SlideShare a Scribd company logo
มารคซ์ และ เองเกลส์
แถลงการณพรรคคอมมวนสต์
e-Published by Georgian Section of Comintern (SH)
2014
1.1 แนะนํา แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ (ฉบับภาษาทันสมัย)
โดย ใจ อึ๊งภากรณ์
แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ ถือได ้ว่าเป็นคําประกาศนโยบายขององค์กร “สันนิบาตคอมมิวนิสต์” ที่ คาร์ล มา
ร์คซ์ และ เฟรเดอริค เองเกิลส์ เขียนขึ้นในปี 1848 ต ้นกําเนิดของงานนี้เริ่มเมื่อ เองเกิลส์ เสนอว่าควรมีการเขียน
หนังสือสั้นๆ เพื่อตอบคําถามว่า “ชาวคอมมิวนิสต์คิดอย่างไรเกี่ยวกับสภาพสังคมปัจจุบัน?” ดังนั้นหนังสือ
แถลงการณ์ฯ เป็นหนังสือประกาศนโยบายของชาวมาร์คซิสต์ทั่วโลก และถึงแม ้ว่าเวลาได ้ผ่านไป 150 กว่าปี
หลังจากที่หนังสือนี้แรกออกมา และหนังสือนี้ได ้ถูกตีพิมพ์ในภาษาต่างๆของมนุษย์อย่างทั่วถึงมากกว่าหนังสือ
อื่นใดในโลก แต่เนื้อหาส่วนใหญ่ยังสอดคล ้องกับจุดยืนชาวมาร์คซิสต์ในศตวรรษที่ 21
อย่างไรก็ตามเมื่อ "ชมรมหนังสือประชาธิปไตยแรงงาน" พิมพ์ แถลงการณ์ฯ ออกมาในปี ๒๕๔๑ และขายให ้
กรรมาชีพและคนทั่วไปอ่านในประเทศไทย ก็ได ้มีเสียงสะท ้อนกลับมาว่าภาษาของหนังสือเล่มนี้แสนจะโบราณ
เข ้าใจยาก! ดังนั้นในการตีพิมพ์ครั้งนี้ทีมงาน กปร. ได ้พยายามปรับภาษาและเนื้อหาให ้เข ้าใจง่ายขึ้นสําหรับคน
ยุคปัจจุบัน และมีการตัดส่วนที่ 3 "เอกสารสังคมนิยมและเอกสารคอมมิวนิสต์" ออกไป เนื่องจากเป็นการงานที่
มาร์คซ์ กับ เองเกิลส์ เขียนเพื่อวิจารณ์แนวคิดสังคมนิยมอื่นๆ ที่ดํารงอยู่ในยุคนั้นและไม่ค่อยสอดคล ้องกับแนว
ซ ้ายหลักๆ ที่ดํารงอยู่ในปัจจุบัน แต่ในการตีพิมพ์ แถลงการณ์ฯ ฉบับนี้ เราจําเป็นต ้องฝากคําเตือนให ้ท่านผู ้อ่าน
ว่า การปรับภาษาและเนื้อหาให ้เข ้าใจง่ายขึ้นย่อมทําให ้รสชาติของหนังสือเดิมหายไป บ ้างและบางครั้งอาจมีการ
ตีความตามแนวคิดของเราเองด ้วย ดังนั้นเราแนะนําให ้ท่านที่ต ้องการเรียนรู ้เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้มากยิ่ง ขึ้น จง
กลับไปอ่านฉบับต่างๆ ที่เคยถูกแปลเป็นไทยในยุคหลัง ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ และฉบับภาษาอังกฤษหรือภาษา
เยอรมัน ถ ้าเป็นไปได ้เพื่อให ้ท่านได ้เปรียบเทียบฉบับเดิมๆ กับฉบับนี้ แล ้วท่านจะได ้ภาพที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
นอกจากเรื่องของภาษาแล ้ว มีอีกสิ่งหนึ่งที่ต ้องอธิบายอย่างชัดเจน เพราะเป็นคําถามที่ถูกตั้งขึ้นเสมอ นั้นคือ
เรื่องของคํานิยาม “ชนชั้นกรรมาชีพ” ในมุมมองมาร์คซิสต์ ชนชั้นกรรมาชีพคือ ผู ้ที่ไร ้ปัจจัยการผลิต คือ
“ลูกจ้าง” คือกรรมกรโรงงาน พนักงานปกคอขาวที่ทํางานในออฟฟิศ ครูบาอาจารย์ พยาบาล หรือลูกจ้างในห ้าง
ร ้าน ฯลฯ และเมื่อท่านได ้อ่านหนังสือ แถลงการณ์ฯ เล่มนี้จะเห็นการนิยามชนชั้นกรรมาชีพแบบนี้ในหลายจุดโดย
มาร์คซ์ และเองเกิลส์
ชนชั้นกรรมาชีพคือหัวใจของสังคมนิยมมาร์คซิสต์ คาร์ล มาร์คซ์ และนักมาร์คซิสต์อื่นๆ ไม่ได ้นั่งวิเคราะห์โลก
เพื่อความสนุกสนานทางวิชาการ เราวิเคราะห์โลกเพื่อเปลี่ยนให ้มันดีขึ้น และที่สําคัญเราวิเคราะห์โลกจากมุม
มองผลประโยชน์ของชนชั้นกรรมาชีพ ผู ้เป็นคนส่วนใหญ่ของสังคมในศตวรรษใหม่นี้ ในที่สุดเราหวังว่าการ
วิเคราะห์ของชาวมาร์คซิสต์จะนําไปสู่การต่อสู ้เพื่อ สร ้างระบบการเมืองและเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม โดยที่ชน
ชั้นกรรมาชีพต ้องเป็นผู ้ที่มีส่วนในการปลดแอกตนเอง สังคมนิยมสร ้างไม่ได ้ถ ้าสร ้างโดยคนส่วนน้อย ดังนั้นเพื่อ
แสดงจุดยืนตรงนี้ที่ชัดเจนของชาวมาร์คซิสต์ เราได ้ตีพิมพ์คํานําที่เองเกิลส์เขียนไว ้ในฉบับภาษาอังกฤษปี 1888
มาประกอบในที่นี้ด ้วย
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
1 of 30 26.09.2014 14:44
หนังสือ แถลงการณ์ฯ เริ่มต ้นด ้วยการพูดถึงความคัดแย ้งทางชนชั้นที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงของ สังคม
มนุษย์จนถึงการก่อตัวของทุนนิยม ต่อจากนั้นมีการชมระบบทุนนิยมว่ามีพลังมหาศาลและก่อให ้เกิดการพัฒนา
เปลี่ยน แปลงของวิธีเลี้ยงชีพและโครงสร ้างสังคมมนุษย์อย่างที่คนรุ่นก่อนคงนึกไม่ถึง แต่หลังจากนั้นมีการกล่าว
ถึงข ้อเสียของทุนนิยมที่ทําลายความอบอุ่นของชีวิต และทั้งๆ ที่ทุนนิยมมีพลังการผลิตมหาศาลก็ไม่สามารถ
ตอบสนองความต ้องการของมนุษย์ส่วน ใหญ่ได ้เนื่องจากกลไกตลาดและวิกฤตเศรษฐกิจการเมืองที่เกิดขึ้นเป็น
ประจํา แต่ภาพปัญหาของทุนนิยมไม่ควรทําให ้เราหดหู่ เพราะทุนนิยมได ้สร ้าง "ผู ้ขุดหลุมฝังศพ" ของทุนนิยม
เอง ขึ้นมาท่ามกลางระบบ นั้นคือชนชั้นกรรมาชีพ สมัยใหม่ อย่างไรก็ตามชนชั้นกรรมาชีพจะไม่สามารถต่อสู ้เพื่อ
ชัยชนะของสังคมนิยมได ้โดย อัตโนมัติ ดังนั้นส่วนท ้ายของ แถลงการณ์ฯ จะเน้นจุดยืนที่ชาวสังคมนิยม (หรือ
ชาวคอมมิวนิสต์) ควรนํามาใช ้ในการต่อสู ้และความสําคัญของการสร ้างพรรคของกรรมาชีพเพื่อบรรลุผลสําเร็จ
ในรอบ 70 กว่าปีที่ผ่านมา หลังความล ้มเหลวของการปฏิวัติรัสเซีย 1917 ลัทธิมาร์คซ์ได ้ผ่านยุคแห่งการบิด
เบือนมหาศาลภายใต ้แนวคิดของสํานัก สตาลิน-เหมา (ซึ่งรวมถึงพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยด ้วย) หลัง
จากที่แนวนี้และระบบ เผด็จการที่เป็น “ทุนนิยมโดยรัฐ” ได ้ล่มสลายลงในรัสเซียและยุโรปตะวันออกในปี 1989
(ดูหนังสือ “อะไรนะลัทธิ มาร์คซ์” เล่ม 1 บทที่ 4) ศตวรรษใหม่นี้จะเป็นศตวรรษแห่งการรื้อฟื้นแนวคิดมาร์คซิสต์
เพื่อก ้าวต่อไป สู่โลกใหม่ที่ปลดแอกมนุษย์ นั่นคือ โลกแห่งสังคมนิยม... .
ในทุนนิยม ผลงานที่มนุษย์สร้างไว ้ในอดีตกลับมาเป็นเจ้านายเหนือเรา
- อดีตครอบงําปัจจุบัน
แต่ในสังคมนิยม มนุษย์จะเป็นเจ้านายของผลงานที่เราสร้างไว ้ในอดีต
- ปัจจุบันจะครอบงําอดีต
(มาร์คซ์ กับ เองเกิลส์ ใน แถลงการณ์พรรค คอมมิวนิสต์ หน้า----)
คํานําฉบับภาษาอ ังกฤษปี 1888
“แถลงการณ์ฯ” ได ้ประกาศออกไปในฐานะเป็นหลักนโยบายของสันนิบาตชาวคอมมิวนิสต์ ซึ่งเมื่อแรกเริ่มเป็น
สมาคมของกรรมาชีพเยอรมันโดยเฉพาะ ต่อมาเป็นสมาคมของกรรมาชีพสากล และตามเงื่อนไขทางการเมืองใน
ภาคพื้นยุโรปก่อนปี 1847 นั้นย่อมจะต ้องเป็นองค์การจัดตั้งของกรรมาชีพที่เป็นสมาคมลับ ที่ประชุมสมัชชาผู ้
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
2 of 30 26.09.2014 14:44
แทนสันนิบาต ณ กรุงลอนดอนเมื่อเดือน พฤศจิกายน 1847 ได ้มอบหมายให ้มาร์คซ์ และเองเกิลส์ร่างหลัก
นโยบายของพรรคที่มีความครบถ ้วนทั้งทางทฤษฎีและทาง ปฏิบัติเพื่อประกาศออกไป ต ้นฉบับเขียนเสร็จเป็น
ภาษาเยอรมันเมื่อเดือนมกราคม 1848 และได ้ส่งไปพิมพ์ที่ลอนดอนก่อนหน้าการปฏิวัติฝรั่งเศสวันที่ 24
กุมภาพันธ์ เพียงไม่กี่สัปดาห์ ฉบับแปลภาษาฝรั่งเศสได ้จัดพิมพ์ในปารีสก่อนการลุกขึ้นสู ้เดือน มิถุนายน 1848
ไม่นานนัก ฉบับแปลภาษาอังกฤษฉบับแรกลงพิมพ์ในนิตยสาร " เดอะเร็ด รีปับลิกัน " ของยอร์ช จูเลียน ฮาร์นี ใน
ลอนดอนปี 1850 แปลโดยนางสาวเฮเลน แมคฟาร์เลน ขณะเดียวกันก็ได ้จัดพิมพ์ฉบับแปลภาษาเดนมาร์คและ
ภาษาโปแลนด์ด ้วย
ความพ่ายแพ ้ของการลุกขึ้นสู ้เดือนมิถุนายนในปารีสปี 1848 ซึ่งเป็นการรณรงค์ใหญ่ครั้งแรกระหว่างชนชั้น
กรรมาชีพ กับชนชั้นนายทุนได ้ผลักความเรียกร ้องต ้องการทางสังคม และทางการเมืองของชนชั้นกรรมาชีพยุโรป
ไปไว ้ข ้างหลังเป็นการชั่วคราว นับแต่นั้นมาการต่อสู ้แย่งชิงอํานาจปกครองก็เหมือนกับเมื่อก่อนการปฏิวัติ เดือน
กุมภาพันธ์ คือ ดําเนินไปในระหว่างกลุ่มต่างๆของชนชั้นผู ้มีทุนเท่านั้น ชนชั้นกรรมาชีพถูกบีบให ้จํากัดอยู่แค่การ
ช่วงชิงเสรีภาพในการเคลื่อนไหวทาง การเมืองบางอย่าง และใช ้จุดยืนของพวกปีกซ ้ายสุดของฝ่ ายหัวรุนแรงชน
ชั้นนายทุนด ้วย การเคลื่อนไหวของชนชั้นกรรมาชีพทั้งปวงที่เป็นอิสระมีชีวิตชีวาในเวลาต่อมา ล ้วนถูกปราบ
ปรามอย่างไร ้ความปรานี เช่น ตํารวจปรัสเซียได ้พบคณะกรรมการกลางของสันนิบาตชาวคอมมิวนิสต์ซึ่งเวลานั้น
ตั้งอยู่ที่โคโลน กรรมการกลางจํานวนหนึ่งถูกจับกุมและหลังจากถูกคุมขังเป็นเวลา 18 เดือนแล ้วก็ถูกส่งขึ้นศาล
พิพากษาเมื่อเดือนตุลาคม 1852 การพิจารณา " คดีชาวพรรคคอมมิวนิสต์โคโลน " อันมีชื่อครั้งนี้เริ่มตั้งแต่วันที่ 4
ตุลาคม จนถึงวันที่ 12 พฤศจิกายน ในบรรดาจําเลยเหล่านี้มี 7 คน ที่ถูกตัดสินจําคุกในป้อมมีกําหนดโทษต่างกัน
ตั้งแต่ 3 ปี ถึง 6 ปี หลังจากประกาศคําพิพากษาแล ้ว สมาชิกที่เหลืออยู่ก็ได ้ยุบเลิกสันนิบาตอย่างเป็นทางการ
ส่วน " แถลงการณ์ ฯ" นั้นดูเหมือนจะเป็นที่แน่นอนว่าจะต ้องถูกลืมไปเสียตั้งแต่นั้นมา
เมื่อชนชั้นกรรมาชีพยุโรปได ้รวบรวมกําลังกันขึ้นใหม่ จนพอที่จะก่อการรุกโจมตีชนชั้นปกครองอีกครั้งนั้น สมาคม
กรรมาชีพสากลก็ได ้เกิดขึ้น แต่วัตถุประสงค์ที่แจ่มชัดในการตั้งสมาคมนี้ก็เพื่อที่จะให ้ชนชั้นกรรมาชีพ ที่กําลังสู ้
รบของยุโรปและอเมริกาทั้งหมดสามัคคีอยู่ในองค์รวมเดียวกัน ดังนั้นสมาคมนี้จึงไม่อาจประกาศหลักการที่วางไว ้
ใน “แถลงการณ์ฯ” ในทันทีทันใด สากลฯ ควรมีหลักนโยบายอันกว ้างขวางเพียงพอเพื่อให ้สหบาลกรรมกร
อังกฤษ พวกปรูดองในฝรั่งเศส เบลเยี่ยม อิตาลี และสเปญ ตลอดจนพวกลาส์ซาลส์ [1]
ในเยอรมนีสามารถรับได ้
มาร์คซ์ผู ้ซึ่งได ้ร่างหลักนโยบายอันเป็นที่พอใจของพรรคทั้งปวงนี้ เวลานั้นได ้ฝากความหวังอันเต็มเปี่ยมไว ้กับ
การพัฒนาทางจิตใจของชนชั้น กรรมาชีพ ซึ่งย่อมจะต ้องเกิดขึ้นจากการปฏิบัติการร่วมกันและการอภิปรายร่วม
กัน เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆในระหว่างการต่อสู ้คัดค ้านทุน ซึ่งย่อมจะแพ ้มากกว่าเป็นผู ้ชนะย่อมทํา
ให ้คนทั้งหลายรับรู ้ว่ายาขนานที่รักษา โรคต่างๆได ้สารพัดอันเป็นสูตรสําเร็จที่นิยมของพวกเขานั้นใช ้ไม่ได ้เลย
ทั้งจะทําให ้พวกเขาเข ้าใจเงื่อนไขอันแท ้จริงแห่งการปลดแอกชนชั้นกรรมาชีพได ้ถ่องแท ้ยิ่งขึ้น
มาร์คซ์ถูกต ้องขณะที่สากลฯ ยุบเลิกในปี 1874 นั้น กรรมาชีพได ้แตกต่างไปจากเมื่อครั้งตั้งสากลฯ ในปี 1864
อย่างสิ้นเชิง ลัทธิปรูดองในฝรั่งเศสและลัทธิลาส์ซาลส์ในเยอรมันนีใกล ้จะสิ้นลมอยู่แล ้ว แม ้กระทั่งสหบาล
กรรมกรอังกฤษที่อนุรักษ์นิยม ซึ่งส่วนมากได ้ตัดความสัมพันธ์กับสากลฯมานานแล ้วนั้น ก็ก ้าวขึ้นทีละขั้นๆ จน
กระทั่งประธานของพวกเขาได ้แถลงในนามของสหบาลเหล่านี้ในการประชุมสมัชชาผู ้แทน ณ สวอนซี ปีที่แล ้ว
ว่า "กล่าวสําหรับเรา สังคมนิยมในภาคพื้นยุโรปไม่น่ากลัวอีกแล ้ว " จริงทีเดียวหลักการของ “แถลงการณ์ฯ ” ได ้
เผยแพร่กว ้างขวางมากในหมู่กรรมาชีพประเทศต่างๆ ทั่วโลกแล ้ว
เมื่อเป็นเช่นนี้ “แถลงการณ์ฯ” ก็ออกมาสู่หน้าเวทีอีกครั้งหนึ่ง เริ่มตั้งแต่ปี 1850 เป็นต ้นมา ฉบับภาษาเยอรมัน
