามันปาล์ม ไปร่วมแสดงในงานนิ ทรรศการสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ "Brussels Eureka
  2001" ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม         ่
       โครงการน้ ามันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากน้ ามันปาล์ม ได้รบเหรียญทองประกาศนี ยบัตรสดุดี
                                                                  ั
  เทิดพระเกียรติคุณพร้อมถ้วยรางวัล

   ไบโอดีเซลคืออะไร
          ไบโอดีเซล (Biodiesel) คือ น้ ามันพืชหรือน้ ามันสัตว์ รวมทั้งน้ ามันใช้แล้วจากการปรุง
    อาหารนามาทาปฏิกิรยาทางเคมีกบแอลกอฮอล์ เรียกอีกอย่างว่าสารเอสเตอร์ มีคุณสมบัติใกล้เคียง
                                   ั
    กับน้ ามันดีเซลมาก และในกระบวนการผลิตยังได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ใน
    อุตสาหกรรมเครื่องสาอางค์อีกด้วย
   วัตถุดิบสาหรับการผลิตไบโอดีเซล
             วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลได้แก่น้ ามันพืชและน้ ามันสัตว์ทุกชนิ ด แต่การนาพืชน้ ามันชนิ ดใดมาทาเป็ นไบโอ
    ดีเซลนั้น แตกต่างกันไปตามลักษณะสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกาทาจากถัวเหลืองซึ่งปลูก ่
    เป็ นจานวนมาก ส่วนในประเทศแถบยุโรป ทาจากเมล็ดเรพและเมล็ดทานตะวัน เป็ นต้น
            สาหรับในประเทศไทยผลิตไบโอดีเซลจากมะพร้าวและปาล์มน้ ามัน โดยผลการวิจยในปั จจุบนพบว่าปาล์มคือพืชที่ดี
                                                                                            ั         ั
    และเหมาะสมที่สุดในการนามาใช้ทาไบโอดีเซล เพราะเป็ นพืชที่มีศกยภาพในการนามาผลิตเป็ นเชื้ อเพลิงสูงกว่าพืชน้ ามัน
                                                                        ั
    ชนิ ดอื่น จากการที่มีตนทุนการผลิตตา ให้ผลผลิตต่อพื้ นที่สง ปาล์มน้ ามันให้ผลผลิตน้ ามันต่อไร่สงกว่าเมล็ดเรพซึ่งใช้เป็ น
                              ้             ่                     ู                                ู
    วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศแถบยุโรปถึง ๕ เท่า และสูงกว่าถัวเหลืองที่ใช้กนมากในสหรัฐอเมริกาถึง ๑๐ เท่า
                                                                                ่         ั
              เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวมีรบสังกับผูบริหารบริษัท โตโยต้า มอเตอร์
                                                                          ่ ั ั ่     ้
    (ประเทศไทย) จากัด พร้อมด้วยผูบริหารจากประเทศญี่ปุ่นที่มาเข้าเฝ้ าฯเรื่องเมล็ดสบู่ดา ว่าน่ าจะมีคุณสมบัติบางอย่าง
                                          ้
