SlideShare a Scribd company logo
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาPHP
ความเป็นมาของภาษาPHP
ประวัติความเป็นมา
 PHP เดิมย่อมาจาก Personal Home Page Tools
 Rasmus Lerdorf โปรแกรมเมอร์ชาวอเมริกัน เป็นผู้สร้างใน
ปี ค.ศ. 1994 เนื่องจากต้องการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเก็บข้อมูลของ
ผู้ใช้ที่แวะเวียนเข้ามาเยี่ยมชมโฮมเพจส่วนตัวของเขา
 ปัจจุบัน PHP ย่อมาจาก : Hypertext Preprocessor
 เป็นคําย่อแบบกล่าวซํ้า(recursive)
จากคํา ว่าPHP Hypertext Preprocessor
ภาษาPHP คืออะไร
 คือภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทโอเพนซอร์ท (Open Source
Computer Language)
 ใช้สําหรับพัฒนา Web page แบบ Dynamic เมื่อเครื่องบริการ
ได้รับคําร้องจากผู้ใช้ก็จะส่งให้กับตัวแปลภาษา
 ทําหน้าที่ประมวลผลและส่งข้อมูลกลับไปยังเครื่องของผู้ใช้ที่ร้องขอ ใน
รูป HTML ภาพ หรือแฟ้ ม digital อื่นๆ
 ลักษณะของภาษามีรากฐานคําสั่งมาจากภาษาซี, ภาษาจาวา( java ) และ
ภาษาเพิร์ล ( Perl )
 ภาษา PHP นั้นง่ายต่อการเรียนรู้ ซึ่งเป้ าหมายหลักของภาษานี้ คือให้
นักพัฒนาเว็บไซต์สามารถเขียน เว็บเพจ ที่มีความตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว
 PHP เป็นผลงานที่เติบโตมาจากกลุ่มของนักพัฒนาในเชิงเปิดเผยรหัสต้นฉบับ
หรือOpen Source
 PHP ใช้ร่วมกับApache Web server ระบบปฏิบัติ
เช่นLinux หรือ FreeBSD
 PHP ปัจจุบันสามารถใช้ร่วมกับWeb Server หลาย ๆ ตัวบน
ระบบปฏิบัติการ อย่างเช่นWindows 95/98/NT/2000/XP
 PHP เป็นภาษาจําพวกscripting language คําสั่งต่างๆจะเก็บอยู่
ในไฟล์ที่เรียกว่าสคริปต์ (script) และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปล
ชุดคําสั่ง ตัวอย่างของภาษาสคริปก็เช่น JavaScript, Perl เป็นต้น
 PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML-
embedded scripting language เป็นเครื่องมือที่สําคัญ
ช่วยให้เราสามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและมีลูกเล่น
 PHP ได้รับการพัฒนาและออกแบบมา เพื่อใช้งานในการสร้างเอกสาร
แบบ HTML โดยสามารถ สอดแทรกหรือแก้ไขเนื้อหาได้โดยอัตโนมัติ