ฉบับแรก ได ้พิมพ์ซํ้าหลายครั้งในสวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ และอเมริกา ปี 1872 มีผู ้แปลเป็นภาษษอังกฤษใน
นิวยอร์ค และลงพิมพ์ในนิตยสาร " วูดฮัลแอนด์ คลาฟลินส์วีคลี่ " ที่นั่น ต่อจากนั้นได ้มีผู ้แปลจากฉบับภาษา
อังกฤษนี้เป็นภาษาฝรั่งเศส ลงพิมพ์ในนิตยสาร " เลอ โซเซียลิสต์ " ในนิวยอร์ค ต่อมาในอเมริกาได ้ปรากฏฉบับ
แปลภาษาอังกฤษที่บิดเบนไปบ ้างอย่างน้อยก็อีก 2 ฉบับ และในสองฉบับนี้ ฉบับหนึ่งยังเคยพิมพ์ซํ้าในอังกฤษ
ฉบับภาษารัสเซียฉบับแรกซึ่งแปลโดยบาคูนินได ้พิมพ์ที่โรงพิมพ์ "คอโลโคล" ของเกร์เชนในเจนีวาประมาณปี
1863 ฉบับแปลภาษารัสเซียฉบับที่ 2 ที่แปลโดย เวรจาซูลิช ผู ้กล ้าหาญ ก็ได ้จัดพิมพ์ที่เจนีวาเช่นเดียวกันเมื่อปี
1882 ฉบับแปลภาษาเดนมาร์คฉบับใหม่ ได ้จัดพิมพ์เป็นหนังสือเล่มในชุดสังคมประชาธิปไตย " ที่โคเปนเฮเกน
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
3 of 30 26.09.2014 14:44
ปี 1885 ฉบับแปลภาษาฝรั่งเศส ฉบับใหม่ตีพิมพ์ในนิตยสาร
" เลอ โซเซียลิสต์" ในปารีส ปี 1886 และ ฉบับหลังนี้ได ้มีผู ้แปลเป็นภาษาสเปน จัดพิมพ์ในแมดริด ปี 1886 ส่วน
ฉบับภาษาเยอรมันที่พิมพ์ใหม่นั้นมีจํานวน รวมแล ้วอย่างน้อยก็มี 12 ฉบับ ฉบับแปลภาษาอาร์เมเนีย อันที่จริงควร
จะพิมพ์ออกจําหน่ายเมื่อไม่กี่เดือนก่อนในคอนสแตนติโนเปิล แต่แล ้วก็ไม่ได ้พิมพ์ออกมามีผู ้บอกข ้าพเจ้าว่า
เพราะผู ้จัดพิมพ์กลัวการระบุ ชื่อของมาร์คซ์ในหน้าหนังสือและผู ้แปลก็ปฏิเสธที่จะพิมพ์ “แถลงการณ์ฯ” โดยถือ
เป็นงานเขียนของตนเกี่ยวกับฉบับแปลภาษาอื่นๆ ที่จัดพิมพ์ในภายหลังแม ้ว่าข ้าพเจ ้าเคยได ้ฟังแต่ก็ไม่ได ้เห็น
กับตาเอง ฉะนั้นประวัติของ “แถลงการณ์ฯ” จึงเป็นการสะท ้อนประวัติการเคลื่อนไหวของกรรมาชีพสมัยใหม่ใน
ระดับสูง เวลานี้ไม่เป็นที่สงสัยเลยว่า “แถลงการณ์ฯ” เป็นนิพนธ์ที่เผยแพร่กว ้างขวางที่สุดและมีลักษณะสากลที่
สุด ในบรรดาเอกสารสากลนิยมทั้งหมดและเป็นหลักนโยบายร่วมกัน เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในหมู่กรรมาชีพเรือน
แสนเรือนล ้าน ตั้งแต่ไซบีเรียไปจนถึงแคลิฟอร์เนีย
แต่ว่าขณะที่เราเขียน “ แถลงการณ์ฯ” นี้ เราจะเรียกแถลงการณ์นี้ว่า แถลงการณ์ ส ังคมนิยมไม่ ได ้ในปี 1847 ที่
เรียกกันว่าชาวสังคมนิยมนั้น ด ้านหนึ่งหมายถึงพวกที่เลื่อมใสทฤษฎีเพ ้อฝันต่างๆ ซึ่งก็คือ พวกโอเวนในอังกฤษ
และพวกฟูริแอร์ในฝรั่งเศส ทั้งสองพวกนี้ได ้กลายเป็นกลุ่มเล็กๆไปแล ้วและค่อยๆ ก ้าวไปสู่ความพินาศ อีกด ้าน
หนึ่งหมายถึงหมอสังคมถ่อยๆ ชนิดต่างๆ ซึ่งล ้วนแต่รับปากว่าจะใช ้วิธีปะโน่นปิดนี่หน่อย มาขจัดปัดเป่ าโรคภัย
ทั้งปวงของสังคมโดยไม่ให ้เสียหายแก่ทุนและผลกําไรแม ้แต่ น้อย คนสองประเภทนี้ล ้วนยืนอยู่นอกการเคลื่อน
ไหวของชนชั้นกรรมาชีพและยอมไปหาความ สนันสนุนจากชนชั้น "ที่ได ้รับการศึกษา" มากกว่า ส่วนในหมู่ชนชั้น
กรรมาชีพในเวลานั้นพวกที่เชื่อมั่นว่าการปฏิวัติเปลี่ยน แปลงทางการเมืองล ้วนๆไม่เพียงพอเสียแล ้ว และเห็นว่า
ต ้องดัดแปลงสังคมโดยรากฐาน พวกเขาได ้เรียกตัวเขาเองว่าชาวคอมมิวนิสต์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ชนิดนี้เป็นลัทธิ
คอมมิวนิสต์ที่ออกจะหยาบอยู่มาก ยังขาดการขัดเกลาและเกิดจากสัญชาตญาณโดยแท ้แต่มันมิได ้แตะต ้องจุด
ที่สําคัญที่สุด และได ้เข ้มแข็งขึ้นในหมู่ชนชั้นกรรมาชีพจนพอแก่การก่อรูปขึ้นเป็นลัทธิ คอมมิวนิสต์เพ ้อฝันของ
คาเบต์ในฝรั่งเศสและของไวท์ลิงในเยอรมนี นอกจากนี้จะเห็นได ้ว่าในปี 1847 สังคมนิยมเป็นการเคลื่อนไหวของ
ชนชั้นกลาง ส่วนลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นการเคลื่อนไหวของชนชั้นกรรมาชีพ เวลานั้นสังคมนิยมอย่างน้อยก็เป็น
“ที่น่านับถือ” ในภาคพื้นยุโรป แต่ลัทธิคอมมิวนิสต์นั้นกลับตรงกันข ้าม เมื่อเราได ้มีความคิดเห็นกันมาตั้งแต่เริ่ม
ต ้นแล ้วว่า
“ การปลดแอกของชนชั้นกรรมาชีพจักต้องเป็ นเรื่องของชนชั้นกรรมาชีพเอง เท่านั้น” ดังนั้นเราจึงมิได ้
สงสัยแม ้แต่น้อยว่า ในระหว่างสองชื่อนี้ควรเลือกเอาชื่อใดดี ยิ่งกว่านั้นในเวลาต่อมาเราก็ไม่เคยคิดเลยว่าจะทิ้ง
ชื่อนี้ด ้วย
แม ้ว่า “แถลงการณ์ฯ” จะเป็นงานเขียนร่วมกันของเราสองคนก็ตาม แต่ถึงอย่างไรข ้าพเจ ้าก็เห็นควรจะต ้องชี้ว่า
หลักการพื้นฐานที่ประกอบขึ้นเป็นแก่นของ “แถลงการณ์ฯ” นั้น เป็นของมาร์คซ์แต่ผู ้เดียว หลักการนี้ก็คือแบบวิธี
การผลิตทางเศรษฐกิจ กับแบบวิธีการแลกเปลี่ยนที่สําคัญและโครงสร ้างของสังคมที่จะต ้องเกิดขึ้น อย่างแน่
นอน จากสิ่งดังกล่าวในยุคประวัติศาสตร์แต่ละยุคนั้นเป็นรากฐานการก่อตัวของ ประวัติศาสตร์ทางการเมืองและ
จิตใจของยุคนั้นๆ และมีแต่เริ่มจากรากฐานนี้เท่านั้นจึงจะสามารถอธิบายประวัติศาสตร์นี้ได ้ด ้วยเหตุนี้ประวัติ
ศาสตร์ทั้งหมดของมนุษยชาติ (นับตั้งแต่การสลายตัวของสังคมเผ่าชนบุพกาลซึ่งที่ดินเป็นกรรมสิทธิ์ร่วมกัน เป็น
ต ้นมา) จึงล ้วนเป็นประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู ้ทางชนชั้น ซึ่งก็คือประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู ้ระหว่างชนชั้นขูดรีด
กับชนชั้นที่ถูกขูด รีด ระหว่างชนชั้นปกครองกับชนชั้นที่ถูกกดขี่ ประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู ้ทางชนชั้นนี้ได ้รวม
ขั้นแห่งการพัฒนามากมายหลาย ขั้น บัดนี้ได ้ถึงขั้นที่ว่าถ ้าชนชั้นที่ถูกขูดรีดและถูกกดขี่(ชนชั้นกรรมาชีพ) ไม่ทํา
ให ้สังคมทั้งสังคมหลุดพ ้นจากการขูดรีดและกดขี่ไม่ว่าชนิดใด ตลอดจนการแบ่งชนชั้นและการต่อสู ้ทางชนชั้น
พร ้อมกันไปให ้แล ้วเสร็จในรวดเดียว แล ้ว ก็จะไม่สามารถปลดแอกตนเองจากการควบคุมของชนชั้นที่ขูดรีดและ
ปกครอง( ชนชั้นนายทุน ) ตนได ้
ความคิดนี้ตามความเห็นของข ้าพเจ ้าเห็นว่า ควรจะมีคุณูปการแก่วิชาประวัติศาสตร์เช่นเดียวกับที่ทฤษฎีของ
ดาร์วินได ้มี คุณูปการแก่ชีววิทยา ตั้งแต่ก่อนหน้าปี 1845 หลายปี เราสองคนก็ได ้ค่อยๆเข ้าใกล ้กับความคิดนี้ไป
ถึงขั้นไหน จะเห็นได ้อย่างกระจ่างแจ ้งจากหนังสือของข ้าพเจ ้าเรื่อง “ ภาวการณ์ของชนชั้นกรรมาชีพประทศ
อังกฤษ”[2]
แต่ครั้นถึงฤดูใบไม ้ผลิปี 1845 ขณะ
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
4 of 30 26.09.2014 14:44
ที่ข ้าพเจ ้าได ้พบกับมาร์คซ์อีกครั้งหนึ่งในกรุงบรัสเซล เขาได ้จัดความคิดนี้เป็นรูปออกมาแล ้ว และยังได ้อธิบาย
แก่ข ้าพเจ้าด ้วยถ ้อยคําอันแจ่มแจ้งเกือบจะเหมือนกับที่ ข ้าพเจ ้าได ้บรรยายไว ้ข ้างต ้น บัดนี้ข ้าพเจ้าขอคัดข ้อ
ความตอนหนึ่งจากคํานําที่เราร่วมกันเขียนในฉบับภาษา เยอรมันปี 1872 ดังต่อไปนี้
“ไม่ว่าสภาพในช่วงระยะ 25 ปีมานี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายสักเพียงใดก็ตาม หลักการพื้นฐานทั่วไปที่วาง
ไว ้ใน “แถลงการณ์ฯ” นี้กล่าวโดยทั่วไปแล ้ว จนบัดนี้ก็ยังคงถูกต ้องอย่างสิ้นเชิง อันที่จริงบางแห่งอาจปรับปรุง
แก ้ไขได ้บ ้าง การนําพื้นฐานเหล่านี้ไปใช ้ในทางปฏิบัตินั้นก็ดังที่ “แถลงการณ์ฯ” ได ้กล่าวไว ้คือ ในทุกแห่งและ
ทุกกาละล ้วนขึ้นอยู่กับเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ในเวลานั้น ด ้วยเหตุนี้มาตรการปฏิวัติเหล่านั้นที่เสนอไว ้ในต ้อน
ท ้ายของบทที่ 2 จึงไม่มีความหมายเป็นพิเศษแต่อย่างใด ปัจจุบันข ้อความตอนนี้ในหลายๆ ด ้านควรเขียนให ้ต่าง
ออกไป เนื่องด ้วยตั้งแต่ปี 1848 เป็นต ้นมา อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ได ้ขยายตัวไปอย่างมาก องค์การจัดตั้งของ
ชนชั้นกรรมาชีพก็ได ้ปรับปรุงและขยายตัวไปด ้วย เนื่องจากก่อนอื่นได ้ความจัดเจนในทางปฏิบัติจากการปฏิวัติ
เดือนกุมภาพันธ์ และต่อมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งได ้ความจัดเจนในทางปฏิบัติจากคอมมูนปารีส ซึ่งเป็นครั้งแรกที่
ชนชั้นกรรมาชีพกุมอํานาจรัฐไว ้ได ้นานถึง 2 เดือน ฉะนั้นเวลานี้บางแห่งในหลักนโยบายนี้จึงได ้พ ้นสมัยไปแล ้ว
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คอมมูนฯ ได ้พิสูจน์ว่า " ชนชั้นกรรมาชีพจะยึดกุมกลไกรัฐสําเร็จรูปอย่างง่ายๆ และใช ้มันมา
บรรลุซึ่งจุดมุ่งหมายของตนนั้นไม่ได ้“ (ดู “สงครามกลางเมืองในฝรั่งเศส แถลงการณ์ของคณะกรรมการทั่วไป
แห่งกรรมาชีพสากล” ลอนดอน สํานักพิมพ์ ทรูลัฟ ปี 1871 หน้า 15 ในนั้นได ้ขยายความคิดนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น)
ประการต่อมาเป็นที่แจ่มชัดอย่างยิ่งเช่นกันว่า ความเห็นเกี่ยวกับปัญหาท่าทีของชาวพรรคคอมมิวนิสต์ที่มีต่อ
พรรคฝ่ ายค ้านต่าง ๆ (บทที่ ๔) แม ้ว่าโดยหลักใหญ่แล ้วเวลานี้ยังถูกต ้องอยู่ก็ตาม แต่เนื่องจากสถานการณ์ทาง
การเมืองได ้เปลี่ยนแปลงไปแล ้วโดยสิ้นเชิง และบรรดาพรรคการเมืองที่ยกขึ้นมากล่าวในเวลานั้น ส่วนใหญ่ก็ได ้
ถูกวิถีแห่งการพัฒนาของประวัติศาสตร์กวาดไปจนหมดสิ้นแล ้ว ฉะนั้นความเห็นเหล่านั้นในทางปฏิบัติถึงอย่างไร
ก็ได ้พ ้นสมัยไปแล ้ว
“แต่” แถลงการณ์ ฯ “เป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเราไม่มีสิทธิ์ที่จะทําการแก ้ไขอีก” ฉบับแปลนี้แปลโดย
นายแซมมวล มัวร์ ซึ่งเป็นผู ้แปลหนังสือ “ว่าด้วยทุน” ของมาร์คซ์เป็นส่วนใหญ่ ข ้าพเจ ้าได ้ตรวจทานคําแปลกับ
เขามาแล ้วครั้งหนึ่ง และข ้าพเจ ้ายังได ้เพิ่มเติมหมายเหตุช่วยความเข ้าใจบางอย่างที่มีลักษณะ ประวัติศาสตร์
ด ้วย
เอฟ . เองเกิลส์
ลอนดอน 30 มกราคม 1888
* * *
1. ลาส์ซาลล์เองเวลามาสัมพันธ์กับเราเขามักจะถือว่าตัวเขาเป็นศิษย์ของมาร์คซ์ เสมอ และในฐานะที่เป็นศิษย์
ของมาร์คซ์เขายืนอยู่บนจุดยืนของ “แถลงการณ์ฯ” แต่ในการโฆษณาเปิดเผยของเขาระหว่างปี 1862-1864
กลับมิได ้เรียกร ้องเกินไปกว่าความต ้องการที่จะตั้งสหกรณ์การผลิต โดยอาศัยเงินกู ้จากรัฐเลย (หมายเหตุโดย
เองเกิลส์ )
2. The Condition of the Working Class in England in 1884, By Frederick Engels. Translated by Florence K.
Wischnewetzky, New York, Lovell-London, W. Reeves, 1888 ( หมายเหตุโดยเองเกิลส์ )
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
5 of 30 26.09.2014 14:44
ปีศาจตนหนึ่ง ปีศาจแห่งลัทธิคอมมิวนิสต์กําลังวนเวียนอยู่ในยุโรป อิทธิพลทั้งปวงของยุโรปเก่าทั้งสันตะปาปา
และพระเจ้าซาร์ทั้งเมตเตร์นิชและกี โซต์ ทั้งชาวพรรคหัวรุนแรงของฝรั่งเศสและสายลับตํารวจของเยอรมัน ได ้
รวมกันเข ้าเป็นพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์เพื่อกําจัดปีศาจตนนี้
มีพรรคฝ่ ายค ้านพรรคไหนบ ้างที่ไม่ถูกฝ่ ายศัตรูของตนซึ่งเป็นผู ้กุมอํานาจตรา หน้าว่าเป็นพรรคคอมมิวนิสต์ ?
และมีพรรคฝ่ ายค ้านพรรคไหนบ ้างที่ไม่เอาข ้อหาลัทธิคอมมิวนิสต์โยนไปให ้พวก พรรคฝ่ ายค ้านที่ก ้าวหน้ายิ่ง
กว่าและพวกศัตรูที่เป็นปฏิกิริยากับตนเอง ?