    ดีกว่าน้ ามันปาล์มในการทา ไบโอดีเซล เพราะต้นสบู่ดาเจริญเติบโตได้เร็วกว่าปาล์มน้ ามัน และสามารถเก็บผลผลิตได้
    หลังจากปลูกไม่เกิน ๑ ปี นอกจากนั้นสบู่ดายังไม่เป็ นอาหารของมนุ ษย์หรือสัตว์ แม้จะมีขอเสียเรื่องพิษของเมล็ดสบู่ดาที่
                                                                                              ้
    อาจเกิดขึ้ นแก่มนุ ษย์ได้หากรับประทานหรือสัมผัส
              บริษัท โตโยต้าฯจึงร่วมกับหลายหน่ วยงาน อันได้แก่ สถาบันวิจยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
                                                                              ั
    บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และ Toyota Technical Center Asia-Pacific จัดทา
    โครงการวิจยเรื่องเมล็ดสบู่ดา
                   ั
             ทั้งนี้ จากการศึกษาเบื้ องต้นพบว่า ต้นสบู่ดาขยายพันธุง่ายและมีอายุยืนกว่าต้นปาล์ม โดยมีอายุยนถึง ๕๐ ปี และ
                                                                    ์                                     ื
    เริ่มเก็บผลผลิตได้เมื่ออายุ ๕-๘ เดือน สาหรับโครงการวิจยในขั้นต่อไปจะเป็ นการศึกษาแบบครบวงจร ตั้งแต่การวิจยเมล็ด
                                                                ั                                                   ั
    พันธุที่ให้น้ ามันสูงสุด การปลูก แมลงที่เป็ นศัตรูพืชและเป็ นประโยชน์ การเก็บเมล็ด การสกัดน้ ามัน การทดสอบกับ
          ์
    เครื่องยนต์ รวมทั้งการศึกษาเรื่องต้นทุนการผลิตด้วย
             นอกจากพืชดังกล่าวมาแล้ว น้ ามันพืชใช้แล้วก็สามารถนามาทาไบโอดีเซลได้เช่นกัน และน้ ามันพืชใช้แล้วก็เป็ น
    วัตถุดิบอีกชนิ ดหนึ่ งที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาใช้ผลิตไบโอดีเซลมาเนิ่ นนานแล้ว โดยนาน้ ามันเหลือใช้จากห้อง
    เครื่องมาทาเป็ นไบโอดีเซล
   หลักการผลิตไบโอดีเซล
      วัตถุดิบที่มีศกยภาพในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยได้แก่ น้ ามันพืชใช้แล้วและพืช
                    ั
น้ ามัน โดยนามาผสมกับเมทานอลหรือเอทานอล จะได้เมทิลเอสเตอร์หรือเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งก็
คือไบโอดีเซล และได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ในอุตสาหกรรมและ
เครื่องสาอางอีกด้วย
     ขั้นตอนในการผลิตไบโอดีเซลในเชิงพาณิชย์
        นาพืชน้ ามัน เช่น ปาล์มน้ ามัน มะพร้าว สบู่ดา ละหุง ฯลฯ ไปผ่านกระบวนการบีบหรือ
                                                           ่
    สกัดด้วยตัวทาละลายทาให้ได้น้ ามันพืช หลังจากนั้นผ่านกระบวนการทาให้บริสุทธิ์ นาไป
    ผ่านกระบวนการ transesterification ด้วยการเติมสารตระกูลแอลกอฮอล์ จะ
    ได้เป็ นไบโอดีเซล
 จัดทาโดย
 นางสาวเบญจวรรณ ไวกยี ม.4/6 เลขที่ 22