คุณสมบัติภาษาPHP
• การแสดงผลของพีเอชพี จะปรากฏในลักษณะ HTML ซึ่งจะไม่
แสดงคําสั่งที่ผู้ใช้เขียน เป็นลักษณะเด่นของพีเอชพีที่แตกต่างจากภาษา
ในลักษณะไคลเอนต์-ไซด์ สคริปต์ เช่น ภาษาจาวาสคริปต์ ที่ผู้ชม
เว็บไซต์สามารถอ่าน ดูและคัดลอกคําสั่งไปใช้ได้
• PHP เป็นภาษาที่เรียนรู้และเริ่มต้นได้ โดยมีเครื่องมือช่วยเหลือและ
คู่มือที่สามารถหาอ่านได้ฟรีบนอินเทอร์เน็ต
ความสามารถการประมวลผลหลักของPHP
 การสร้างเนื้อหาอัตโนมัติจัดการคําสั่ง การอ่านข้อมูลจากผู้ใช้และ
ประมวลผล
 การอ่านข้อมูลจาก data base
 ความสามารถจัดการกับ cookie ซึ่งทํางานเช่นเดียวกับ
โปรแกรมในลักษณะ CGI
 การประมวลผลตามบรรทัดคําสั่ง (command line
scripting) ทําให้ผู้เขียนโปรแกรมสร้างสคริปต์ PHP ทํางาน
ผ่าน PHP parser โดยไม่ต้องผ่านเซิร์ฟเวอร์หรือเบราว์เซอร์
การแสดงผลของพีเอชพี
 จุดประสงค์หลักใช้ในการแสดงผล HTML แต่สามารถ
สร้าง XHTML หรือ XML ได้
 สามารถทํางานร่วมกับคําสั่งเสริมต่างๆ ซึ่งสามารถแสดงผลข้อมูล
หลัก PDF แฟลช (โดยใช้ libswf และMing)
 PHP มีความสามารถในการทํางานประมวลผลข้อความ จาก POSIX
Extended หรือ รูปแบบ Perl ทั่วไป เพื่อแปลงเป็นเอกสาร XMLในการ
แปลงและเข้าสู่เอกสาร XML
 สามารถทํางานร่วมกับโปรแกรมอื่น เช่น Cybercash payment,
CyberMUT, VeriSign Payflow Pro และ CCVS functions เพื่อใช้ใน
การสร้างโปรแกรมทําธุรกรรมทางการเงิน
การรองรับPHP
• คําสั่งของ PHP สามารถสร้างผ่านทางโปรแกรมแก้ไขข้อความ
ทั่วไป เช่น โน้ตแพด หรือ vi ทําให้การทํางาน PHP สามารถ
ทํางานได้ในระบบปฏิบัติการหลักเกือบทั้งหมด
• ส่วนหลักของ PHP มี Module ในการ
รองรับ CGI มาตรฐาน ซึ่ง PHP สามารถทํางานเป็นตัว
ประมวลผล CGI ด้วย
• ด้วย PHP มีอิสระในการเลือก ระบบปฏิบัติการ และ เว็บเซิร์ฟเวอร์
นอกจากนี้ยังสามารถใช้สร้างโปรแกรมโครงสร้าง สร้างโปรแกรมเชิง
วัตถุ (OOP) หรือสร้างโปรแกรมที่รวมทั้งสองอย่างเข้าด้วยกัน
• PHP สามารถทํางานร่วมกับฐานข้อมูลได้หลายชนิด ฐานข้อมูลที่
รองรับได้แก่ ออราเคิล , dBase
Postgre SQL, IBM ,DB2 , My SQL
Informix ODBC โครงสร้างของฐานข้อมูล
แบบ DBX ทําให้พีเอชพีใช้กับฐานข้อมูลอะไรก็ได้ที่รองรับรูปแบบ
นี้