จากข ้อเท็จจริงนี้ได ้ข ้อสรุป 2 ข ้อ คือ
หนึ่ง ลัทธิคอมมิวนิสต์ได ้เป็นที่ยอมรับจากอิทธิพลทั้งปวงของยุโรปว่าเป็น อิทธิพลอย่างหนึ่งแล ้ว
สอง บัดนี้ถึงเวลาแล ้วที่ชาวพรรคคอมมิวนิสต์จะชี้แจงทัศนะของตน วัตถุประสงค์ของตนและความมุ่งหมายของ
ตนอย่างเปิดเผยแก่ทั่วทั้งโลก และนําเอาแถลงการณ์ของพรรคเองมาต่อต ้านเทพนิยายเรื่องปีศาจแห่งลัทธิ
คอมมิวนิสต์
ด ้วยวัตถุประสงค์ดังกล่าวนี้ ชาวพรรคคอมมิวนิสต์ประเทศต่างๆ จึงได ้มาชุมนุมกันที่ลอนดอน และได ้ร่าง
แถลงการณ์ประกาศต่อทั่วโลกเป็นภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เฟลมิช และ เดนมาร์ค ดังต่อไปนี้
ประวัติศาสตร์ของส ังคมทั้งหมดที่ผ่านมาจนกระทั่งถึงบัดนี้[2]
ล้วนแต่เป็ นประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้
ทางชนชั้น
เสรีชนกับทาส ผู ้ดีกับสามัญชน เจ ้าผู ้ครองแคว ้นกับทาสกสิกร นายช่างในสมาคมอาชีพ[3]
กับลูกมือ สรุปแล ้วก็
คือผู ้กดขี่กับผู ้ถูกกดขี่ต่างอยู่ในฐานะที่เป็นฝ่ ายตรงกันข ้าม ต่อกันตลอดเวลา และดําเนินการต่อสู ้ที่บางครั้งก็
ซ่อนเร ้น บางครั้งก็เปิดเผยอยู่มิได ้ขาด และการต่อสู ้แต่ละครั้งก็ล ้วนจบลงด ้วยสังคมทั้งสังคมที่ถูกเปลี่ยนแปลง
ด ้วย การปฏิวัติ หรือไม่ก็ชนชั้นที่ต่อสู ้กันต่างสูญสลายไปด ้วยกัน และสังคมถอยหลังไปสู่ความป่ าเถื่อน
ในยุคประวัติศาสตร์แต่ละยุคที่ผ่านมาเราจะเห็นได ้แทบทุกแห่งว่า สังคมได ้แบ่งออกเป็นชั้น วรรณะ ต่างๆ ที่แตก
ต่างและหลากหลาย ในโรมสมัยโบราณมีผู ้ดี อัศวิน สามัญชนคนธรรมดา และทาส ในสมัยกลางมีเจ้าผู ้ครอง
แคว ้น เจ ้าครองนคร นายช่างในสมาคมอาชีพ ลูกมือ และทาสกสิกรที่อยู่ตามท ้องไร่ท ้องนา และภายในชนชั้น
เหล่านี้ก็ยังมีการแบ่งชั้นย่อยๆไปอีกเรียกว่าชั้นชน
สังคมชนชั้นนายทุนสมัยใหม่ซึ่งเกิดขึ้นจากการสูญสลายของสังคมขุนนางไม่ได ้ทําลายความเป็นคู่ขัดแย ้งทาง
ชนชั้นลงไป มันเพียงแต่นําเอาชนชั้นใหม่ เงื่อนไขการกดขี่ใหม่และรูปแบบการต่อสู ้ใหม่มาแทนที่คู่ขัดแย ้งอัน
เก่าเท่า นั้น
แต่ยุคของเรา ยุคชนชั้นนายทุนมีลักษณะพิเศษอยู่ประการหนึ่งคือ มันทําให ้การเป็นคู่ขัดแย ้งกันทางชนชั้นไม่
สับสน สังคมทั้งสังคมนับวันแต่จะแยกออกเป็นสองค่ายใหญ่ ที่เป็นศัตรูกันแยกออกเป็นสองชนชั้นใหญ่ที่ขัดกัน
โดยตรง นั่นคือ คู่ขัดแย ้งระหว่างชนชั้นนายทุนและชนชั้นกรรมาชีพ
จากทาสกสิกรในสมัยกลางต่อมาได ้เกิดมีชาวเมืองของเมืองในระยะแรกขึ้น จากชั้นวรรณะที่แบ่งผิวพรรณกัน
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
6 of 30 26.09.2014 14:44
แบ่งแยกคนจนคนรวย แบ่งคนมีตระกูล กับคนที่ไม่มีหัวนอนปลายเท ้าของชาวเมืองให ้ขยายตัวออกไป จนเกิด
เป็นพวกชนชั้นนายทุนขึ้นเป็นครั้งแรก
การค ้นพบทวีปอเมริกาและการเดินเรืออ ้อมทวีปอาฟริกาได ้เปิดแหล่งเคลื่อนไหว แหล่งใหม่ให ้แก่ชนชั้นนายทุน
ที่กําลังเจริญเติบโตขึ้น ตลาดอินเดียตะวันออกและจีน ความเป็นเมืองขึ้นของทวีปอเมริกา การทําการค ้ากับเมือง
ขึ้น การเพิ่มพูนปัจจัยในการแลกเปลี่ยนและสินค ้าทั่วไปเหล่านี้ได ้ทําให ้การค ้าการ เดินเรือและการอุตสาหกรรม
ขยายตัวก ้าวหน้าขึ้นสู่กระแสสูงเป็นประวัติการณ์ ด ้วยเหตุนี้จึงทําให ้ปัจจัยการปฏิวัติขยายตัวไปอย่างรวดเร็วภาย
ในสังคมขุนนาง ที่กําลังพังทลาย
วิธีประกอบกิจการอุตสาหกรรมแบบขุนนางหรือแบบผูกขาดโดยสมาคมอาชีพอย่างแต่ ก่อนนั้น ไม่สามารถสนอง
ตอบความต ้องการที่เพิ่มขึ้นของตลาดใหม่ที่เกิดขึ้นได ้ต่อไป การผลิตด ้วยฝีมือแรงงาน ที่เรียกว่าหัตถกรรมตาม
โรงงานจึงได ้เข ้าแทนที่วิธีประกอบกิจการนี้ นายช่างในสมาคมอาชีพได ้ถูกชนชั้นนายทุนที่ประกอบอุตสาหกรรม
กีดกันออกไป การแบ่งงานกันระหว่างสมาคมอาชีพต่างๆ ได ้ถูกยกเลิกไปพร ้อมกับการแบ่งงานภายในโรง
หัตถกรรมแต่ละโรงที่เกิดขึ้นมาแทน
แต่ตลาดก็ยังขยายออกไปเรื่อยๆ และความต ้องการก็เพิ่มขึ้นอยู่ไม่ขาด กระทั่งหัตถกรรมตามโรงงานก็ไม่
สามารถสนองความต ้องการได ้อีก ดังนั้นไอนํ้าและเครื่องจักรกลจึงได ้ก่อให ้เกิดการผลิตทางอุตสาหกรรม และ
เกิดการปฏิวัติวิธีการผลิตแบบใหม่ขึ้น อุตสาหกรรมสมัยใหม่ขนาดใหญ่ได ้เข ้าแทนที่การใช ้แรงงานฝีมือ หรือ
หัตถกรรมตามโรงงาน มหาเศรษฐีอุตสาหกรรมผู ้นําของกองทัพอุตสาหกรรมทั้งหมดซึ่งเป็นนายทุนสมัยใหม่ ได ้
เข ้ามาแทนที่ชนชั้นนายทุนน้อยที่ประกอบอุตสาหกรรมอยู่เดิม
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ได ้สร ้างตลาดโลกขึ้นจากการที่ได ้ค ้นพบทวีปอเมริกามาก่อน ตลาดโลกได ้ทําให ้การค ้า
ขาย การเดินเรือ และการคมนาคมขนส่งทางบกพัฒนาไปอย่างใหญ่หลวง การพัฒนานี้ได ้กลับมากระตุ ้น
อุตสาหกรรมให ้ขยายออกไป พร ้อมกันนี้เมื่ออุตสาหกรรมการค ้าขาย การเดินเรือ และการรถไฟยิ่งขยายตัวไป ชน
ชั้นนายทุนก็ยิ่งพัฒนาไป ทุนของพวกเขาก็ยิ่งเพิ่มพูนมากขึ้น และชนชั้นเดิมที่มาจากสมัยกลางก็ยิ่งถูกกีดกัน
ออกไป
จากนี้จะเห็นได ้ว่าชนชั้นนายทุนสมัยใหม่เองนี่แหละที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ ของการพัฒนาอันยาวนาน เรียก
ได ้ว่าชนชั้นนี้เป็นผลิตผลของการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงทั้งกระบวนการและ รูปแบบในวิธีการผลิตและวิธีการแลก
เปลี่ยนค ้าขายกัน
ในแต่ละขั้นแห่งการพัฒนาของชนชั้นนายทุนได ้ประสบความสําเร็จทางการเมืองที่ สอดคล ้องกันติดตามมาด ้วย
ขณะอยู่ภายใต ้การปกครองของเจ ้าผู ้ครองแคว ้นชนชั้นนายทุนถือเป็นชนชั้นผู ้ถูก กดขี่ พวกเขาต่อสู ้กับผู ้
ปกครองโดยได ้จัดตั้งกลุ่มที่ติดอาวุธและปกครองตนเองในคอม มูน[4]
ในบางแห่งได ้จัดตั้งเป็นสาธารณรัฐที่เป็น
อิสระ และในบางแห่งได ้ประกอบขึ้นเป็นสามัญชน เป็นกลุ่มคนที่เสียภาษีในรัฐราชาธิปไตย ต่อมาในสมัยที่ใช ้
แรงงานฝีมือหัตถกรรมตามโรงงาน ชนชั้นนี้ได ้กลายเป็นกลุ่มผู ้มีอิทธิพลที่ประจันหน้ากับพวกผู ้ดีในรัฐระบอบ
ราชาธิปไตยกึ่งขุนนาง หรือรัฐในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ยังมีระบบปกครองโดยกษัตริย์ กระทั่งเป็นราก
ฐานสําคัญของรัฐระบอบมหาราชาธิปไตย สุดท ้ายนับตั้งแต่ได ้สร ้างอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และตลาดโลกขึ้น
เป็นต ้นมาชนชั้น นี้ได ้ยึดการปกครองทางการเมืองมาเป็นของตน ในรัฐที่มีระบอบสภาผู ้แทนสมัยใหม่จนอํานาจ
ของรัฐสมัยใหม่เป็ นแต่เพียงคณะ กรรมการจัดการธุรกิจร่วมกันของชนชั้นนายทุนทั้งชนชั้นเท่านั้นเอง
ในประวัติศาสตร์ชนชั้นนายทุนเคยมีบทบาทที่ปฏิวัติอย่างยิ่ง ในที่ที่ชนชั้นนายทุนยึดการปกครองได ้แล ้ว ชนชั้น
นี้ได ้ทําลายบรรดาความสัมพันธ์แบบขุนนาง แบบพ่อเป็นใหญ่ และแบบชนบทเพ ้อฝันลงไปจนหมดสิ้น ชนชั้นนี้
ได ้ทําลายล ้างสิ่งที่ใช ้จองจํากักขังชนิดต่างๆของขุนนางซึ่งผูกมัด ผู ้คนไว ้กับผู ้เป็นใหญ่อย่างสิ้นเชิง ทําให ้ความ
สัมพันธ์ระหว่างคนด ้วยกันชัดเจน ไม่ต ้องหลอกลวงหรือปิดบังอีกต่อไป คือ ให ้อิสระหว่างบุคคลที่จะค ้าขาย
ใน"การค ้าชําระเงินสด"อย่างหน้าเลือด ชนชั้นนี้ได ้ทําให ้ความรู ้สึกที่เลื่อมใสศรัทธาในศาสนา จิตใจอันเร่าร ้อน
ของอัศวินยุคโบราณ และอารมณ์อันอ่อนไหวของชาวเมืองที่โง่เง่าเหล่านี้กลายเป็นความเห็นแก่ ประโยชน์ส่วน
ตัว ชนชั้นนี้ได ้ทําให ้ศักดิ์ศรีของคนกลายเป็นลินค ้าที่มีมูลค่าแลกเปลี่ยนกันได ้โดยเอาเสรีภาพชนิดที่ไร ้ความ
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
7 of 30 26.09.2014 14:44
ละอายและเกรงกลัวต่อความชั่วมาแทนที่เสรีภาพอัน มากมายที่มีอยู่เดิมจากการใช ้กําลังอํานาจ สรุปแล ้วชนชั้น
นี้ได ้ใช ้การขูดรีดที่เปิดเผยไร ้ยางอายอย่างโจ่งแจ ้ง มาแทนการขูดรีดที่อําพรางไว ้ด ้วยความเพ ้อฝันทางศาสนา
เทพนิยาย และ การหลอกลวงทางการเมืองที่พวกกษัตริย์ และเจ้าขุนมูลนายมักใช ้เป็นเครื่องมือในยุคก่อนๆ
ชนชั้นนายทุนได ้ทําให ้อาชีพต่างๆที่น่ายกย่องนับถือและชวนให ้เคารพยําเกรง มาตลอดนั้นหมดสง่าราศีไป ชน
ชั้นนี้ได ้ทําให ้นายแพทย์ ทนายความ หมอสอนศาสนา กวี นักปราชญ์ และ ครูบาอาจารย์กลายเป็นผู ้ใช ้แรงงาน
รับจ ้างที่ชนชั้นนี้ว่าจ ้างมาด ้วยเงิน และตีค่าราคาพวกเขาในรูปของค่าตอบแทน โดยปราศจากบุญคุณ และความ
เคารพ
หลังจากได ้ซื้อหรือช่วงชิงให ้ได ้มาซึ่งสิทธิการปกครองตนเองขั้นต ้นจากเจ ้า ผู ้ครองแคว ้นแล ้ว ชาวนครของ
อิตาลีและฝรั่งเศส ก็ตั้งชื่อให ้องค์รวมแห่งนครของตนว่า “คอมมูน” ( หมายเหตุโดย เองเกิลส์ ในฉบับภาษา
เยอรมันปี 1890 )
ชนชั้นนายทุนได ้ทําให ้ความรู ้สึกอบอุ่นอ่อนโยน ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ภายในครอบครัวหมดไป และทําให ้
ความสัมพันธ์นี้เปลี่ยนเป็นความสัมพันธ์ทางเงินตราล ้วนๆ ใครที่หาเงินเข ้าบ ้านได ้ก็ถือว่าเป็นใหญ่ในบ ้านนั้น คน
ชราที่ไม่สามารถทิ้งมรดกให ้ลูกหลาน หมดอํานาจเงินทองก็จะถูกส่งไปบ ้านพักคนชรา หรือทอดทิ้งให ้อยู่เพียง
ลําพัง
ชนชั้นนายทุนได ้เผยให ้เห็นว่าการใช ้ความรุนแรงกับบรรดาทาสไพร่ในยุคกลางซึ่ง พวกปฏิกิริยาชื่นชม ล ้วนเป็น
ที่มาของความเฉื่อยชาในสังคม ชนชั้นนี้ได ้พิสูจน์ให ้เห็นเป็นครั้งแรกว่าการทํางานของคนเราสามารถสร ้าง สรรค์
อะไรได ้บ ้าง ชนชั้นนี้ได ้สร ้างสิ่งมหัศจรรย์ที่แตกต่างกับปิระมิดของอียิปต์ ท่อส่งนํ้าในโรมและโบสถ์แบบโกธิคอ
ย่างสิ้นเชิง ชนชั้นนี้ได ้บรรลุผลในการเดินทัพทางไกลซึ่งแตกต่างกับการอพยพชนชาติครั้ง ใหญ่และขบวน
ครูเสดอย่างสิ้นเชิง
ชนชั้นนายทุนมีแต่ทําให้เครื่องมือการผลิตพัฒนาขึ้น จากนั้นก็ทําให้ความส ัมพันธ์ทางการผลิตและ
ความสัมพันธ์ทางสังคมทั้งหมด ปฏิวัติอยู่เรื่อยไป มิฉะนั้นแล้วก็จะดํารงอยู่ต่อไปไม่ได้ ตรงกันข ้ามการ
รักษาวิธีการผลิตแบบเก่าไว ้โดยไม่เปลี่ยนแปลงจะเป็นเงื่อนไข สําคัญอันดับแรกที่ทําให ้ชนชั้นอุตสาหกรรมทั้ง
หลายไม่สามารถดํารงอยู่ได ้การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการผลิตอยู่เรื่อยๆ ความปั่นป่ วนมิได ้ขาดของความสัมพันธ์
ทางสังคม ความไม่สงบและความแปรเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา เหล่านี้คือสิ่งที่ยุคชนชั้นนายทุนต่างกับยุคอื่นๆที่เคย
มีมาในอดีต ความสัมพันธ์อันคงตัวและเก่าแก่ทั้งปวงตลอดจนความคิดและความคิดเห็นซึ่งเคย เป็นที่เคารพ
ตลอดมาและสอดคล ้องกับความสัมพันธ์ดังกล่าวล ้วนถูกขจัดให ้หมดไป ความ สัมพันธ์ทั้งปวงที่ก่อรูปขึ้นใหม่
ยังไม่ทันจะคงตัวก็เก่าล้าสมัยเสียแล้ว สิ่งที่คงตัวทั้งปวงจะหายไป สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งปวงจะถูกลบหลู่ ในที่สุด
ผู ้คนทั้งหลายจําต ้องมองฐานะความเป็นอยู่ของเขา และความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันด ้วยสายตาอันเย็นชา กลาย
เป็นความโดดเดี่ยว แปลกแยก
ความต ้องการที่จะขยายแหล่งจําหน่ายผลิตภัณฑ์อยู่เรื่อยๆบังคับให ้ชนชั้นนาย ทุนต ้องวิ่งเต ้นไปตามที่ต่างๆ ทั่ว
โลก ชนชั้นนี้ต ้องไปตั้งหลักแหล่งทั่วทุกแห่ง ไปเปิดกิจการขึ้นทั่วทุกแห่งและไปสร ้างความสัมพันธ์แบบ "โลกา
ภิวัฒน์" ขึ้นทั่วทุกแห่ง
เนื่องจากได ้เปิดตลาดโลกขึ้น ชนชั้นนายทุนจึงทําให ้การผลิตและการอุปโภคบริโภคของประเทศทั้งปวงมี
ลักษณะ เหมือนกันทั่วโลก ไม่ว่าพวกปฏิกิริยาจะเสียดายเพียงไรก็ตาม ชนชั้นนายทุนก็ยังคงขุดรากถอนโคน
อุตสาหกรรมแบบเก่า อุตสาหกรรมแห่งชาติที่เก่าแก่ ครํ่าครึ ต ้องถูกทําลายไป หรือยังคงต ้องถูกทําลายอยู่ทุกวัน
มันถูกอุตสาหกรรมใหม่กีดกันออกไป การสร ้างอุตสาหกรรมใหม่ขึ้นได ้กลายเป็นปัญหาความเป็นความตายของ
ประชาชาติที่ เจริญแล ้วทั้งปวง สิ่งที่อุตสาหกรรมใหม่เหล่านี้นํามาแปรรูปนั้นไม่ใช่วัตถุดิบในท ้องถิ่นของตน หาก
เป็นวัตถุดิบที่มาจากดินแดนอันไกลแสนไกล ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล่านี้ไม่เพียงแต่สนองการอุปโภคบริโภค
ในประเทศเท่า นั้น หากยังสนองการอุปโภคบริโภคในที่ต่างๆ ทั่วโลกไปพร ้อมกันด ้วย ความต ้องการแบบเก่าที่
สนองโดยผลิตภัณฑ์ในประเทศ ได ้ถูกแทนที่โดยความต ้องการแบบใหม่ที่สนองโดยผลิตภัณฑ์จากประเทศและ