More Related Content

More from Firstii Romeo

58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
58170007 01 ชนาภา-คงเมือง58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
Firstii Romeo
 
ปิยวรรณ
ปิยวรรณปิยวรรณ
ปิยวรรณ
Firstii Romeo
 
สุภารัตน์
สุภารัตน์สุภารัตน์
สุภารัตน์
Firstii Romeo
 
สุมิตรา
สุมิตราสุมิตรา
สุมิตรา
Firstii Romeo
 
58170131 01
58170131 0158170131 01
58170131 01
Firstii Romeo
 
58170110 01
58170110 0158170110 01
58170110 01
Firstii Romeo
 

More from Firstii Romeo (6)

58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
58170007 01 ชนาภา-คงเมือง58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
58170007 01 ชนาภา-คงเมือง
 
ปิยวรรณ
ปิยวรรณปิยวรรณ
ปิยวรรณ
 
สุภารัตน์
สุภารัตน์สุภารัตน์
สุภารัตน์
 
สุมิตรา
สุมิตราสุมิตรา
สุมิตรา
 
58170131 01
58170131 0158170131 01
58170131 01
 
58170110 01
58170110 0158170110 01
58170110 01
 

ไบโอดีเซล

  • 2. การศึกษาวิจยเกี่ยวกับเชื้ อเพลิงชีวภาพของโครงการส่วน ั พระองค์สวนจิตรลดา เริ่มต้นขึ้ นในปี พ.ศ.๒๕๒๘ ด้วย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดาริวาใน ่ ั ่ อนาคตว่าอาจเกิดการขาดแคลนน้ ามัน จึงมีพระราช ประสงค์ให้นาอ้อยมาผลิตแอลกอฮอล์เพื่อใช้เป็ นเชื้ อเพลิง โดยพระราชทานเงินทุนวิจยเริ่มต้นเป็ นจานวน ๙๒๕,๕๐๐ ั บาท
  • 3.  การศึกษาวิจยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา เริ่มตั้งแต่การทดลองปลูกอ้อย ั หลายพันธุ์ เพื่อคัดเลือกพันธุที่ดีที่สุดนามาทาแอลกอฮอล์ นอกจากอ้อยที่ผลิตได้ภายใน ์ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาแล้วยังออกไปรับซื้ ออ้อยจากเกษตรกรเพื่อนามาเป็ น วัตถุดิบอีกด้วย  โรงงานแอลกอฮอล์ซึ่งมีท้งเครื่องหีบอ้อย ถังหมัก หอกลันขนาดเล็ก เริ่มเดินเครื่อง ั ่ การผลิตครั้งแรกในปี พ.ศ.๒๕๒๙ สามารถผลิตแอลกอฮอล์ ๙๑ เปอร์เซ็นต์ได้ในอัตรา ๒.๘ ลิตรต่อชัวโมง ่  ต่อมาเนื่ องจากวัตถุดิบมีไม่เพียงพอ จึงเปลี่ยนมาใช้กากน้ าตาล และมีการสร้าง อาคารศึกษาวิจยหลังใหม่ภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ั  สาหรับแอลกอฮอล์ที่ผลิตได้ในช่วงแรกยังไม่สามารถนาไปผสมกับเบนซินได้ จึง นาผลผลิตที่ได้ไปทาเป็ นน้ าส้มสายชูต่อมาก็ทาเป็ นแอลกอฮอล์แข็งใช้อุ่นอาหารให้กบทาง ั ห้องเครื่องของสวนจิตรลดา เนื่ องจากเดิมใช้แอลกอฮอล์เหลว ครั้งหนึ่ งเมื่อมีการขนส่ง แอลกอฮอล์เหลวไปยังพระตาหนักในภาคเหนื อ รถเกิดอุบติเหตุจนไฟไหม้รถทั้งคัน เพราะ ั แอลกอฮอล์เป็ นเชื้ อเพลิงอย่างดี จึงได้มีการคิดนาแอลกอฮอล์มาทาเป็ นเชื้ อเพลิงแข็งเพื่อ ความปลอดภัยแทน  โรงงานแอลกอฮอล์มีการปรับปรุงการกลันเรื่อยมาต่อมาก็สามารถผลิตแอลกอฮอล์ ่ บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ หรือที่เรียกว่าเอทานอลได้เป็ นผลสาเร็จ