More Related Content

What's hot

การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
yudohappyday
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรSanyawadee
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6krunuy5
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshopแนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
Manop Kongoon
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ไพบูลย์ วงษ์ปาน
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
Khunakon Thanatee
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
Kull Ch.
 

What's hot (20)

การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
การเขียนบทประกอบภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Script Writing for Motion Graphic)
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กรบทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
บทที่5 ระบบข้อมูลข่าวสารในยุคไอทีและผลกระทบต่อองค์กร
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTubeการสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
การสร้างวิดีโอสอนออนไลน์ด้วย Camtasia และการสร้างช่อง YouTube
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพิวเตอร์
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshopแนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
แนะนำโปรแกรม Adobe Photoshop
 
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
HTML PHP MySQL สำหรับเว็บโปรแกรมเมอร์มือใหม่
 
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
การออกแบบกราฟิกส่วนประสานงานกับผู้ใช้ (Graphical User Interface)
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)การจัดวางตัวอักษร (Typography)
การจัดวางตัวอักษร (Typography)
 
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
การใช้งานระบบปฏิสัมพันธ์ทางคอมพิวเตอร์ (Using Computer Interaction Systems)
 
คู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkableคู่มือ Thunkable
คู่มือ Thunkable
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอินเทอร์เน็ต (Internet Fundamental)
 
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
การเขียนบทความวิจัยนวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา (Research Article Wr...
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internetความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Internet
 

Viewers also liked

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
Khon Kaen University
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHP
EKNARIN
 
ทบทวน Html
ทบทวน Htmlทบทวน Html
ทบทวน HtmlSchool
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
Know Mastikate
 
Php basic
Php basicPhp basic
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
Samart Phetdee
 
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความคู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
Pakornkrits
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (10)

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHPความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษา PHP
 
เริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHPเริ่มต้นกับ PHP
เริ่มต้นกับ PHP
 
ทบทวน Html
ทบทวน Htmlทบทวน Html
ทบทวน Html
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
Php basic
Php basicPhp basic
Php basic
 
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
เขียนเว็บไซต์ด้วย Html 5
 
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความคู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาPhp

Introduction to PHP programming
Introduction to PHP programmingIntroduction to PHP programming
Introduction to PHP programming
Rachabodin Suwannakanthi
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์0908067327
 
คณิศร บุตรดีไชย
คณิศร  บุตรดีไชยคณิศร  บุตรดีไชย
คณิศร บุตรดีไชยMinny Doza
 
Php
PhpPhp
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5nichaphat22
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555M'Mod Ta Noy
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555M'Mod Ta Noy
 
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])krunoommr
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
จูน นะค่ะ
 

Similar to ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาPhp (13)

Answer unit2.1
Answer unit2.1Answer unit2.1
Answer unit2.1
 
Ch19
Ch19Ch19
Ch19
 
Introduction to PHP programming
Introduction to PHP programmingIntroduction to PHP programming
Introduction to PHP programming
 
งานครูปลาม์
งานครูปลาม์งานครูปลาม์
งานครูปลาม์
 
คณิศร บุตรดีไชย
คณิศร  บุตรดีไชยคณิศร  บุตรดีไชย
คณิศร บุตรดีไชย
 
Php
PhpPhp
Php
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 
ใบงานที่5555
ใบงานที่5555ใบงานที่5555
ใบงานที่5555
 
Ch18
Ch18Ch18
Ch18
 
Answer unit2.3
Answer unit2.3Answer unit2.3
Answer unit2.3
 
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
(Php basic 1 [โหมดความเข้ากันได้])
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 

More from KwanJai Cherubstar (20)