เขตแคว ้น อันไกลแสนไกล ภาวะที่ผลิตเลี้ยงตัวเองปิดประตูอยู่ตามลําพังเฉพาะท ้องถิ่นและเฉพาะชาติ อย่างแต่
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
8 of 30 26.09.2014 14:44
ก่อน ได ้ถูกแทนที่โดยการไปมาหาสู่กัน และการพึ่งพาอาศัยกันของประชาชาติต่างๆ ในทุกๆด ้าน การผลิตทาง
ด ้านวัตถุเป็นเช่นนี้ การผลิตทางด ้านจิตใจก็เช่นเดียวกัน ผลิตผลทางจิตใจของแต่ละประชาชาติได ้กลายเป็น
สมบัติร่วมกัน ลักษณะด ้านเดียวและลักษณะจํากัดทางประชาชาติกลายเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได ้ยิ่ง ขึ้นทุกที ดังนั้น
วรรณคดี ศิลปะ ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ของประชาชาติ และของท ้องถิ่นมากมายจึงได ้ก่อรูปขึ้นเป็นวรรณคดี
ศิลปะ ปรัชญา และวิทยาศาสตร์แห่งโลก
เนื่องจากเครื่องมือการผลิตทั้งปวงได ้รับการปรับปรุงอย่างรวดเร็ว และเนื่องจากการคมนาคมมีความสะดวกอย่าง
ยิ่ง ชนชั้นนายทุนจึงได ้ดึงประชาชาติทั้งปวง แม ้กระทั่งประชาชาติที่ป่ าเถื่อนที่สุดเข ้ามาสู่อารยธรรม สินค ้าราคา
ถูกของชนชั้นนี้ คือ ปืนใหญ่ขนาดหนักที่ชนชั้นนี้ใช ้มาพังทลายกําแพงยักษ์ทุกแห่งลง และพิชิตจิตใจที่เคียด
แค ้นต่างชาติอย่างลึกซึ้งที่สุดของคนป่ าเถื่อน ชนชั้นนี้บีบบังคับให ้ประชาชาติทั้งปวง (ถ ้าประชาชาติเหล่านั้นไม่
ต ้องการสูญพันธุ์ ) ใช ้แบบวิธีการผลิตของชนชั้นนายทุน ชนชั้นนี้บีบบังคับประชาชาติเหล่านั้นดําเนินการในสิ่งที่
เรียกว่าระบอบ อารยธรรมในหมู่พวกเขาเอง ซึ่งก็คือกลายเป็นระบอบนายทุน กล่าวโดยสรุปก็คือชนชั้นนี้สร ้าง
โลกของตนขึ้นโลกหนึ่งตามรูปโฉมของตนเอง
ชนชั้นนายทุนทําให ้ชนบทต ้องยอมขึ้นต่อการปกครองของเมือง ชนชั้นนี้ได ้สร ้างเมืองอันใหญ่โตขึ้น ทําให ้
ประชากรในเมืองเพิ่มมากกว่าประชากรในชนบทมากมาย อันเป็ นเหตุให้ พลเมืองจํานวนมากพ้นจากภาวะโง่
เง่ายากลําบากของชีวิตในชนบท เช่นเดียวกันขณะที่ชนชั้นนี้ทําให ้ชนบทขึ้นต่อเมือง ชนชั้นนี้ก็ทําให ้อนารย
ประเทศหรือประเทศที่ล ้าหลังด ้อยพ ้ฒนา ขึ้นต่อและพึ่งพาประเทศพัฒนา ทําให ้ประชาชาติแห่งชาวนาต ้องขึ้น
ต่อประชาชาติแห่งชนชั้นนายทุน ทําให ้ตะวันออกต ้องขึ้นต่อตะวันตก
ชนชั้นนายทุนทําให ้ภาวะปัจจัยการผลิต ทรัพย์สิน และ ประชากรที่กระจัดกระจายค่อยๆหมดไปทุกที ชนชั้นนี้ทํา
ให ้ประชากรต ้องอยู่กันอย่างหนาแน่น ทําให ้ปัจจัยการผลิตรวมศูนย์ขึ้นและทําให ้ทรัพย์สินมารวมอยู่ในมือคน
ส่วนน้อย ผลที่จะต ้องเกิดขึ้นจากนี้ก็คือ การรวมศูนย์ทางการเมือง เขตแคว ้นต่างที่เป็นอิสระที่มีความสัมพันธ์ที่
เพียงเป็นพันธมิตรกัน ที่มีผลประโยชน์ที่ต่างกัน กฎหมายต่างกัน รัฐบาลที่ต่างกัน และระบบภาษีศุลกากรต่างกัน
กลับมารวมกันขึ้นเป็นประเทศประเทศหนึ่งที่มีรัฐบาลหนึ่งเดียวที่เป็นเอกภาพ มีกฎหมายที่เป็นเอกภาพ มีผล
ประโยชน์ทางชนชั้นของประชาชาติที่เป็นเอกภาพ และระบบภาษีศุลกากรที่เป็นเอกภาพ คือเป็นอันหนึ่งอันเดียว
กันในที่สุด
ในระหว่างครองอํานาจเป็ นเวลาเพียงร้อยปีนั้น ชนชั้นนายทุนได้สร้างพล ังการผลิตที่ยิ่งใหญ่กว่าพล ัง
การผลิตทั้งหมดที่คน รุ่นก่อนๆ ทุกรุ่นได้สร้างขึ้นมา การพิชิตพลังธรรมชาติ การใช ้เครื่องจักรกล การใช ้เคมี
ในอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม การเดินเรือกลไฟ การเดินรถไฟ การใช ้โทรเลข การบุกเบิกผืนแผ่นดินใหญ่เป็น
ผืนๆ การเดินเรือในแม่นํ้าลําคลอง การปรากฏขึ้นของประชากรจํานวนมากมายราวกับใช ้วิธีเล่นกลเรียกให ้ผุดขึ้น
มาจาก ใต ้พิภพ ที่แล ้วมามีศตวรรษใดบ ้าง ที่สามารถคาดคิดได ้ว่าจะมีพลังการผลิตเช่นนี้แฝงอยู่ในแรงงาน
สังคม ?
จากนี้จะเห็นได ้ว่า ปัจจัยการผลิต และปัจจัยการแลกเปลี่ยน ซึ่งชนชั้นนายทุนอาศัยมาก่อตัวขึ้นนั้นได ้สร ้างขึ้น
แล ้วล่วงหน้าในสังคมขุน นาง ความสัมพันธ์ในการผลิตและการแลกเปลี่ยนของสังคมขุนนางที่ดําเนินอยู่ การจัด
เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมของขุนนาง และ ความสัมพันธ์ของระบอบกรรมสิทธิ์ขุนนางที่เป็นเจ้าเข ้าของอยู่แต่
เดิมจะไม่ สอดคล ้องกับพลังการผลิตที่พัฒนาไปของระบบทุนนิยมต่อไป เพราะความสัมพันธ์ดังกล่าวกําลังขัด
ขวางการผลิตแบบใหม่ แทนที่จะกระตุ ้นการผลิตก็กลับกลายเป็นเครื่องผูกมัดการผลิต มันจึงต ้องถูกทําลาย และ
มันก็ถูกทําลายไปแล ้ว
สิ่งที่เข ้าแทนที่ก็คือ การแก่งแย่งแข่งขันอย่างเสรีตลอดจนระบอบทางสังคม ทางการเมืองซึ่งสอดคล ้องกับการ
แก่งแย่งแข่งขันอย่างเสรี และการปกครองทางเศรษฐกิจและการเมืองของชนชั้นนายทุนนั่นเอง
ปัจจุบันนี้การเคลื่อนไหวทํานองเดียวกันกําลังดําเนินอยู่เบื้องหน้าเรา สังคมชนชั้นนายทุนสมัยใหม่ซึ่งมีความ
สัมพันธ์ทางการผลิตและความสัมพันธ์ทาง การแลกเปลี่ยนของชนชั้นนายทุน รวมถึงความสัมพันธ์ของระบอบ
กรรมสิทธิ์ของชนชั้นนายทุน ซึ่งสร ้างปัจจัยการผลิตและปัจจัยการแลกเปลี่ยนอันใหญ่โตราวกับใช ้วิธีเล่นกล นั้น
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
9 of 30 26.09.2014 14:44
บัดนี้เหมือนกับพ่อมดที่ไม่สามารถจะควบคุมภูติผีที่ตนใช ้เวทมนต์ปลุกขึ้นมา ได ้อีกแล ้ว ประวัติของอุตสาหกรรม
และการค ้าในหลายสิบปีมานี้เป็นเพียงประวัติของพลังการ ผลิตสมัยใหม่ที่ต่อต ้านความสัมพันธ์ทางการผลิต
สมัยใหม่จนกลายเป็นวิกฤตทาง เศรษฐกิจ และในที่สุดสิ่งนี้จะต่อต ้านความสัมพันธ์ของระบอบกรรมสิทธิ์อันเป็น
เงื่อนไข แห่งการดํารงอยู่ของชนชั้นนายทุนและการปกครองของชนชั้นนี้เอง วิกฤตทางการค ้าซึ่งคุกคามการ
ดํารงอยู่ของสังคมทุนนิยมทั้งสังคมจะทวีมากยิ่ง ขึ้นทุกที ในระหว่างการหมุนเวียนเป็นรอบระยะก็เพียงพอที่จะ
พิสูจน์ข ้อนี้แล ้ว ในระหว่างเกิดวิกฤตทางการค ้า มักปรากฏว่าไม่เพียงแต่ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสําเร็จแล ้วจํานวนมาก
มายถูกทําลายไป เท่านั้น หากพลังการผลิตเช่นโรงงานต่างๆที่ได ้สร ้างขึ้นแล ้วจํานวนมากมายก็จะถูกทําลาย ไป
ด ้วย ในระหว่างเกิดวิกฤตทุนนิยมได้เกิดโรคระบาดทางส ังคมชนิดที่ทุกยุค ทุกสมัยในอดีตคงจะเห็น
เป็ นปรากฏการณ์ที่เหลวไหลขึ้น ซึ่งก็คือโรคระบาดแห่งการผลิตล้นเกินท่ามกลางความอดอยาก สังคม
ได ้ค ้นพบในทันทีว่าตนเองได ้กลับไปสู่ภาวะป่ าเถื่อนชั่วขณะหนึ่ง คล ้ายกับว่าเกิดทุพภิกขภัยครั้งหนึ่งหรือเกิด
สงครามลักษณะทําลายล ้างทั่วไป คล ้ายกับว่าอุตสาหกรรมและการค ้าได ้ถูกทําลายจนราบเรียบ นี่เป็นเพราะเหตุ
ใด เพราะเหตุว่าสังคมมีอารยธรรมมากเกินไป มีปัจจัยการครองชีพมากเกินไป อุตสาหกรรมและธุรกิจการค ้าเจริญ
มากเกินไป พลังการผลิตที่สังคมมีอยู่ไม่สามารถจะกระตุ ้นอารยธรรมชนชั้นนายทุน และความสัมพันธ์ของระบอบ
กรรมสิทธิ์ชนชั้นนายทุนให ้พัฒนาต่อไปได ้อีก แล ้วกระนั้นหรือ
ตรงกันข ้ามพลังการผลิตได ้พัฒนาใหญ่โตจนถึงขั้นที่ความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่ สามารถจะสอดคล ้องกับมันแล ้ว
พลังการผลิตถูกความสัมพันธ์ดังกล่าวขัดขวาง และเมื่อใดที่พลังการผลิตลงมือขจัดสิ่งกีดขวางนี้ เมื่อนั้นก็จะทํา
ให ้สังคมชนชั้นนายทุนทั้งสังคมตกอยู่ในความปั่นป่ วน ทําให ้การดํารงอยู่ของระบอบกรรมสิทธิ์ชนชั้นนายทุนถูก
คุกคาม ความสัมพันธ์ของชนชั้นนายทุนแคบเกินไปจนไม่อาจที่จะบรรจุโภคทรัพย์ที่ชนชั้น นี้สร ้างขึ้นเอง ชนชั้น
นายทุนจะใช ้วิธีอะไรมาแก ้ไขวิกฤตเหล่านี้ได ้? ด ้านหนึ่งคือจําต ้องทําลายพลังการผลิตลงเป็นจํานวนมาก อีก
ด ้านหนึ่งก็ไปยึดตลาดใหม่และใช ้ตลาดเก่าให ้เป็นประโยชน์อย่างถึงที่สุด นี่เป็นวิธีอะไรกันแน่? มันเป็นเพียงวิธี
ที่ชนชั้นนายทุนเตรียมการไปสู่วิกฤตที่รอบด ้านยิ่งขึ้นและ รุนแรงยิ่งขึ้นเท่านั้น
อาวุธที่ชนชั้นนายทุนใช ้โค่นระบอบขุนนางนั้น บัดนี้ได ้กลับมาทิ่มแทงชนชั้นนายทุนเองเสียแล ้ว
แต่ทว่าชนชั้นนายทุนไม่เพียงแต่สร้างอาวุธที่นําความตายมาสู่ตัวเองเท่า นั้น หากชนชั้นนี้ยังก่อให้เกิด
คนที่จะใช้อาวุธเหล่านี้ด้วย นั่นก็คือ กรรมาชีพสมัยใหม่
ชนชั้นนายทุน และทุนยิ่งพัฒนามากเท่าไร ชนชั้นกรรมาชีพสมัยใหม่ก็จะพัฒนาไปในระดับเดียวกันด ้วย
กรรมาชีพสมัยใหม่จะดํารงชีวิตอยู่ได ้ก็ต่อเมื่อพวกเขาหางานทําได ้แล ้วเท่านั้น และพวกเขาจะหางานทําได ้ก็ต่อ
เมื่อแรงงานของพวกเขาทําให ้ทุนเพิ่มพูนขึ้น กรรมาชีพที่จําต ้องเอาตัวเองไปขายทีละเล็กละน้อยเหล่านี้ก็เป็น
สินค ้าชนิด หนึ่ง เช่นเดียวกับสิ่งของที่เป็นสินค ้าอื่นๆ ดังนั้นพวกเขาจึงได ้รับผลสะเทือนจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ปวงในด ้านการแก่งแย่ง แข่งขัน ได ้รับผลสะเทือนจากการขับเคลื่อนทั้งปวงในด ้านตลาดเช่นเดียวกัน
เนื่องจากการใช ้เครื่องจักรได ้แพร่หลายออกไปและการแบ่งงานได ้พัฒนาไป การใช ้แรงงานของชนกรรมาชีพก็
จะต ้องสูญเสียลักษณะอิสระทั้งปวงไป ดังนั้นสิ่งที่เหนี่ยวรั้งกรรมาชีพไว ้จึงต ้องพลอยสูญสิ้นไปด ้วย นายทุนได ้
ทําให ้กรรมาชีพกลายเป็นเครื่องพ่วงอย่างหนึ่งของเครื่องจักรไป สิ่งที่ต ้องการให ้เขาทํานั้นเป็นเพียงการคุม
เครื่องที่ไม่สลับซับซ ้อน ที่จําเจที่สุดและหัดง่ายที่สุด ฉะนั้นค่าใช ้จ่ายที่เสียให ้กับกรรมาชีพจึงกล่าวได ้ว่าจํากัด
อยู่แค่ปัจจัยการ ครองชีพอันจําเป็นสําหรับประทังชีวิตของกรรมาชีพ และแค่ทําให ้มีกรรมาชีพรุ่นหลังสืบต่อไปได ้
เท่านั้น แต่ราคาของสินค ้าซึ่งเป็นราคาของแรงงานด ้วย จะสะท ้อนต ้นทุนในการผลิตสินค ้าขึ้นมา ดังนั้นการใช ้
แรงงานยิ่งน่าเบื่อหน่ายมากเท่าไร ค่าแรงก็ยิ่งลดน้อยลงเท่านั้น ยิ่งกว่านั้นในสัดส่วนที่เครื่องจักรยิ่งแพร่หลาย
ออกไป และการแบ่งงานยิ่งละเอียดมากขึ้น ภาระการใช ้แรงงานก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น ทั้งเนื่องมาจากการยืดเวลาทํา
งาน หรือไม่ก็เนื่องมาจากการเร่งเครื่องจักรให ้หมุนเร็วขึ้น ฯลฯ
อุตสาหกรรมสมัยใหม่ได ้เปลี่ยนโรงหัตถกรรมเล็กๆ หรืออุตสาหกรรมในครัวเรือนของนายช่างแบบพ่อบ ้านมาเป็น
โรงงานใหญ่ของนายทุน อุตสาหกรรม มวลชนกรรมาชีพที่แออัดอยู่ในโรงงานถูกจัดตั้งขึ้นเหมือนกับกองทหาร
พวกเขาเป็นพลทหารธรรมดาแห่งกองทัพอุตสาหกรรมที่ถูกนายทหารชั้นประทวนและชั้น สัญญาบัตรระดับต่างๆ
ติดตามควบคุมเป็นชั้นๆ พวกเขาไม่เพียงแต่เป็นทาสของชนชั้นนายทุนและของรัฐชนชั้นนายทุนเท่านั้น หากยัง
CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html
10 of 30 26.09.2014 14:44
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)
Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)

More Related Content

Featured

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
Skeleton Technologies
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
SpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Lily Ray
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
Rajiv Jayarajah, MAppComm, ACC
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
Christy Abraham Joy
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
Vit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
MindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
GetSmarter
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
Alireza Esmikhani
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
Project for Public Spaces & National Center for Biking and Walking
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
DevGAMM Conference
 

Featured (20)

Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 
ChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slidesChatGPT webinar slides
ChatGPT webinar slides
 
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike RoutesMore than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
More than Just Lines on a Map: Best Practices for U.S Bike Routes
 
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
Ride the Storm: Navigating Through Unstable Periods / Katerina Rudko (Belka G...