  • 4. วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิตเอทานอล วัตถุดิบที่ใช้ผลิตเอทานอลแบ่งออกเป็ น ๓ ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ คือ  วัตถุดิบประเภทแปง ได้แก่ ธัญพืช ข้าวเจ้า ข้าวสาลี ข้าวโพด ข้าวบาร์เลย์ ข้าวฟ่ าง และพวก ้ พืชหัว เช่น มันสาปะหลัง มันฝรัง มันเทศ เป็ นต้น ่  วัตถุดิบประเภทน้ าตาล ได้แก่ อ้อย กากน้ าตาล บีตรูต ข้าวฟ่ างหวาน เป็ นต้น  วัตถุดิบประเภทเส้นใย ส่วนใหญ่เป็ นผลพลอยได้จากผลผลิตทางการเกษตร เช่น ฟางข้าว ชานอ้อย ซังข้าวโพด ราข้าว เศษไม้ เศษกระดาษ ขี้ เลื่อย วัชพืช รวมทั้งของเสียจากโรงงาน อุตสาหกรรม เช่น โรงงานกระดาษ เป็ นต้น
  • 5.  เมื่อโรงงานแอลกอฮอล์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาสามารถผลิตแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ได้ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ ก็ได้ทดลองนาไปผสมกับน้ ามันเบนซินเติมเครื่องยนต์ แต่ไม่ประสบความสาเร็จ เพราะแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์มีน้ าผสมอยูดวย ต้องนาไปกลันแยกน้ าเพื่อให้ได้ ่ ้ ่ แอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ หรือเอทานอล ก่อนนาไปผสมกับน้ ามันเบนซิน  โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาจึงนาแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์ไปผ่าน กระบวนการแยกน้ าที่สถาบันวิจยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทยเพื่อให้ได้เอทานอล ั และนากลับมาผสมกับน้ ามันเบนซินที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา  ปี พ.ศ.๒๕๓๗ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาขยายกาลังการผลิตเอทานอลเพื่อให้มี ปริมาณเพียงพอผสมกับน้ ามันเบนซิน ๙๑ ในอัตราส่วน ๑ : ๙ ได้เป็ นน้ ามันแก๊สโซฮอล์ เติมให้กบ ั รถยนต์ทุกคันของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา ซึ่งเป็ นหนึ่ งในหกโครงการเฉลิมพระเกียรติ เนื่ องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงครองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี ของสานัก ่ ั พระราชวัง  เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๓๘ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชดาเนิ นไปทรงเปิ ดโรงงานผลิตแอลกอฮอล์เป็ นเชื้ อเพลิง โดยโรงกลันใหม่นี้มีกาลังการ ่ ผลิตแอลกอฮอล์ได้ชวโมงละ ๒๕ ลิตรในกระบวนการกลันจะได้น้ ากากส่าเป็ นน้ าเสีย ซึ่งส่วนหนึ่ งใช้ ั่ ่ รดกองปุยหมักของโรงงานปุยอินทรีย์ ๋ ๋
  • 6. การผสมแอลกอฮอล์กบเบนซินของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาในระยะแรกเป็ นการ ั นาน้ ามันและเอทานอลมาผสมในถังธรรมดา ใช้แรงงานคนเขย่าให้เข้ากัน ต่อมาบริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) (การปิ โตรเลียมแห่งประเทศไทยในเวลานั้น) จึงน้อมเกล้าน้อม กระหม่อมถวายหอผสมและสถานี บริการน้ ามันแก๊สโซฮอล์แก่โครงการส่วนพระองค์สวน จิตรลดา  ปี พ.ศ.๒๕๔๔ ภาคเอกชน ๒ กลุ่ม น้อมเกล้าน้อมกระหม่อมถวายเครื่องแยกน้ าออกจาก เอทานอล (Dehydration Unit) ๒ แบบ คือ เครื่อง Molecular Sieve Dehydration Unit และเครื่อง Membrane Dehydration Unit  ปั จจุบนสถานี บริการเชื้ อเพลิงในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา นอกจากผลิตน้ ามัน ั แก๊สโซฮอล์เติมให้กบรถยนต์ทุกคันของโครงการแล้ว งานทดลองผลิตภัณฑ์เชื้ อเพลิงของ ั โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดายังเป็ นแหล่งความรูแก่ประชาชนที่สนใจอีกด้วย ้