Introprogramphp
IntroprogramphpIntroprogramphp
Introprogramphp
 
Programstructure
ProgramstructureProgramstructure
Programstructure
 
Unit3.1variables
Unit3.1variablesUnit3.1variables
Unit3.1variables
 
Unit4maintain edit
Unit4maintain editUnit4maintain edit
Unit4maintain edit
 
Unit4maintain
Unit4maintainUnit4maintain
Unit4maintain
 
Unit3coding
Unit3codingUnit3coding
Unit3coding
 
Unit2flowchart
Unit2flowchartUnit2flowchart
Unit2flowchart
 
Unit1 ph pprogram
Unit1 ph pprogramUnit1 ph pprogram
Unit1 ph pprogram
 
Answer unit4.4.1
Answer unit4.4.1Answer unit4.4.1
Answer unit4.4.1
 
Answer unit4.3.2
Answer unit4.3.2Answer unit4.3.2
Answer unit4.3.2
 
Answer unit4.3.1
Answer unit4.3.1Answer unit4.3.1
Answer unit4.3.1
 
Answer unit4.2.5
Answer unit4.2.5Answer unit4.2.5
Answer unit4.2.5
 
Answer unit4.2.4
Answer unit4.2.4Answer unit4.2.4
Answer unit4.2.4
 
Answer unit4.2.3
Answer unit4.2.3Answer unit4.2.3
Answer unit4.2.3
 
Answer unit4.2.2
Answer unit4.2.2Answer unit4.2.2
Answer unit4.2.2
 
Answer unit4.2.1
Answer unit4.2.1Answer unit4.2.1
Answer unit4.2.1
 
Answer unit4.1.2
Answer unit4.1.2Answer unit4.1.2
Answer unit4.1.2
 
Answer unit4.1.1
Answer unit4.1.1Answer unit4.1.1
Answer unit4.1.1
 
Answer unit3.2
Answer unit3.2Answer unit3.2
Answer unit3.2
 
Answer unit3.1
Answer unit3.1Answer unit3.1
Answer unit3.1
 

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษาPhp

  • 2. ประวัติความเป็นมา  PHP เดิมย่อมาจาก Personal Home Page Tools  Rasmus Lerdorf โปรแกรมเมอร์ชาวอเมริกัน เป็นผู้สร้างใน ปี ค.ศ. 1994 เนื่องจากต้องการพัฒนาโปรแกรมเพื่อเก็บข้อมูลของ ผู้ใช้ที่แวะเวียนเข้ามาเยี่ยมชมโฮมเพจส่วนตัวของเขา  ปัจจุบัน PHP ย่อมาจาก : Hypertext Preprocessor  เป็นคําย่อแบบกล่าวซํ้า(recursive) จากคํา ว่าPHP Hypertext Preprocessor
  • 3. ภาษาPHP คืออะไร  คือภาษาคอมพิวเตอร์ประเภทโอเพนซอร์ท (Open Source Computer Language)  ใช้สําหรับพัฒนา Web page แบบ Dynamic เมื่อเครื่องบริการ ได้รับคําร้องจากผู้ใช้ก็จะส่งให้กับตัวแปลภาษา  ทําหน้าที่ประมวลผลและส่งข้อมูลกลับไปยังเครื่องของผู้ใช้ที่ร้องขอ ใน รูป HTML ภาพ หรือแฟ้ ม digital อื่นๆ  ลักษณะของภาษามีรากฐานคําสั่งมาจากภาษาซี, ภาษาจาวา( java ) และ ภาษาเพิร์ล ( Perl )  ภาษา PHP นั้นง่ายต่อการเรียนรู้ ซึ่งเป้ าหมายหลักของภาษานี้ คือให้ นักพัฒนาเว็บไซต์สามารถเขียน เว็บเพจ ที่มีความตอบโต้ได้อย่างรวดเร็ว