 

Marx engels communist manifesto-2014_thai (1)

  • 1.
  • 2.
  • 4. 1.1 แนะนํา แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ (ฉบับภาษาทันสมัย) โดย ใจ อึ๊งภากรณ์ แถลงการณ์พรรคคอมมิวนิสต์ ถือได ้ว่าเป็นคําประกาศนโยบายขององค์กร “สันนิบาตคอมมิวนิสต์” ที่ คาร์ล มา ร์คซ์ และ เฟรเดอริค เองเกิลส์ เขียนขึ้นในปี 1848 ต ้นกําเนิดของงานนี้เริ่มเมื่อ เองเกิลส์ เสนอว่าควรมีการเขียน หนังสือสั้นๆ เพื่อตอบคําถามว่า “ชาวคอมมิวนิสต์คิดอย่างไรเกี่ยวกับสภาพสังคมปัจจุบัน?” ดังนั้นหนังสือ แถลงการณ์ฯ เป็นหนังสือประกาศนโยบายของชาวมาร์คซิสต์ทั่วโลก และถึงแม ้ว่าเวลาได ้ผ่านไป 150 กว่าปี หลังจากที่หนังสือนี้แรกออกมา และหนังสือนี้ได ้ถูกตีพิมพ์ในภาษาต่างๆของมนุษย์อย่างทั่วถึงมากกว่าหนังสือ อื่นใดในโลก แต่เนื้อหาส่วนใหญ่ยังสอดคล ้องกับจุดยืนชาวมาร์คซิสต์ในศตวรรษที่ 21 อย่างไรก็ตามเมื่อ "ชมรมหนังสือประชาธิปไตยแรงงาน" พิมพ์ แถลงการณ์ฯ ออกมาในปี ๒๕๔๑ และขายให ้ กรรมาชีพและคนทั่วไปอ่านในประเทศไทย ก็ได ้มีเสียงสะท ้อนกลับมาว่าภาษาของหนังสือเล่มนี้แสนจะโบราณ เข ้าใจยาก! ดังนั้นในการตีพิมพ์ครั้งนี้ทีมงาน กปร. ได ้พยายามปรับภาษาและเนื้อหาให ้เข ้าใจง่ายขึ้นสําหรับคน ยุคปัจจุบัน และมีการตัดส่วนที่ 3 "เอกสารสังคมนิยมและเอกสารคอมมิวนิสต์" ออกไป เนื่องจากเป็นการงานที่ มาร์คซ์ กับ เองเกิลส์ เขียนเพื่อวิจารณ์แนวคิดสังคมนิยมอื่นๆ ที่ดํารงอยู่ในยุคนั้นและไม่ค่อยสอดคล ้องกับแนว ซ ้ายหลักๆ ที่ดํารงอยู่ในปัจจุบัน แต่ในการตีพิมพ์ แถลงการณ์ฯ ฉบับนี้ เราจําเป็นต ้องฝากคําเตือนให ้ท่านผู ้อ่าน ว่า การปรับภาษาและเนื้อหาให ้เข ้าใจง่ายขึ้นย่อมทําให ้รสชาติของหนังสือเดิมหายไป บ ้างและบางครั้งอาจมีการ ตีความตามแนวคิดของเราเองด ้วย ดังนั้นเราแนะนําให ้ท่านที่ต ้องการเรียนรู ้เกี่ยวกับหนังสือเล่มนี้มากยิ่ง ขึ้น จง กลับไปอ่านฉบับต่างๆ ที่เคยถูกแปลเป็นไทยในยุคหลัง ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ และฉบับภาษาอังกฤษหรือภาษา เยอรมัน ถ ้าเป็นไปได ้เพื่อให ้ท่านได ้เปรียบเทียบฉบับเดิมๆ กับฉบับนี้ แล ้วท่านจะได ้ภาพที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น นอกจากเรื่องของภาษาแล ้ว มีอีกสิ่งหนึ่งที่ต ้องอธิบายอย่างชัดเจน เพราะเป็นคําถามที่ถูกตั้งขึ้นเสมอ นั้นคือ เรื่องของคํานิยาม “ชนชั้นกรรมาชีพ” ในมุมมองมาร์คซิสต์ ชนชั้นกรรมาชีพคือ ผู ้ที่ไร ้ปัจจัยการผลิต คือ “ลูกจ้าง” คือกรรมกรโรงงาน พนักงานปกคอขาวที่ทํางานในออฟฟิศ ครูบาอาจารย์ พยาบาล หรือลูกจ้างในห ้าง ร ้าน ฯลฯ และเมื่อท่านได ้อ่านหนังสือ แถลงการณ์ฯ เล่มนี้จะเห็นการนิยามชนชั้นกรรมาชีพแบบนี้ในหลายจุดโดย มาร์คซ์ และเองเกิลส์ ชนชั้นกรรมาชีพคือหัวใจของสังคมนิยมมาร์คซิสต์ คาร์ล มาร์คซ์ และนักมาร์คซิสต์อื่นๆ ไม่ได ้นั่งวิเคราะห์โลก เพื่อความสนุกสนานทางวิชาการ เราวิเคราะห์โลกเพื่อเปลี่ยนให ้มันดีขึ้น และที่สําคัญเราวิเคราะห์โลกจากมุม มองผลประโยชน์ของชนชั้นกรรมาชีพ ผู ้เป็นคนส่วนใหญ่ของสังคมในศตวรรษใหม่นี้ ในที่สุดเราหวังว่าการ วิเคราะห์ของชาวมาร์คซิสต์จะนําไปสู่การต่อสู ้เพื่อ สร ้างระบบการเมืองและเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม โดยที่ชน ชั้นกรรมาชีพต ้องเป็นผู ้ที่มีส่วนในการปลดแอกตนเอง สังคมนิยมสร ้างไม่ได ้ถ ้าสร ้างโดยคนส่วนน้อย ดังนั้นเพื่อ แสดงจุดยืนตรงนี้ที่ชัดเจนของชาวมาร์คซิสต์ เราได ้ตีพิมพ์คํานําที่เองเกิลส์เขียนไว ้ในฉบับภาษาอังกฤษปี 1888 มาประกอบในที่นี้ด ้วย CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 1 of 30 26.09.2014 14:44
  • 5. หนังสือ แถลงการณ์ฯ เริ่มต ้นด ้วยการพูดถึงความคัดแย ้งทางชนชั้นที่ขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงของ สังคม มนุษย์จนถึงการก่อตัวของทุนนิยม ต่อจากนั้นมีการชมระบบทุนนิยมว่ามีพลังมหาศาลและก่อให ้เกิดการพัฒนา เปลี่ยน แปลงของวิธีเลี้ยงชีพและโครงสร ้างสังคมมนุษย์อย่างที่คนรุ่นก่อนคงนึกไม่ถึง แต่หลังจากนั้นมีการกล่าว ถึงข ้อเสียของทุนนิยมที่ทําลายความอบอุ่นของชีวิต และทั้งๆ ที่ทุนนิยมมีพลังการผลิตมหาศาลก็ไม่สามารถ ตอบสนองความต ้องการของมนุษย์ส่วน ใหญ่ได ้เนื่องจากกลไกตลาดและวิกฤตเศรษฐกิจการเมืองที่เกิดขึ้นเป็น ประจํา แต่ภาพปัญหาของทุนนิยมไม่ควรทําให ้เราหดหู่ เพราะทุนนิยมได ้สร ้าง "ผู ้ขุดหลุมฝังศพ" ของทุนนิยม เอง ขึ้นมาท่ามกลางระบบ นั้นคือชนชั้นกรรมาชีพ สมัยใหม่ อย่างไรก็ตามชนชั้นกรรมาชีพจะไม่สามารถต่อสู ้เพื่อ ชัยชนะของสังคมนิยมได ้โดย อัตโนมัติ ดังนั้นส่วนท ้ายของ แถลงการณ์ฯ จะเน้นจุดยืนที่ชาวสังคมนิยม (หรือ ชาวคอมมิวนิสต์) ควรนํามาใช ้ในการต่อสู ้และความสําคัญของการสร ้างพรรคของกรรมาชีพเพื่อบรรลุผลสําเร็จ ในรอบ 70 กว่าปีที่ผ่านมา หลังความล ้มเหลวของการปฏิวัติรัสเซีย 1917 ลัทธิมาร์คซ์ได ้ผ่านยุคแห่งการบิด เบือนมหาศาลภายใต ้แนวคิดของสํานัก สตาลิน-เหมา (ซึ่งรวมถึงพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยด ้วย) หลัง จากที่แนวนี้และระบบ เผด็จการที่เป็น “ทุนนิยมโดยรัฐ” ได ้ล่มสลายลงในรัสเซียและยุโรปตะวันออกในปี 1989 (ดูหนังสือ “อะไรนะลัทธิ มาร์คซ์” เล่ม 1 บทที่ 4) ศตวรรษใหม่นี้จะเป็นศตวรรษแห่งการรื้อฟื้นแนวคิดมาร์คซิสต์ เพื่อก ้าวต่อไป สู่โลกใหม่ที่ปลดแอกมนุษย์ นั่นคือ โลกแห่งสังคมนิยม... . ในทุนนิยม ผลงานที่มนุษย์สร้างไว ้ในอดีตกลับมาเป็นเจ้านายเหนือเรา - อดีตครอบงําปัจจุบัน แต่ในสังคมนิยม มนุษย์จะเป็นเจ้านายของผลงานที่เราสร้างไว ้ในอดีต - ปัจจุบันจะครอบงําอดีต (มาร์คซ์ กับ เองเกิลส์ ใน แถลงการณ์พรรค คอมมิวนิสต์ หน้า----) คํานําฉบับภาษาอ ังกฤษปี 1888 “แถลงการณ์ฯ” ได ้ประกาศออกไปในฐานะเป็นหลักนโยบายของสันนิบาตชาวคอมมิวนิสต์ ซึ่งเมื่อแรกเริ่มเป็น สมาคมของกรรมาชีพเยอรมันโดยเฉพาะ ต่อมาเป็นสมาคมของกรรมาชีพสากล และตามเงื่อนไขทางการเมืองใน ภาคพื้นยุโรปก่อนปี 1847 นั้นย่อมจะต ้องเป็นองค์การจัดตั้งของกรรมาชีพที่เป็นสมาคมลับ ที่ประชุมสมัชชาผู ้ CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 2 of 30 26.09.2014 14:44
  • 6. แทนสันนิบาต ณ กรุงลอนดอนเมื่อเดือน พฤศจิกายน 1847 ได ้มอบหมายให ้มาร์คซ์ และเองเกิลส์ร่างหลัก นโยบายของพรรคที่มีความครบถ ้วนทั้งทางทฤษฎีและทาง ปฏิบัติเพื่อประกาศออกไป ต ้นฉบับเขียนเสร็จเป็น ภาษาเยอรมันเมื่อเดือนมกราคม 1848 และได ้ส่งไปพิมพ์ที่ลอนดอนก่อนหน้าการปฏิวัติฝรั่งเศสวันที่ 24 กุมภาพันธ์ เพียงไม่กี่สัปดาห์ ฉบับแปลภาษาฝรั่งเศสได ้จัดพิมพ์ในปารีสก่อนการลุกขึ้นสู ้เดือน มิถุนายน 1848 ไม่นานนัก ฉบับแปลภาษาอังกฤษฉบับแรกลงพิมพ์ในนิตยสาร " เดอะเร็ด รีปับลิกัน " ของยอร์ช จูเลียน ฮาร์นี ใน ลอนดอนปี 1850 แปลโดยนางสาวเฮเลน แมคฟาร์เลน ขณะเดียวกันก็ได ้จัดพิมพ์ฉบับแปลภาษาเดนมาร์คและ ภาษาโปแลนด์ด ้วย ความพ่ายแพ ้ของการลุกขึ้นสู ้เดือนมิถุนายนในปารีสปี 1848 ซึ่งเป็นการรณรงค์ใหญ่ครั้งแรกระหว่างชนชั้น กรรมาชีพ กับชนชั้นนายทุนได ้ผลักความเรียกร ้องต ้องการทางสังคม และทางการเมืองของชนชั้นกรรมาชีพยุโรป ไปไว ้ข ้างหลังเป็นการชั่วคราว นับแต่นั้นมาการต่อสู ้แย่งชิงอํานาจปกครองก็เหมือนกับเมื่อก่อนการปฏิวัติ เดือน กุมภาพันธ์ คือ ดําเนินไปในระหว่างกลุ่มต่างๆของชนชั้นผู ้มีทุนเท่านั้น ชนชั้นกรรมาชีพถูกบีบให ้จํากัดอยู่แค่การ ช่วงชิงเสรีภาพในการเคลื่อนไหวทาง การเมืองบางอย่าง และใช ้จุดยืนของพวกปีกซ ้ายสุดของฝ่ ายหัวรุนแรงชน ชั้นนายทุนด ้วย การเคลื่อนไหวของชนชั้นกรรมาชีพทั้งปวงที่เป็นอิสระมีชีวิตชีวาในเวลาต่อมา ล ้วนถูกปราบ ปรามอย่างไร ้ความปรานี เช่น ตํารวจปรัสเซียได ้พบคณะกรรมการกลางของสันนิบาตชาวคอมมิวนิสต์ซึ่งเวลานั้น ตั้งอยู่ที่โคโลน กรรมการกลางจํานวนหนึ่งถูกจับกุมและหลังจากถูกคุมขังเป็นเวลา 18 เดือนแล ้วก็ถูกส่งขึ้นศาล พิพากษาเมื่อเดือนตุลาคม 1852 การพิจารณา " คดีชาวพรรคคอมมิวนิสต์โคโลน " อันมีชื่อครั้งนี้เริ่มตั้งแต่วันที่ 4 ตุลาคม จนถึงวันที่ 12 พฤศจิกายน ในบรรดาจําเลยเหล่านี้มี 7 คน ที่ถูกตัดสินจําคุกในป้อมมีกําหนดโทษต่างกัน ตั้งแต่ 3 ปี ถึง 6 ปี หลังจากประกาศคําพิพากษาแล ้ว สมาชิกที่เหลืออยู่ก็ได ้ยุบเลิกสันนิบาตอย่างเป็นทางการ ส่วน " แถลงการณ์ ฯ" นั้นดูเหมือนจะเป็นที่แน่นอนว่าจะต ้องถูกลืมไปเสียตั้งแต่นั้นมา เมื่อชนชั้นกรรมาชีพยุโรปได ้รวบรวมกําลังกันขึ้นใหม่ จนพอที่จะก่อการรุกโจมตีชนชั้นปกครองอีกครั้งนั้น สมาคม กรรมาชีพสากลก็ได ้เกิดขึ้น แต่วัตถุประสงค์ที่แจ่มชัดในการตั้งสมาคมนี้ก็เพื่อที่จะให ้ชนชั้นกรรมาชีพ ที่กําลังสู ้ รบของยุโรปและอเมริกาทั้งหมดสามัคคีอยู่ในองค์รวมเดียวกัน ดังนั้นสมาคมนี้จึงไม่อาจประกาศหลักการที่วางไว ้ ใน “แถลงการณ์ฯ” ในทันทีทันใด สากลฯ ควรมีหลักนโยบายอันกว ้างขวางเพียงพอเพื่อให ้สหบาลกรรมกร อังกฤษ พวกปรูดองในฝรั่งเศส เบลเยี่ยม อิตาลี และสเปญ ตลอดจนพวกลาส์ซาลส์ [1] ในเยอรมนีสามารถรับได ้ มาร์คซ์ผู ้ซึ่งได ้ร่างหลักนโยบายอันเป็นที่พอใจของพรรคทั้งปวงนี้ เวลานั้นได ้ฝากความหวังอันเต็มเปี่ยมไว ้กับ การพัฒนาทางจิตใจของชนชั้น กรรมาชีพ ซึ่งย่อมจะต ้องเกิดขึ้นจากการปฏิบัติการร่วมกันและการอภิปรายร่วม กัน เหตุการณ์และการเปลี่ยนแปลงต่างๆในระหว่างการต่อสู ้คัดค ้านทุน ซึ่งย่อมจะแพ ้มากกว่าเป็นผู ้ชนะย่อมทํา ให ้คนทั้งหลายรับรู ้ว่ายาขนานที่รักษา โรคต่างๆได ้สารพัดอันเป็นสูตรสําเร็จที่นิยมของพวกเขานั้นใช ้ไม่ได ้เลย ทั้งจะทําให ้พวกเขาเข ้าใจเงื่อนไขอันแท ้จริงแห่งการปลดแอกชนชั้นกรรมาชีพได ้ถ่องแท ้ยิ่งขึ้น มาร์คซ์ถูกต ้องขณะที่สากลฯ ยุบเลิกในปี 1874 นั้น กรรมาชีพได ้แตกต่างไปจากเมื่อครั้งตั้งสากลฯ ในปี 1864 อย่างสิ้นเชิง ลัทธิปรูดองในฝรั่งเศสและลัทธิลาส์ซาลส์ในเยอรมันนีใกล ้จะสิ้นลมอยู่แล ้ว แม ้กระทั่งสหบาล กรรมกรอังกฤษที่อนุรักษ์นิยม ซึ่งส่วนมากได ้ตัดความสัมพันธ์กับสากลฯมานานแล ้วนั้น ก็ก ้าวขึ้นทีละขั้นๆ จน กระทั่งประธานของพวกเขาได ้แถลงในนามของสหบาลเหล่านี้ในการประชุมสมัชชาผู ้แทน ณ สวอนซี ปีที่แล ้ว ว่า "กล่าวสําหรับเรา สังคมนิยมในภาคพื้นยุโรปไม่น่ากลัวอีกแล ้ว " จริงทีเดียวหลักการของ “แถลงการณ์ฯ ” ได ้ เผยแพร่กว ้างขวางมากในหมู่กรรมาชีพประเทศต่างๆ ทั่วโลกแล ้ว เมื่อเป็นเช่นนี้ “แถลงการณ์ฯ” ก็ออกมาสู่หน้าเวทีอีกครั้งหนึ่ง เริ่มตั้งแต่ปี 1850 เป็นต ้นมา ฉบับภาษาเยอรมัน ฉบับแรก ได ้พิมพ์ซํ้าหลายครั้งในสวิตเซอร์แลนด์ อังกฤษ และอเมริกา ปี 1872 มีผู ้แปลเป็นภาษษอังกฤษใน นิวยอร์ค และลงพิมพ์ในนิตยสาร " วูดฮัลแอนด์ คลาฟลินส์วีคลี่ " ที่นั่น ต่อจากนั้นได ้มีผู ้แปลจากฉบับภาษา อังกฤษนี้เป็นภาษาฝรั่งเศส ลงพิมพ์ในนิตยสาร " เลอ โซเซียลิสต์ " ในนิวยอร์ค ต่อมาในอเมริกาได ้ปรากฏฉบับ แปลภาษาอังกฤษที่บิดเบนไปบ ้างอย่างน้อยก็อีก 2 ฉบับ และในสองฉบับนี้ ฉบับหนึ่งยังเคยพิมพ์ซํ้าในอังกฤษ ฉบับภาษารัสเซียฉบับแรกซึ่งแปลโดยบาคูนินได ้พิมพ์ที่โรงพิมพ์ "คอโลโคล" ของเกร์เชนในเจนีวาประมาณปี 1863 ฉบับแปลภาษารัสเซียฉบับที่ 2 ที่แปลโดย เวรจาซูลิช ผู ้กล ้าหาญ ก็ได ้จัดพิมพ์ที่เจนีวาเช่นเดียวกันเมื่อปี 1882 ฉบับแปลภาษาเดนมาร์คฉบับใหม่ ได ้จัดพิมพ์เป็นหนังสือเล่มในชุดสังคมประชาธิปไตย " ที่โคเปนเฮเกน CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 3 of 30 26.09.2014 14:44