  • 7. ขั้นตอนการผลิตน้ ามันแก๊สโซฮอล์และสูตรการผสมที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา  ขั้นตอนการผลิตน้ ามันแก๊สโซฮอล์ในเชิงพาณิชย์  นาวัตถุดิบอย่างเช่นข้าว ข้าวโพด มันสาปะหลัง อ้อย ข้าวฟ่ างหวาน ฯลฯ ไปผ่าน กระบวนการหมัก จากนั้นนาไปผ่านกระบวนการกลันและแยกให้บริสุทธิ์ ซึ่งจะทาให้ได้เอทา ่ นอล ๙๕ เปอร์เซ็นต์ หลังจากนั้นนาไปผ่านกระบวนการแยกน้ า ทาให้ได้เป็ นเอทานอล ๙๙.๕ เปอร์เซ็นต์ ก่อนนาไปผสมกับน้ ามันเบนซิน ถ้าผสมกับน้ ามันเบนซิน ๘๗ ก็จะได้เป็ น น้ ามันแก๊สโซฮอล์ ๙๑ ถ้าผสมกับน้ ามันเบนซิน ๙๑ ก็จะได้เป็ นน้ ามันแก๊สโซฮอล์ ๙๕
  • 8. ดีโซฮอล์ ดีโซฮอล์ คือ น้ ามันเชื้ อเพลิงที่ได้จากการผสมน้ ามันดีเซลกับแอลกอฮอล์ เพื่อนาไปใช้แทนน้ ามันของ เครื่องยนต์ดีเซล  โครงการดีโซฮอล์เริ่มขึ้ นในปี พ.ศ.๒๕๔๑ โดยโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาทดลองผสมแอลกอฮอล์ ๙๕ เปอร์เซ็นต์กบน้ ามันดีเซลและสารอิมลซิไฟเออร์ ซึ่งมีคุณสมบัติทาให้แอลกอฮอล์กบ น้ ามันดีเซลผสมเข้ากัน ั ั ั ได้โดยไม่แยกกันที่อตราส่วน ๑๔:๘๕:๑ ั  ดีโซฮอล์จะใช้กบเครื่องยนต์ดีเซล เช่น รถแทรกเตอร์ของโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดา จากผลการ ั ทดลองพบว่าสามารถใช้เป็ นเชื้ อเพลิงได้ดีพอสมควร และสามารถลดควันดาลงไปประมาณ ๕๐ เปอร์เซ็นต์  ปั จจุบนดีโซฮอล์เป็ นโครงการศึกษาวิจยภายในโครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาเท่านั้น ยังไม่มีการนา ั ั ออกมาใช้ในเชิงพาณิชย์
  • 9. ไบโอดีเซล เมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๖ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชดาริให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ สร้าง ่ ั โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มขนาดเล็กที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก จังหวัดกระบี่ และทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง โรงงานสกัดน้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ขนาดเล็ก กาลังผลิตวันละ ๑๑๐ ลิตร ที่ศนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอัน ู เนื่ องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส  ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๒๘ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวพระราชดาเนิ นพร้อมด้วยสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ่ ั ฯ สยามบรมราชกุมารี ทอดพระเนตรโรงงานสกัดน้ ามันปาล์มสาธิตที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และมีพระ ราชดารัสให้ไปทดลองสร้างโรงงานให้กลุ่มเกษตรกรที่มีความพร้อมในพื้ นที่จริง  ปี ถัดมา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์จดสร้างโรงงานสกัดน้ ามันปาล์มทดลองขึ้ นที่สหกรณ์นิคมอ่าวลึก ั จังหวัดกระบี่  ปี พ.