  • 4.  PHP เป็นผลงานที่เติบโตมาจากกลุ่มของนักพัฒนาในเชิงเปิดเผยรหัสต้นฉบับ หรือOpen Source  PHP ใช้ร่วมกับApache Web server ระบบปฏิบัติ เช่นLinux หรือ FreeBSD  PHP ปัจจุบันสามารถใช้ร่วมกับWeb Server หลาย ๆ ตัวบน ระบบปฏิบัติการ อย่างเช่นWindows 95/98/NT/2000/XP  PHP เป็นภาษาจําพวกscripting language คําสั่งต่างๆจะเก็บอยู่ ในไฟล์ที่เรียกว่าสคริปต์ (script) และเวลาใช้งานต้องอาศัยตัวแปล ชุดคําสั่ง ตัวอย่างของภาษาสคริปก็เช่น JavaScript, Perl เป็นต้น
  • 5.  PHP เป็นภาษาที่เรียกว่า server-side หรือ HTML- embedded scripting language เป็นเครื่องมือที่สําคัญ ช่วยให้เราสามารถสร้างเอกสารแบบ Dynamic HTML ได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีลูกเล่น  PHP ได้รับการพัฒนาและออกแบบมา เพื่อใช้งานในการสร้างเอกสาร แบบ HTML โดยสามารถ สอดแทรกหรือแก้ไขเนื้อหาได้โดยอัตโนมัติ
  • 6. คุณสมบัติภาษาPHP • การแสดงผลของพีเอชพี จะปรากฏในลักษณะ HTML ซึ่งจะไม่ แสดงคําสั่งที่ผู้ใช้เขียน เป็นลักษณะเด่นของพีเอชพีที่แตกต่างจากภาษา ในลักษณะไคลเอนต์-ไซด์ สคริปต์ เช่น ภาษาจาวาสคริปต์ ที่ผู้ชม เว็บไซต์สามารถอ่าน ดูและคัดลอกคําสั่งไปใช้ได้ • PHP เป็นภาษาที่เรียนรู้และเริ่มต้นได้ โดยมีเครื่องมือช่วยเหลือและ คู่มือที่สามารถหาอ่านได้ฟรีบนอินเทอร์เน็ต
  • 7. ความสามารถการประมวลผลหลักของPHP  การสร้างเนื้อหาอัตโนมัติจัดการคําสั่ง การอ่านข้อมูลจากผู้ใช้และ ประมวลผล  การอ่านข้อมูลจาก data base  ความสามารถจัดการกับ cookie ซึ่งทํางานเช่นเดียวกับ โปรแกรมในลักษณะ CGI  การประมวลผลตามบรรทัดคําสั่ง (command line scripting) ทําให้ผู้เขียนโปรแกรมสร้างสคริปต์ PHP ทํางาน ผ่าน PHP parser โดยไม่ต้องผ่านเซิร์ฟเวอร์หรือเบราว์เซอร์
  • 8. การแสดงผลของพีเอชพี  จุดประสงค์หลักใช้ในการแสดงผล HTML แต่สามารถ สร้าง XHTML หรือ XML ได้  สามารถทํางานร่วมกับคําสั่งเสริมต่างๆ ซึ่งสามารถแสดงผลข้อมูล หลัก PDF แฟลช (โดยใช้ libswf และMing)  PHP มีความสามารถในการทํางานประมวลผลข้อความ จาก POSIX Extended หรือ รูปแบบ Perl ทั่วไป เพื่อแปลงเป็นเอกสาร XMLในการ แปลงและเข้าสู่เอกสาร XML  สามารถทํางานร่วมกับโปรแกรมอื่น เช่น Cybercash payment, CyberMUT, VeriSign Payflow Pro และ CCVS functions เพื่อใช้ใน การสร้างโปรแกรมทําธุรกรรมทางการเงิน
  • 9. การรองรับPHP • คําสั่งของ PHP สามารถสร้างผ่านทางโปรแกรมแก้ไขข้อความ ทั่วไป เช่น โน้ตแพด หรือ vi ทําให้การทํางาน PHP สามารถ ทํางานได้ในระบบปฏิบัติการหลักเกือบทั้งหมด • ส่วนหลักของ PHP มี Module ในการ รองรับ CGI มาตรฐาน ซึ่ง PHP สามารถทํางานเป็นตัว ประมวลผล CGI ด้วย • ด้วย PHP มีอิสระในการเลือก ระบบปฏิบัติการ และ เว็บเซิร์ฟเวอร์ นอกจากนี้ยังสามารถใช้สร้างโปรแกรมโครงสร้าง สร้างโปรแกรมเชิง วัตถุ (OOP) หรือสร้างโปรแกรมที่รวมทั้งสองอย่างเข้าด้วยกัน
  • 10. • PHP สามารถทํางานร่วมกับฐานข้อมูลได้หลายชนิด ฐานข้อมูลที่ รองรับได้แก่ ออราเคิล , dBase Postgre SQL, IBM ,DB2 , My SQL Informix ODBC โครงสร้างของฐานข้อมูล แบบ DBX ทําให้พีเอชพีใช้กับฐานข้อมูลอะไรก็ได้ที่รองรับรูปแบบ นี้