  • 7. ปี 1885 ฉบับแปลภาษาฝรั่งเศส ฉบับใหม่ตีพิมพ์ในนิตยสาร " เลอ โซเซียลิสต์" ในปารีส ปี 1886 และ ฉบับหลังนี้ได ้มีผู ้แปลเป็นภาษาสเปน จัดพิมพ์ในแมดริด ปี 1886 ส่วน ฉบับภาษาเยอรมันที่พิมพ์ใหม่นั้นมีจํานวน รวมแล ้วอย่างน้อยก็มี 12 ฉบับ ฉบับแปลภาษาอาร์เมเนีย อันที่จริงควร จะพิมพ์ออกจําหน่ายเมื่อไม่กี่เดือนก่อนในคอนสแตนติโนเปิล แต่แล ้วก็ไม่ได ้พิมพ์ออกมามีผู ้บอกข ้าพเจ้าว่า เพราะผู ้จัดพิมพ์กลัวการระบุ ชื่อของมาร์คซ์ในหน้าหนังสือและผู ้แปลก็ปฏิเสธที่จะพิมพ์ “แถลงการณ์ฯ” โดยถือ เป็นงานเขียนของตนเกี่ยวกับฉบับแปลภาษาอื่นๆ ที่จัดพิมพ์ในภายหลังแม ้ว่าข ้าพเจ ้าเคยได ้ฟังแต่ก็ไม่ได ้เห็น กับตาเอง ฉะนั้นประวัติของ “แถลงการณ์ฯ” จึงเป็นการสะท ้อนประวัติการเคลื่อนไหวของกรรมาชีพสมัยใหม่ใน ระดับสูง เวลานี้ไม่เป็นที่สงสัยเลยว่า “แถลงการณ์ฯ” เป็นนิพนธ์ที่เผยแพร่กว ้างขวางที่สุดและมีลักษณะสากลที่ สุด ในบรรดาเอกสารสากลนิยมทั้งหมดและเป็นหลักนโยบายร่วมกัน เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปในหมู่กรรมาชีพเรือน แสนเรือนล ้าน ตั้งแต่ไซบีเรียไปจนถึงแคลิฟอร์เนีย แต่ว่าขณะที่เราเขียน “ แถลงการณ์ฯ” นี้ เราจะเรียกแถลงการณ์นี้ว่า แถลงการณ์ ส ังคมนิยมไม่ ได ้ในปี 1847 ที่ เรียกกันว่าชาวสังคมนิยมนั้น ด ้านหนึ่งหมายถึงพวกที่เลื่อมใสทฤษฎีเพ ้อฝันต่างๆ ซึ่งก็คือ พวกโอเวนในอังกฤษ และพวกฟูริแอร์ในฝรั่งเศส ทั้งสองพวกนี้ได ้กลายเป็นกลุ่มเล็กๆไปแล ้วและค่อยๆ ก ้าวไปสู่ความพินาศ อีกด ้าน หนึ่งหมายถึงหมอสังคมถ่อยๆ ชนิดต่างๆ ซึ่งล ้วนแต่รับปากว่าจะใช ้วิธีปะโน่นปิดนี่หน่อย มาขจัดปัดเป่ าโรคภัย ทั้งปวงของสังคมโดยไม่ให ้เสียหายแก่ทุนและผลกําไรแม ้แต่ น้อย คนสองประเภทนี้ล ้วนยืนอยู่นอกการเคลื่อน ไหวของชนชั้นกรรมาชีพและยอมไปหาความ สนันสนุนจากชนชั้น "ที่ได ้รับการศึกษา" มากกว่า ส่วนในหมู่ชนชั้น กรรมาชีพในเวลานั้นพวกที่เชื่อมั่นว่าการปฏิวัติเปลี่ยน แปลงทางการเมืองล ้วนๆไม่เพียงพอเสียแล ้ว และเห็นว่า ต ้องดัดแปลงสังคมโดยรากฐาน พวกเขาได ้เรียกตัวเขาเองว่าชาวคอมมิวนิสต์ ลัทธิคอมมิวนิสต์ชนิดนี้เป็นลัทธิ คอมมิวนิสต์ที่ออกจะหยาบอยู่มาก ยังขาดการขัดเกลาและเกิดจากสัญชาตญาณโดยแท ้แต่มันมิได ้แตะต ้องจุด ที่สําคัญที่สุด และได ้เข ้มแข็งขึ้นในหมู่ชนชั้นกรรมาชีพจนพอแก่การก่อรูปขึ้นเป็นลัทธิ คอมมิวนิสต์เพ ้อฝันของ คาเบต์ในฝรั่งเศสและของไวท์ลิงในเยอรมนี นอกจากนี้จะเห็นได ้ว่าในปี 1847 สังคมนิยมเป็นการเคลื่อนไหวของ ชนชั้นกลาง ส่วนลัทธิคอมมิวนิสต์เป็นการเคลื่อนไหวของชนชั้นกรรมาชีพ เวลานั้นสังคมนิยมอย่างน้อยก็เป็น “ที่น่านับถือ” ในภาคพื้นยุโรป แต่ลัทธิคอมมิวนิสต์นั้นกลับตรงกันข ้าม เมื่อเราได ้มีความคิดเห็นกันมาตั้งแต่เริ่ม ต ้นแล ้วว่า “ การปลดแอกของชนชั้นกรรมาชีพจักต้องเป็ นเรื่องของชนชั้นกรรมาชีพเอง เท่านั้น” ดังนั้นเราจึงมิได ้ สงสัยแม ้แต่น้อยว่า ในระหว่างสองชื่อนี้ควรเลือกเอาชื่อใดดี ยิ่งกว่านั้นในเวลาต่อมาเราก็ไม่เคยคิดเลยว่าจะทิ้ง ชื่อนี้ด ้วย แม ้ว่า “แถลงการณ์ฯ” จะเป็นงานเขียนร่วมกันของเราสองคนก็ตาม แต่ถึงอย่างไรข ้าพเจ ้าก็เห็นควรจะต ้องชี้ว่า หลักการพื้นฐานที่ประกอบขึ้นเป็นแก่นของ “แถลงการณ์ฯ” นั้น เป็นของมาร์คซ์แต่ผู ้เดียว หลักการนี้ก็คือแบบวิธี การผลิตทางเศรษฐกิจ กับแบบวิธีการแลกเปลี่ยนที่สําคัญและโครงสร ้างของสังคมที่จะต ้องเกิดขึ้น อย่างแน่ นอน จากสิ่งดังกล่าวในยุคประวัติศาสตร์แต่ละยุคนั้นเป็นรากฐานการก่อตัวของ ประวัติศาสตร์ทางการเมืองและ จิตใจของยุคนั้นๆ และมีแต่เริ่มจากรากฐานนี้เท่านั้นจึงจะสามารถอธิบายประวัติศาสตร์นี้ได ้ด ้วยเหตุนี้ประวัติ ศาสตร์ทั้งหมดของมนุษยชาติ (นับตั้งแต่การสลายตัวของสังคมเผ่าชนบุพกาลซึ่งที่ดินเป็นกรรมสิทธิ์ร่วมกัน เป็น ต ้นมา) จึงล ้วนเป็นประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู ้ทางชนชั้น ซึ่งก็คือประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู ้ระหว่างชนชั้นขูดรีด กับชนชั้นที่ถูกขูด รีด ระหว่างชนชั้นปกครองกับชนชั้นที่ถูกกดขี่ ประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู ้ทางชนชั้นนี้ได ้รวม ขั้นแห่งการพัฒนามากมายหลาย ขั้น บัดนี้ได ้ถึงขั้นที่ว่าถ ้าชนชั้นที่ถูกขูดรีดและถูกกดขี่(ชนชั้นกรรมาชีพ) ไม่ทํา ให ้สังคมทั้งสังคมหลุดพ ้นจากการขูดรีดและกดขี่ไม่ว่าชนิดใด ตลอดจนการแบ่งชนชั้นและการต่อสู ้ทางชนชั้น พร ้อมกันไปให ้แล ้วเสร็จในรวดเดียว แล ้ว ก็จะไม่สามารถปลดแอกตนเองจากการควบคุมของชนชั้นที่ขูดรีดและ ปกครอง( ชนชั้นนายทุน ) ตนได ้ ความคิดนี้ตามความเห็นของข ้าพเจ ้าเห็นว่า ควรจะมีคุณูปการแก่วิชาประวัติศาสตร์เช่นเดียวกับที่ทฤษฎีของ ดาร์วินได ้มี คุณูปการแก่ชีววิทยา ตั้งแต่ก่อนหน้าปี 1845 หลายปี เราสองคนก็ได ้ค่อยๆเข ้าใกล ้กับความคิดนี้ไป ถึงขั้นไหน จะเห็นได ้อย่างกระจ่างแจ ้งจากหนังสือของข ้าพเจ ้าเรื่อง “ ภาวการณ์ของชนชั้นกรรมาชีพประทศ อังกฤษ”[2] แต่ครั้นถึงฤดูใบไม ้ผลิปี 1845 ขณะ CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 4 of 30 26.09.2014 14:44
  • 8. ที่ข ้าพเจ ้าได ้พบกับมาร์คซ์อีกครั้งหนึ่งในกรุงบรัสเซล เขาได ้จัดความคิดนี้เป็นรูปออกมาแล ้ว และยังได ้อธิบาย แก่ข ้าพเจ้าด ้วยถ ้อยคําอันแจ่มแจ้งเกือบจะเหมือนกับที่ ข ้าพเจ ้าได ้บรรยายไว ้ข ้างต ้น บัดนี้ข ้าพเจ้าขอคัดข ้อ ความตอนหนึ่งจากคํานําที่เราร่วมกันเขียนในฉบับภาษา เยอรมันปี 1872 ดังต่อไปนี้ “ไม่ว่าสภาพในช่วงระยะ 25 ปีมานี้จะเกิดการเปลี่ยนแปลงมากมายสักเพียงใดก็ตาม หลักการพื้นฐานทั่วไปที่วาง ไว ้ใน “แถลงการณ์ฯ” นี้กล่าวโดยทั่วไปแล ้ว จนบัดนี้ก็ยังคงถูกต ้องอย่างสิ้นเชิง อันที่จริงบางแห่งอาจปรับปรุง แก ้ไขได ้บ ้าง การนําพื้นฐานเหล่านี้ไปใช ้ในทางปฏิบัตินั้นก็ดังที่ “แถลงการณ์ฯ” ได ้กล่าวไว ้คือ ในทุกแห่งและ ทุกกาละล ้วนขึ้นอยู่กับเงื่อนไขทางประวัติศาสตร์ในเวลานั้น ด ้วยเหตุนี้มาตรการปฏิวัติเหล่านั้นที่เสนอไว ้ในต ้อน ท ้ายของบทที่ 2 จึงไม่มีความหมายเป็นพิเศษแต่อย่างใด ปัจจุบันข ้อความตอนนี้ในหลายๆ ด ้านควรเขียนให ้ต่าง ออกไป เนื่องด ้วยตั้งแต่ปี 1848 เป็นต ้นมา อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ได ้ขยายตัวไปอย่างมาก องค์การจัดตั้งของ ชนชั้นกรรมาชีพก็ได ้ปรับปรุงและขยายตัวไปด ้วย เนื่องจากก่อนอื่นได ้ความจัดเจนในทางปฏิบัติจากการปฏิวัติ เดือนกุมภาพันธ์ และต่อมาโดยเฉพาะอย่างยิ่งได ้ความจัดเจนในทางปฏิบัติจากคอมมูนปารีส ซึ่งเป็นครั้งแรกที่ ชนชั้นกรรมาชีพกุมอํานาจรัฐไว ้ได ้นานถึง 2 เดือน ฉะนั้นเวลานี้บางแห่งในหลักนโยบายนี้จึงได ้พ ้นสมัยไปแล ้ว โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คอมมูนฯ ได ้พิสูจน์ว่า " ชนชั้นกรรมาชีพจะยึดกุมกลไกรัฐสําเร็จรูปอย่างง่ายๆ และใช ้มันมา บรรลุซึ่งจุดมุ่งหมายของตนนั้นไม่ได ้“ (ดู “สงครามกลางเมืองในฝรั่งเศส แถลงการณ์ของคณะกรรมการทั่วไป แห่งกรรมาชีพสากล” ลอนดอน สํานักพิมพ์ ทรูลัฟ ปี 1871 หน้า 15 ในนั้นได ้ขยายความคิดนี้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น) ประการต่อมาเป็นที่แจ่มชัดอย่างยิ่งเช่นกันว่า ความเห็นเกี่ยวกับปัญหาท่าทีของชาวพรรคคอมมิวนิสต์ที่มีต่อ พรรคฝ่ ายค ้านต่าง ๆ (บทที่ ๔) แม ้ว่าโดยหลักใหญ่แล ้วเวลานี้ยังถูกต ้องอยู่ก็ตาม แต่เนื่องจากสถานการณ์ทาง การเมืองได ้เปลี่ยนแปลงไปแล ้วโดยสิ้นเชิง และบรรดาพรรคการเมืองที่ยกขึ้นมากล่าวในเวลานั้น ส่วนใหญ่ก็ได ้ ถูกวิถีแห่งการพัฒนาของประวัติศาสตร์กวาดไปจนหมดสิ้นแล ้ว ฉะนั้นความเห็นเหล่านั้นในทางปฏิบัติถึงอย่างไร ก็ได ้พ ้นสมัยไปแล ้ว “แต่” แถลงการณ์ ฯ “เป็นเอกสารทางประวัติศาสตร์ ซึ่งเราไม่มีสิทธิ์ที่จะทําการแก ้ไขอีก” ฉบับแปลนี้แปลโดย นายแซมมวล มัวร์ ซึ่งเป็นผู ้แปลหนังสือ “ว่าด้วยทุน” ของมาร์คซ์เป็นส่วนใหญ่ ข ้าพเจ ้าได ้ตรวจทานคําแปลกับ เขามาแล ้วครั้งหนึ่ง และข ้าพเจ ้ายังได ้เพิ่มเติมหมายเหตุช่วยความเข ้าใจบางอย่างที่มีลักษณะ ประวัติศาสตร์ ด ้วย เอฟ . เองเกิลส์ ลอนดอน 30 มกราคม 1888 * * * 1. ลาส์ซาลล์เองเวลามาสัมพันธ์กับเราเขามักจะถือว่าตัวเขาเป็นศิษย์ของมาร์คซ์ เสมอ และในฐานะที่เป็นศิษย์ ของมาร์คซ์เขายืนอยู่บนจุดยืนของ “แถลงการณ์ฯ” แต่ในการโฆษณาเปิดเผยของเขาระหว่างปี 1862-1864 กลับมิได ้เรียกร ้องเกินไปกว่าความต ้องการที่จะตั้งสหกรณ์การผลิต โดยอาศัยเงินกู ้จากรัฐเลย (หมายเหตุโดย เองเกิลส์ ) 2. The Condition of the Working Class in England in 1884, By Frederick Engels. Translated by Florence K. Wischnewetzky, New York, Lovell-London, W. Reeves, 1888 ( หมายเหตุโดยเองเกิลส์ ) CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 5 of 30 26.09.2014 14:44