ศ.๒๕๓๑ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวทรงมีพระราชกระแสให้สร้างโรงงานแปรรูปน้ ามันปาล์มขนาด ่ ั เล็กครบวงจร ที่ศนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทองอันเนื่ องมาจากพระราชดาริ จังหวัดนราธิวาส ซึ่งแล้วเสร็จในปี ู พ.ศ.๒๕๓๓  ในปี พ.ศ.๒๕๔๓ โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาและกองงานส่วนพระองค์ วังไกลกังวล อาเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขนธ์ เริ่มการทดลองนาน้ ามันปาล์มมาใช้เป็ นเชื้ อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซล ั  จากการทดสอบพบว่า น้ ามันปาล์มบริสุทธิ์ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ สามารถใช้เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงสาหรับ เครื่องยนต์ดีเซล โดยไม่ตองผสมกับน้ ามันเชื้ อเพลิงอื่น ๆ หรืออาจใช้ผสมกับน้ ามันดีเซลได้ต้งแต่ ๐.๐๑ ้ ั เปอร์เซ็นต์ ไปจนถึง ๙๙.๙๙ เปอร์เซ็นต์
  • 10.  สิทธิบตรการประดิษฐ์ ั "การใช้น้ ามันปาล์มกลันบริสุทธิ์เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ดีเซล" ่  จากผลความสาเร็จดังกล่าว เมื่อวันที่ ๙ เมษายน พ.ศ.๒๕๔๔ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวจึง ่ ั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้คุณอาพล เสนาณรงค์ องคมนตรี เป็ นผูแทนพระองค์ยื่นจดสิทธิบตร ้ ั "การใช้น้ ามันปาล์มกลันบริสุทธิ์เป็ นน้ ามันเชื้ อเพลิงเครื่องยนต์ดีเซล" ่  ปี เดียวกันนั้นสานักงานคณะกรรมการวิจยแห่งชาติอญเชิญอัญเชิญผลงานของพระบาทสมเด็จ ั ั พระเจ้าอยูหว ๓ ผลงาน คือ ทฤษฎีใหม่ โครงการฝนหลวงและโครงการน้ ามันไบโอดีเซลสูตรสกัด ่ ั จากน้ ามันปาล์ม ไปร่วมแสดงในงานนิ ทรรศการสิ่งประดิษฐ์นานาชาติ "Brussels Eureka 2001" ณ กรุงบรัสเซลส์ ประเทศเบลเยียม ่  โครงการน้ ามันไบโอดีเซลสูตรสกัดจากน้ ามันปาล์ม ได้รบเหรียญทองประกาศนี ยบัตรสดุดี ั เทิดพระเกียรติคุณพร้อมถ้วยรางวัล  ไบโอดีเซลคืออะไร  ไบโอดีเซล (Biodiesel) คือ น้ ามันพืชหรือน้ ามันสัตว์ รวมทั้งน้ ามันใช้แล้วจากการปรุง อาหารนามาทาปฏิกิรยาทางเคมีกบแอลกอฮอล์ เรียกอีกอย่างว่าสารเอสเตอร์ มีคุณสมบัติใกล้เคียง ั กับน้ ามันดีเซลมาก และในกระบวนการผลิตยังได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ใน อุตสาหกรรมเครื่องสาอางค์อีกด้วย
  • 11. วัตถุดิบสาหรับการผลิตไบโอดีเซล  วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลได้แก่น้ ามันพืชและน้ ามันสัตว์ทุกชนิ ด แต่การนาพืชน้ ามันชนิ ดใดมาทาเป็ นไบโอ ดีเซลนั้น แตกต่างกันไปตามลักษณะสภาพภูมิอากาศและภูมิประเทศ เช่น ประเทศสหรัฐอเมริกาทาจากถัวเหลืองซึ่งปลูก ่ เป็ นจานวนมาก ส่วนในประเทศแถบยุโรป ทาจากเมล็ดเรพและเมล็ดทานตะวัน เป็ นต้น  สาหรับในประเทศไทยผลิตไบโอดีเซลจากมะพร้าวและปาล์มน้ ามัน โดยผลการวิจยในปั จจุบนพบว่าปาล์มคือพืชที่ดี ั ั และเหมาะสมที่สุดในการนามาใช้ทาไบโอดีเซล เพราะเป็ นพืชที่มีศกยภาพในการนามาผลิตเป็ นเชื้ อเพลิงสูงกว่าพืชน้ ามัน ั ชนิ ดอื่น จากการที่มีตนทุนการผลิตตา ให้ผลผลิตต่อพื้ นที่สง ปาล์มน้ ามันให้ผลผลิตน้ ามันต่อไร่สงกว่าเมล็ดเรพซึ่งใช้เป็ น ้ ่ ู ู วัตถุดิบในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศแถบยุโรปถึง ๕ เท่า และสูงกว่าถัวเหลืองที่ใช้กนมากในสหรัฐอเมริกาถึง ๑๐ เท่า ่ ั  เมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวมีรบสังกับผูบริหารบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ่ ั ั ่ ้ (ประเทศไทย) จากัด พร้อมด้วยผูบริหารจากประเทศญี่ปุ่นที่มาเข้าเฝ้ าฯเรื่องเมล็ดสบู่ดา ว่าน่ าจะมีคุณสมบัติบางอย่าง ้ ดีกว่าน้ ามันปาล์มในการทา ไบโอดีเซล เพราะต้นสบู่ดาเจริญเติบโตได้เร็วกว่าปาล์มน้ ามัน และสามารถเก็บผลผลิตได้ หลังจากปลูกไม่เกิน ๑ ปี นอกจากนั้นสบู่ดายังไม่เป็ นอาหารของมนุ ษย์หรือสัตว์ แม้จะมีขอเสียเรื่องพิษของเมล็ดสบู่ดาที่ ้ อาจเกิดขึ้ นแก่มนุ ษย์ได้หากรับประทานหรือสัมผัส  บริษัท โตโยต้าฯจึงร่วมกับหลายหน่ วยงาน อันได้แก่ สถาบันวิจยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ั บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) และ Toyota Technical Center Asia-Pacific จัดทา โครงการวิจยเรื่องเมล็ดสบู่ดา ั  ทั้งนี้ จากการศึกษาเบื้ องต้นพบว่า ต้นสบู่ดาขยายพันธุง่ายและมีอายุยืนกว่าต้นปาล์ม โดยมีอายุยนถึง ๕๐ ปี และ ์ ื เริ่มเก็บผลผลิตได้เมื่ออายุ ๕-๘ เดือน สาหรับโครงการวิจยในขั้นต่อไปจะเป็ นการศึกษาแบบครบวงจร ตั้งแต่การวิจยเมล็ด ั ั พันธุที่ให้น้ ามันสูงสุด การปลูก แมลงที่เป็ นศัตรูพืชและเป็ นประโยชน์ การเก็บเมล็ด การสกัดน้ ามัน การทดสอบกับ ์ เครื่องยนต์ รวมทั้งการศึกษาเรื่องต้นทุนการผลิตด้วย  นอกจากพืชดังกล่าวมาแล้ว น้ ามันพืชใช้แล้วก็สามารถนามาทาไบโอดีเซลได้เช่นกัน และน้ ามันพืชใช้แล้วก็เป็ น วัตถุดิบอีกชนิ ดหนึ่ งที่โครงการส่วนพระองค์สวนจิตรลดาใช้ผลิตไบโอดีเซลมาเนิ่ นนานแล้ว โดยนาน้ ามันเหลือใช้จากห้อง เครื่องมาทาเป็ นไบโอดีเซล
  • 12. หลักการผลิตไบโอดีเซล วัตถุดิบที่มีศกยภาพในการผลิตไบโอดีเซลในประเทศไทยได้แก่ น้ ามันพืชใช้แล้วและพืช ั น้ ามัน โดยนามาผสมกับเมทานอลหรือเอทานอล จะได้เมทิลเอสเตอร์หรือเอทิลเอสเตอร์ ซึ่งก็ คือไบโอดีเซล และได้กลีเซอรอลเป็ นผลพลอยได้ ซึ่งสามารถนามาใช้ในอุตสาหกรรมและ เครื่องสาอางอีกด้วย ขั้นตอนในการผลิตไบโอดีเซลในเชิงพาณิชย์  นาพืชน้ ามัน เช่น ปาล์มน้ ามัน มะพร้าว สบู่ดา ละหุง ฯลฯ ไปผ่านกระบวนการบีบหรือ ่ สกัดด้วยตัวทาละลายทาให้ได้น้ ามันพืช หลังจากนั้นผ่านกระบวนการทาให้บริสุทธิ์ นาไป ผ่านกระบวนการ transesterification ด้วยการเติมสารตระกูลแอลกอฮอล์ จะ ได้เป็ นไบโอดีเซล