  • 9. ปีศาจตนหนึ่ง ปีศาจแห่งลัทธิคอมมิวนิสต์กําลังวนเวียนอยู่ในยุโรป อิทธิพลทั้งปวงของยุโรปเก่าทั้งสันตะปาปา และพระเจ้าซาร์ทั้งเมตเตร์นิชและกี โซต์ ทั้งชาวพรรคหัวรุนแรงของฝรั่งเศสและสายลับตํารวจของเยอรมัน ได ้ รวมกันเข ้าเป็นพันธมิตรอันศักดิ์สิทธิ์เพื่อกําจัดปีศาจตนนี้ มีพรรคฝ่ ายค ้านพรรคไหนบ ้างที่ไม่ถูกฝ่ ายศัตรูของตนซึ่งเป็นผู ้กุมอํานาจตรา หน้าว่าเป็นพรรคคอมมิวนิสต์ ? และมีพรรคฝ่ ายค ้านพรรคไหนบ ้างที่ไม่เอาข ้อหาลัทธิคอมมิวนิสต์โยนไปให ้พวก พรรคฝ่ ายค ้านที่ก ้าวหน้ายิ่ง กว่าและพวกศัตรูที่เป็นปฏิกิริยากับตนเอง ? จากข ้อเท็จจริงนี้ได ้ข ้อสรุป 2 ข ้อ คือ หนึ่ง ลัทธิคอมมิวนิสต์ได ้เป็นที่ยอมรับจากอิทธิพลทั้งปวงของยุโรปว่าเป็น อิทธิพลอย่างหนึ่งแล ้ว สอง บัดนี้ถึงเวลาแล ้วที่ชาวพรรคคอมมิวนิสต์จะชี้แจงทัศนะของตน วัตถุประสงค์ของตนและความมุ่งหมายของ ตนอย่างเปิดเผยแก่ทั่วทั้งโลก และนําเอาแถลงการณ์ของพรรคเองมาต่อต ้านเทพนิยายเรื่องปีศาจแห่งลัทธิ คอมมิวนิสต์ ด ้วยวัตถุประสงค์ดังกล่าวนี้ ชาวพรรคคอมมิวนิสต์ประเทศต่างๆ จึงได ้มาชุมนุมกันที่ลอนดอน และได ้ร่าง แถลงการณ์ประกาศต่อทั่วโลกเป็นภาษาอังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี เฟลมิช และ เดนมาร์ค ดังต่อไปนี้ ประวัติศาสตร์ของส ังคมทั้งหมดที่ผ่านมาจนกระทั่งถึงบัดนี้[2] ล้วนแต่เป็ นประวัติศาสตร์แห่งการต่อสู้ ทางชนชั้น เสรีชนกับทาส ผู ้ดีกับสามัญชน เจ ้าผู ้ครองแคว ้นกับทาสกสิกร นายช่างในสมาคมอาชีพ[3] กับลูกมือ สรุปแล ้วก็ คือผู ้กดขี่กับผู ้ถูกกดขี่ต่างอยู่ในฐานะที่เป็นฝ่ ายตรงกันข ้าม ต่อกันตลอดเวลา และดําเนินการต่อสู ้ที่บางครั้งก็ ซ่อนเร ้น บางครั้งก็เปิดเผยอยู่มิได ้ขาด และการต่อสู ้แต่ละครั้งก็ล ้วนจบลงด ้วยสังคมทั้งสังคมที่ถูกเปลี่ยนแปลง ด ้วย การปฏิวัติ หรือไม่ก็ชนชั้นที่ต่อสู ้กันต่างสูญสลายไปด ้วยกัน และสังคมถอยหลังไปสู่ความป่ าเถื่อน ในยุคประวัติศาสตร์แต่ละยุคที่ผ่านมาเราจะเห็นได ้แทบทุกแห่งว่า สังคมได ้แบ่งออกเป็นชั้น วรรณะ ต่างๆ ที่แตก ต่างและหลากหลาย ในโรมสมัยโบราณมีผู ้ดี อัศวิน สามัญชนคนธรรมดา และทาส ในสมัยกลางมีเจ้าผู ้ครอง แคว ้น เจ ้าครองนคร นายช่างในสมาคมอาชีพ ลูกมือ และทาสกสิกรที่อยู่ตามท ้องไร่ท ้องนา และภายในชนชั้น เหล่านี้ก็ยังมีการแบ่งชั้นย่อยๆไปอีกเรียกว่าชั้นชน สังคมชนชั้นนายทุนสมัยใหม่ซึ่งเกิดขึ้นจากการสูญสลายของสังคมขุนนางไม่ได ้ทําลายความเป็นคู่ขัดแย ้งทาง ชนชั้นลงไป มันเพียงแต่นําเอาชนชั้นใหม่ เงื่อนไขการกดขี่ใหม่และรูปแบบการต่อสู ้ใหม่มาแทนที่คู่ขัดแย ้งอัน เก่าเท่า นั้น แต่ยุคของเรา ยุคชนชั้นนายทุนมีลักษณะพิเศษอยู่ประการหนึ่งคือ มันทําให ้การเป็นคู่ขัดแย ้งกันทางชนชั้นไม่ สับสน สังคมทั้งสังคมนับวันแต่จะแยกออกเป็นสองค่ายใหญ่ ที่เป็นศัตรูกันแยกออกเป็นสองชนชั้นใหญ่ที่ขัดกัน โดยตรง นั่นคือ คู่ขัดแย ้งระหว่างชนชั้นนายทุนและชนชั้นกรรมาชีพ จากทาสกสิกรในสมัยกลางต่อมาได ้เกิดมีชาวเมืองของเมืองในระยะแรกขึ้น จากชั้นวรรณะที่แบ่งผิวพรรณกัน CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 6 of 30 26.09.2014 14:44
  • 10. แบ่งแยกคนจนคนรวย แบ่งคนมีตระกูล กับคนที่ไม่มีหัวนอนปลายเท ้าของชาวเมืองให ้ขยายตัวออกไป จนเกิด เป็นพวกชนชั้นนายทุนขึ้นเป็นครั้งแรก การค ้นพบทวีปอเมริกาและการเดินเรืออ ้อมทวีปอาฟริกาได ้เปิดแหล่งเคลื่อนไหว แหล่งใหม่ให ้แก่ชนชั้นนายทุน ที่กําลังเจริญเติบโตขึ้น ตลาดอินเดียตะวันออกและจีน ความเป็นเมืองขึ้นของทวีปอเมริกา การทําการค ้ากับเมือง ขึ้น การเพิ่มพูนปัจจัยในการแลกเปลี่ยนและสินค ้าทั่วไปเหล่านี้ได ้ทําให ้การค ้าการ เดินเรือและการอุตสาหกรรม ขยายตัวก ้าวหน้าขึ้นสู่กระแสสูงเป็นประวัติการณ์ ด ้วยเหตุนี้จึงทําให ้ปัจจัยการปฏิวัติขยายตัวไปอย่างรวดเร็วภาย ในสังคมขุนนาง ที่กําลังพังทลาย วิธีประกอบกิจการอุตสาหกรรมแบบขุนนางหรือแบบผูกขาดโดยสมาคมอาชีพอย่างแต่ ก่อนนั้น ไม่สามารถสนอง ตอบความต ้องการที่เพิ่มขึ้นของตลาดใหม่ที่เกิดขึ้นได ้ต่อไป การผลิตด ้วยฝีมือแรงงาน ที่เรียกว่าหัตถกรรมตาม โรงงานจึงได ้เข ้าแทนที่วิธีประกอบกิจการนี้ นายช่างในสมาคมอาชีพได ้ถูกชนชั้นนายทุนที่ประกอบอุตสาหกรรม กีดกันออกไป การแบ่งงานกันระหว่างสมาคมอาชีพต่างๆ ได ้ถูกยกเลิกไปพร ้อมกับการแบ่งงานภายในโรง หัตถกรรมแต่ละโรงที่เกิดขึ้นมาแทน แต่ตลาดก็ยังขยายออกไปเรื่อยๆ และความต ้องการก็เพิ่มขึ้นอยู่ไม่ขาด กระทั่งหัตถกรรมตามโรงงานก็ไม่ สามารถสนองความต ้องการได ้อีก ดังนั้นไอนํ้าและเครื่องจักรกลจึงได ้ก่อให ้เกิดการผลิตทางอุตสาหกรรม และ เกิดการปฏิวัติวิธีการผลิตแบบใหม่ขึ้น อุตสาหกรรมสมัยใหม่ขนาดใหญ่ได ้เข ้าแทนที่การใช ้แรงงานฝีมือ หรือ หัตถกรรมตามโรงงาน มหาเศรษฐีอุตสาหกรรมผู ้นําของกองทัพอุตสาหกรรมทั้งหมดซึ่งเป็นนายทุนสมัยใหม่ ได ้ เข ้ามาแทนที่ชนชั้นนายทุนน้อยที่ประกอบอุตสาหกรรมอยู่เดิม อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ได ้สร ้างตลาดโลกขึ้นจากการที่ได ้ค ้นพบทวีปอเมริกามาก่อน ตลาดโลกได ้ทําให ้การค ้า ขาย การเดินเรือ และการคมนาคมขนส่งทางบกพัฒนาไปอย่างใหญ่หลวง การพัฒนานี้ได ้กลับมากระตุ ้น อุตสาหกรรมให ้ขยายออกไป พร ้อมกันนี้เมื่ออุตสาหกรรมการค ้าขาย การเดินเรือ และการรถไฟยิ่งขยายตัวไป ชน ชั้นนายทุนก็ยิ่งพัฒนาไป ทุนของพวกเขาก็ยิ่งเพิ่มพูนมากขึ้น และชนชั้นเดิมที่มาจากสมัยกลางก็ยิ่งถูกกีดกัน ออกไป จากนี้จะเห็นได ้ว่าชนชั้นนายทุนสมัยใหม่เองนี่แหละที่เกิดขึ้นจากกระบวนการ ของการพัฒนาอันยาวนาน เรียก ได ้ว่าชนชั้นนี้เป็นผลิตผลของการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงทั้งกระบวนการและ รูปแบบในวิธีการผลิตและวิธีการแลก เปลี่ยนค ้าขายกัน ในแต่ละขั้นแห่งการพัฒนาของชนชั้นนายทุนได ้ประสบความสําเร็จทางการเมืองที่ สอดคล ้องกันติดตามมาด ้วย ขณะอยู่ภายใต ้การปกครองของเจ ้าผู ้ครองแคว ้นชนชั้นนายทุนถือเป็นชนชั้นผู ้ถูก กดขี่ พวกเขาต่อสู ้กับผู ้ ปกครองโดยได ้จัดตั้งกลุ่มที่ติดอาวุธและปกครองตนเองในคอม มูน[4] ในบางแห่งได ้จัดตั้งเป็นสาธารณรัฐที่เป็น อิสระ และในบางแห่งได ้ประกอบขึ้นเป็นสามัญชน เป็นกลุ่มคนที่เสียภาษีในรัฐราชาธิปไตย ต่อมาในสมัยที่ใช ้ แรงงานฝีมือหัตถกรรมตามโรงงาน ชนชั้นนี้ได ้กลายเป็นกลุ่มผู ้มีอิทธิพลที่ประจันหน้ากับพวกผู ้ดีในรัฐระบอบ ราชาธิปไตยกึ่งขุนนาง หรือรัฐในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ยังมีระบบปกครองโดยกษัตริย์ กระทั่งเป็นราก ฐานสําคัญของรัฐระบอบมหาราชาธิปไตย สุดท ้ายนับตั้งแต่ได ้สร ้างอุตสาหกรรมขนาดใหญ่และตลาดโลกขึ้น เป็นต ้นมาชนชั้น นี้ได ้ยึดการปกครองทางการเมืองมาเป็นของตน ในรัฐที่มีระบอบสภาผู ้แทนสมัยใหม่จนอํานาจ ของรัฐสมัยใหม่เป็ นแต่เพียงคณะ กรรมการจัดการธุรกิจร่วมกันของชนชั้นนายทุนทั้งชนชั้นเท่านั้นเอง ในประวัติศาสตร์ชนชั้นนายทุนเคยมีบทบาทที่ปฏิวัติอย่างยิ่ง ในที่ที่ชนชั้นนายทุนยึดการปกครองได ้แล ้ว ชนชั้น นี้ได ้ทําลายบรรดาความสัมพันธ์แบบขุนนาง แบบพ่อเป็นใหญ่ และแบบชนบทเพ ้อฝันลงไปจนหมดสิ้น ชนชั้นนี้ ได ้ทําลายล ้างสิ่งที่ใช ้จองจํากักขังชนิดต่างๆของขุนนางซึ่งผูกมัด ผู ้คนไว ้กับผู ้เป็นใหญ่อย่างสิ้นเชิง ทําให ้ความ สัมพันธ์ระหว่างคนด ้วยกันชัดเจน ไม่ต ้องหลอกลวงหรือปิดบังอีกต่อไป คือ ให ้อิสระหว่างบุคคลที่จะค ้าขาย ใน"การค ้าชําระเงินสด"อย่างหน้าเลือด ชนชั้นนี้ได ้ทําให ้ความรู ้สึกที่เลื่อมใสศรัทธาในศาสนา จิตใจอันเร่าร ้อน ของอัศวินยุคโบราณ และอารมณ์อันอ่อนไหวของชาวเมืองที่โง่เง่าเหล่านี้กลายเป็นความเห็นแก่ ประโยชน์ส่วน ตัว ชนชั้นนี้ได ้ทําให ้ศักดิ์ศรีของคนกลายเป็นลินค ้าที่มีมูลค่าแลกเปลี่ยนกันได ้โดยเอาเสรีภาพชนิดที่ไร ้ความ CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 7 of 30 26.09.2014 14:44
  • 11. ละอายและเกรงกลัวต่อความชั่วมาแทนที่เสรีภาพอัน มากมายที่มีอยู่เดิมจากการใช ้กําลังอํานาจ สรุปแล ้วชนชั้น นี้ได ้ใช ้การขูดรีดที่เปิดเผยไร ้ยางอายอย่างโจ่งแจ ้ง มาแทนการขูดรีดที่อําพรางไว ้ด ้วยความเพ ้อฝันทางศาสนา เทพนิยาย และ การหลอกลวงทางการเมืองที่พวกกษัตริย์ และเจ้าขุนมูลนายมักใช ้เป็นเครื่องมือในยุคก่อนๆ ชนชั้นนายทุนได ้ทําให ้อาชีพต่างๆที่น่ายกย่องนับถือและชวนให ้เคารพยําเกรง มาตลอดนั้นหมดสง่าราศีไป ชน ชั้นนี้ได ้ทําให ้นายแพทย์ ทนายความ หมอสอนศาสนา กวี นักปราชญ์ และ ครูบาอาจารย์กลายเป็นผู ้ใช ้แรงงาน รับจ ้างที่ชนชั้นนี้ว่าจ ้างมาด ้วยเงิน และตีค่าราคาพวกเขาในรูปของค่าตอบแทน โดยปราศจากบุญคุณ และความ เคารพ หลังจากได ้ซื้อหรือช่วงชิงให ้ได ้มาซึ่งสิทธิการปกครองตนเองขั้นต ้นจากเจ ้า ผู ้ครองแคว ้นแล ้ว ชาวนครของ อิตาลีและฝรั่งเศส ก็ตั้งชื่อให ้องค์รวมแห่งนครของตนว่า “คอมมูน” ( หมายเหตุโดย เองเกิลส์ ในฉบับภาษา เยอรมันปี 1890 ) ชนชั้นนายทุนได ้ทําให ้ความรู ้สึกอบอุ่นอ่อนโยน ที่เชื่อมโยงความสัมพันธ์ภายในครอบครัวหมดไป และทําให ้ ความสัมพันธ์นี้เปลี่ยนเป็นความสัมพันธ์ทางเงินตราล ้วนๆ ใครที่หาเงินเข ้าบ ้านได ้ก็ถือว่าเป็นใหญ่ในบ ้านนั้น คน ชราที่ไม่สามารถทิ้งมรดกให ้ลูกหลาน หมดอํานาจเงินทองก็จะถูกส่งไปบ ้านพักคนชรา หรือทอดทิ้งให ้อยู่เพียง ลําพัง ชนชั้นนายทุนได ้เผยให ้เห็นว่าการใช ้ความรุนแรงกับบรรดาทาสไพร่ในยุคกลางซึ่ง พวกปฏิกิริยาชื่นชม ล ้วนเป็น ที่มาของความเฉื่อยชาในสังคม ชนชั้นนี้ได ้พิสูจน์ให ้เห็นเป็นครั้งแรกว่าการทํางานของคนเราสามารถสร ้าง สรรค์ อะไรได ้บ ้าง ชนชั้นนี้ได ้สร ้างสิ่งมหัศจรรย์ที่แตกต่างกับปิระมิดของอียิปต์ ท่อส่งนํ้าในโรมและโบสถ์แบบโกธิคอ ย่างสิ้นเชิง ชนชั้นนี้ได ้บรรลุผลในการเดินทัพทางไกลซึ่งแตกต่างกับการอพยพชนชาติครั้ง ใหญ่และขบวน ครูเสดอย่างสิ้นเชิง ชนชั้นนายทุนมีแต่ทําให้เครื่องมือการผลิตพัฒนาขึ้น จากนั้นก็ทําให้ความส ัมพันธ์ทางการผลิตและ ความสัมพันธ์ทางสังคมทั้งหมด ปฏิวัติอยู่เรื่อยไป มิฉะนั้นแล้วก็จะดํารงอยู่ต่อไปไม่ได้ ตรงกันข ้ามการ รักษาวิธีการผลิตแบบเก่าไว ้โดยไม่เปลี่ยนแปลงจะเป็นเงื่อนไข สําคัญอันดับแรกที่ทําให ้ชนชั้นอุตสาหกรรมทั้ง หลายไม่สามารถดํารงอยู่ได ้การปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการผลิตอยู่เรื่อยๆ ความปั่นป่ วนมิได ้ขาดของความสัมพันธ์ ทางสังคม ความไม่สงบและความแปรเปลี่ยนอยู่ตลอดเวลา เหล่านี้คือสิ่งที่ยุคชนชั้นนายทุนต่างกับยุคอื่นๆที่เคย มีมาในอดีต ความสัมพันธ์อันคงตัวและเก่าแก่ทั้งปวงตลอดจนความคิดและความคิดเห็นซึ่งเคย เป็นที่เคารพ ตลอดมาและสอดคล ้องกับความสัมพันธ์ดังกล่าวล ้วนถูกขจัดให ้หมดไป ความ สัมพันธ์ทั้งปวงที่ก่อรูปขึ้นใหม่ ยังไม่ทันจะคงตัวก็เก่าล้าสมัยเสียแล้ว สิ่งที่คงตัวทั้งปวงจะหายไป สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งปวงจะถูกลบหลู่ ในที่สุด ผู ้คนทั้งหลายจําต ้องมองฐานะความเป็นอยู่ของเขา และความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันด ้วยสายตาอันเย็นชา กลาย เป็นความโดดเดี่ยว แปลกแยก ความต ้องการที่จะขยายแหล่งจําหน่ายผลิตภัณฑ์อยู่เรื่อยๆบังคับให ้ชนชั้นนาย ทุนต ้องวิ่งเต ้นไปตามที่ต่างๆ ทั่ว โลก ชนชั้นนี้ต ้องไปตั้งหลักแหล่งทั่วทุกแห่ง ไปเปิดกิจการขึ้นทั่วทุกแห่งและไปสร ้างความสัมพันธ์แบบ "โลกา ภิวัฒน์" ขึ้นทั่วทุกแห่ง เนื่องจากได ้เปิดตลาดโลกขึ้น ชนชั้นนายทุนจึงทําให ้การผลิตและการอุปโภคบริโภคของประเทศทั้งปวงมี ลักษณะ เหมือนกันทั่วโลก ไม่ว่าพวกปฏิกิริยาจะเสียดายเพียงไรก็ตาม ชนชั้นนายทุนก็ยังคงขุดรากถอนโคน อุตสาหกรรมแบบเก่า อุตสาหกรรมแห่งชาติที่เก่าแก่ ครํ่าครึ ต ้องถูกทําลายไป หรือยังคงต ้องถูกทําลายอยู่ทุกวัน มันถูกอุตสาหกรรมใหม่กีดกันออกไป การสร ้างอุตสาหกรรมใหม่ขึ้นได ้กลายเป็นปัญหาความเป็นความตายของ ประชาชาติที่ เจริญแล ้วทั้งปวง สิ่งที่อุตสาหกรรมใหม่เหล่านี้นํามาแปรรูปนั้นไม่ใช่วัตถุดิบในท ้องถิ่นของตน หาก เป็นวัตถุดิบที่มาจากดินแดนอันไกลแสนไกล ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเหล่านี้ไม่เพียงแต่สนองการอุปโภคบริโภค ในประเทศเท่า นั้น หากยังสนองการอุปโภคบริโภคในที่ต่างๆ ทั่วโลกไปพร ้อมกันด ้วย ความต ้องการแบบเก่าที่ สนองโดยผลิตภัณฑ์ในประเทศ ได ้ถูกแทนที่โดยความต ้องการแบบใหม่ที่สนองโดยผลิตภัณฑ์จากประเทศและ เขตแคว ้น อันไกลแสนไกล ภาวะที่ผลิตเลี้ยงตัวเองปิดประตูอยู่ตามลําพังเฉพาะท ้องถิ่นและเฉพาะชาติ อย่างแต่ CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 8 of 30 26.09.2014 14:44
  • 12. ก่อน ได ้ถูกแทนที่โดยการไปมาหาสู่กัน และการพึ่งพาอาศัยกันของประชาชาติต่างๆ ในทุกๆด ้าน การผลิตทาง ด ้านวัตถุเป็นเช่นนี้ การผลิตทางด ้านจิตใจก็เช่นเดียวกัน ผลิตผลทางจิตใจของแต่ละประชาชาติได ้กลายเป็น สมบัติร่วมกัน ลักษณะด ้านเดียวและลักษณะจํากัดทางประชาชาติกลายเป็นสิ่งที่เป็นไปไม่ได ้ยิ่ง ขึ้นทุกที ดังนั้น วรรณคดี ศิลปะ ปรัชญา และวิทยาศาสตร์ของประชาชาติ และของท ้องถิ่นมากมายจึงได ้ก่อรูปขึ้นเป็นวรรณคดี ศิลปะ ปรัชญา และวิทยาศาสตร์แห่งโลก เนื่องจากเครื่องมือการผลิตทั้งปวงได ้รับการปรับปรุงอย่างรวดเร็ว และเนื่องจากการคมนาคมมีความสะดวกอย่าง ยิ่ง ชนชั้นนายทุนจึงได ้ดึงประชาชาติทั้งปวง แม ้กระทั่งประชาชาติที่ป่ าเถื่อนที่สุดเข ้ามาสู่อารยธรรม สินค ้าราคา ถูกของชนชั้นนี้ คือ ปืนใหญ่ขนาดหนักที่ชนชั้นนี้ใช ้มาพังทลายกําแพงยักษ์ทุกแห่งลง และพิชิตจิตใจที่เคียด แค ้นต่างชาติอย่างลึกซึ้งที่สุดของคนป่ าเถื่อน ชนชั้นนี้บีบบังคับให ้ประชาชาติทั้งปวง (ถ ้าประชาชาติเหล่านั้นไม่ ต ้องการสูญพันธุ์ ) ใช ้แบบวิธีการผลิตของชนชั้นนายทุน ชนชั้นนี้บีบบังคับประชาชาติเหล่านั้นดําเนินการในสิ่งที่ เรียกว่าระบอบ อารยธรรมในหมู่พวกเขาเอง ซึ่งก็คือกลายเป็นระบอบนายทุน กล่าวโดยสรุปก็คือชนชั้นนี้สร ้าง โลกของตนขึ้นโลกหนึ่งตามรูปโฉมของตนเอง ชนชั้นนายทุนทําให ้ชนบทต ้องยอมขึ้นต่อการปกครองของเมือง ชนชั้นนี้ได ้สร ้างเมืองอันใหญ่โตขึ้น ทําให ้ ประชากรในเมืองเพิ่มมากกว่าประชากรในชนบทมากมาย อันเป็ นเหตุให้ พลเมืองจํานวนมากพ้นจากภาวะโง่ เง่ายากลําบากของชีวิตในชนบท เช่นเดียวกันขณะที่ชนชั้นนี้ทําให ้ชนบทขึ้นต่อเมือง ชนชั้นนี้ก็ทําให ้อนารย ประเทศหรือประเทศที่ล ้าหลังด ้อยพ ้ฒนา ขึ้นต่อและพึ่งพาประเทศพัฒนา ทําให ้ประชาชาติแห่งชาวนาต ้องขึ้น ต่อประชาชาติแห่งชนชั้นนายทุน ทําให ้ตะวันออกต ้องขึ้นต่อตะวันตก ชนชั้นนายทุนทําให ้ภาวะปัจจัยการผลิต ทรัพย์สิน และ ประชากรที่กระจัดกระจายค่อยๆหมดไปทุกที ชนชั้นนี้ทํา ให ้ประชากรต ้องอยู่กันอย่างหนาแน่น ทําให ้ปัจจัยการผลิตรวมศูนย์ขึ้นและทําให ้ทรัพย์สินมารวมอยู่ในมือคน ส่วนน้อย ผลที่จะต ้องเกิดขึ้นจากนี้ก็คือ การรวมศูนย์ทางการเมือง เขตแคว ้นต่างที่เป็นอิสระที่มีความสัมพันธ์ที่ เพียงเป็นพันธมิตรกัน ที่มีผลประโยชน์ที่ต่างกัน กฎหมายต่างกัน รัฐบาลที่ต่างกัน และระบบภาษีศุลกากรต่างกัน กลับมารวมกันขึ้นเป็นประเทศประเทศหนึ่งที่มีรัฐบาลหนึ่งเดียวที่เป็นเอกภาพ มีกฎหมายที่เป็นเอกภาพ มีผล ประโยชน์ทางชนชั้นของประชาชาติที่เป็นเอกภาพ และระบบภาษีศุลกากรที่เป็นเอกภาพ คือเป็นอันหนึ่งอันเดียว กันในที่สุด ในระหว่างครองอํานาจเป็ นเวลาเพียงร้อยปีนั้น ชนชั้นนายทุนได้สร้างพล ังการผลิตที่ยิ่งใหญ่กว่าพล ัง การผลิตทั้งหมดที่คน รุ่นก่อนๆ ทุกรุ่นได้สร้างขึ้นมา การพิชิตพลังธรรมชาติ การใช ้เครื่องจักรกล การใช ้เคมี ในอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม การเดินเรือกลไฟ การเดินรถไฟ การใช ้โทรเลข การบุกเบิกผืนแผ่นดินใหญ่เป็น ผืนๆ การเดินเรือในแม่นํ้าลําคลอง การปรากฏขึ้นของประชากรจํานวนมากมายราวกับใช ้วิธีเล่นกลเรียกให ้ผุดขึ้น มาจาก ใต ้พิภพ ที่แล ้วมามีศตวรรษใดบ ้าง ที่สามารถคาดคิดได ้ว่าจะมีพลังการผลิตเช่นนี้แฝงอยู่ในแรงงาน สังคม ? จากนี้จะเห็นได ้ว่า ปัจจัยการผลิต และปัจจัยการแลกเปลี่ยน ซึ่งชนชั้นนายทุนอาศัยมาก่อตัวขึ้นนั้นได ้สร ้างขึ้น แล ้วล่วงหน้าในสังคมขุน นาง ความสัมพันธ์ในการผลิตและการแลกเปลี่ยนของสังคมขุนนางที่ดําเนินอยู่ การจัด เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมของขุนนาง และ ความสัมพันธ์ของระบอบกรรมสิทธิ์ขุนนางที่เป็นเจ้าเข ้าของอยู่แต่ เดิมจะไม่ สอดคล ้องกับพลังการผลิตที่พัฒนาไปของระบบทุนนิยมต่อไป เพราะความสัมพันธ์ดังกล่าวกําลังขัด ขวางการผลิตแบบใหม่ แทนที่จะกระตุ ้นการผลิตก็กลับกลายเป็นเครื่องผูกมัดการผลิต มันจึงต ้องถูกทําลาย และ มันก็ถูกทําลายไปแล ้ว สิ่งที่เข ้าแทนที่ก็คือ การแก่งแย่งแข่งขันอย่างเสรีตลอดจนระบอบทางสังคม ทางการเมืองซึ่งสอดคล ้องกับการ แก่งแย่งแข่งขันอย่างเสรี และการปกครองทางเศรษฐกิจและการเมืองของชนชั้นนายทุนนั่นเอง ปัจจุบันนี้การเคลื่อนไหวทํานองเดียวกันกําลังดําเนินอยู่เบื้องหน้าเรา สังคมชนชั้นนายทุนสมัยใหม่ซึ่งมีความ สัมพันธ์ทางการผลิตและความสัมพันธ์ทาง การแลกเปลี่ยนของชนชั้นนายทุน รวมถึงความสัมพันธ์ของระบอบ กรรมสิทธิ์ของชนชั้นนายทุน ซึ่งสร ้างปัจจัยการผลิตและปัจจัยการแลกเปลี่ยนอันใหญ่โตราวกับใช ้วิธีเล่นกล นั้น CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 9 of 30 26.09.2014 14:44
  • 13. บัดนี้เหมือนกับพ่อมดที่ไม่สามารถจะควบคุมภูติผีที่ตนใช ้เวทมนต์ปลุกขึ้นมา ได ้อีกแล ้ว ประวัติของอุตสาหกรรม และการค ้าในหลายสิบปีมานี้เป็นเพียงประวัติของพลังการ ผลิตสมัยใหม่ที่ต่อต ้านความสัมพันธ์ทางการผลิต สมัยใหม่จนกลายเป็นวิกฤตทาง เศรษฐกิจ และในที่สุดสิ่งนี้จะต่อต ้านความสัมพันธ์ของระบอบกรรมสิทธิ์อันเป็น เงื่อนไข แห่งการดํารงอยู่ของชนชั้นนายทุนและการปกครองของชนชั้นนี้เอง วิกฤตทางการค ้าซึ่งคุกคามการ ดํารงอยู่ของสังคมทุนนิยมทั้งสังคมจะทวีมากยิ่ง ขึ้นทุกที ในระหว่างการหมุนเวียนเป็นรอบระยะก็เพียงพอที่จะ พิสูจน์ข ้อนี้แล ้ว ในระหว่างเกิดวิกฤตทางการค ้า มักปรากฏว่าไม่เพียงแต่ผลิตภัณฑ์ที่ผลิตสําเร็จแล ้วจํานวนมาก มายถูกทําลายไป เท่านั้น หากพลังการผลิตเช่นโรงงานต่างๆที่ได ้สร ้างขึ้นแล ้วจํานวนมากมายก็จะถูกทําลาย ไป ด ้วย ในระหว่างเกิดวิกฤตทุนนิยมได้เกิดโรคระบาดทางส ังคมชนิดที่ทุกยุค ทุกสมัยในอดีตคงจะเห็น เป็ นปรากฏการณ์ที่เหลวไหลขึ้น ซึ่งก็คือโรคระบาดแห่งการผลิตล้นเกินท่ามกลางความอดอยาก สังคม ได ้ค ้นพบในทันทีว่าตนเองได ้กลับไปสู่ภาวะป่ าเถื่อนชั่วขณะหนึ่ง คล ้ายกับว่าเกิดทุพภิกขภัยครั้งหนึ่งหรือเกิด สงครามลักษณะทําลายล ้างทั่วไป คล ้ายกับว่าอุตสาหกรรมและการค ้าได ้ถูกทําลายจนราบเรียบ นี่เป็นเพราะเหตุ ใด เพราะเหตุว่าสังคมมีอารยธรรมมากเกินไป มีปัจจัยการครองชีพมากเกินไป อุตสาหกรรมและธุรกิจการค ้าเจริญ มากเกินไป พลังการผลิตที่สังคมมีอยู่ไม่สามารถจะกระตุ ้นอารยธรรมชนชั้นนายทุน และความสัมพันธ์ของระบอบ กรรมสิทธิ์ชนชั้นนายทุนให ้พัฒนาต่อไปได ้อีก แล ้วกระนั้นหรือ ตรงกันข ้ามพลังการผลิตได ้พัฒนาใหญ่โตจนถึงขั้นที่ความสัมพันธ์ดังกล่าวไม่ สามารถจะสอดคล ้องกับมันแล ้ว พลังการผลิตถูกความสัมพันธ์ดังกล่าวขัดขวาง และเมื่อใดที่พลังการผลิตลงมือขจัดสิ่งกีดขวางนี้ เมื่อนั้นก็จะทํา ให ้สังคมชนชั้นนายทุนทั้งสังคมตกอยู่ในความปั่นป่ วน ทําให ้การดํารงอยู่ของระบอบกรรมสิทธิ์ชนชั้นนายทุนถูก คุกคาม ความสัมพันธ์ของชนชั้นนายทุนแคบเกินไปจนไม่อาจที่จะบรรจุโภคทรัพย์ที่ชนชั้น นี้สร ้างขึ้นเอง ชนชั้น นายทุนจะใช ้วิธีอะไรมาแก ้ไขวิกฤตเหล่านี้ได ้? ด ้านหนึ่งคือจําต ้องทําลายพลังการผลิตลงเป็นจํานวนมาก อีก ด ้านหนึ่งก็ไปยึดตลาดใหม่และใช ้ตลาดเก่าให ้เป็นประโยชน์อย่างถึงที่สุด นี่เป็นวิธีอะไรกันแน่? มันเป็นเพียงวิธี ที่ชนชั้นนายทุนเตรียมการไปสู่วิกฤตที่รอบด ้านยิ่งขึ้นและ รุนแรงยิ่งขึ้นเท่านั้น อาวุธที่ชนชั้นนายทุนใช ้โค่นระบอบขุนนางนั้น บัดนี้ได ้กลับมาทิ่มแทงชนชั้นนายทุนเองเสียแล ้ว แต่ทว่าชนชั้นนายทุนไม่เพียงแต่สร้างอาวุธที่นําความตายมาสู่ตัวเองเท่า นั้น หากชนชั้นนี้ยังก่อให้เกิด คนที่จะใช้อาวุธเหล่านี้ด้วย นั่นก็คือ กรรมาชีพสมัยใหม่ ชนชั้นนายทุน และทุนยิ่งพัฒนามากเท่าไร ชนชั้นกรรมาชีพสมัยใหม่ก็จะพัฒนาไปในระดับเดียวกันด ้วย กรรมาชีพสมัยใหม่จะดํารงชีวิตอยู่ได ้ก็ต่อเมื่อพวกเขาหางานทําได ้แล ้วเท่านั้น และพวกเขาจะหางานทําได ้ก็ต่อ เมื่อแรงงานของพวกเขาทําให ้ทุนเพิ่มพูนขึ้น กรรมาชีพที่จําต ้องเอาตัวเองไปขายทีละเล็กละน้อยเหล่านี้ก็เป็น สินค ้าชนิด หนึ่ง เช่นเดียวกับสิ่งของที่เป็นสินค ้าอื่นๆ ดังนั้นพวกเขาจึงได ้รับผลสะเทือนจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง ปวงในด ้านการแก่งแย่ง แข่งขัน ได ้รับผลสะเทือนจากการขับเคลื่อนทั้งปวงในด ้านตลาดเช่นเดียวกัน เนื่องจากการใช ้เครื่องจักรได ้แพร่หลายออกไปและการแบ่งงานได ้พัฒนาไป การใช ้แรงงานของชนกรรมาชีพก็ จะต ้องสูญเสียลักษณะอิสระทั้งปวงไป ดังนั้นสิ่งที่เหนี่ยวรั้งกรรมาชีพไว ้จึงต ้องพลอยสูญสิ้นไปด ้วย นายทุนได ้ ทําให ้กรรมาชีพกลายเป็นเครื่องพ่วงอย่างหนึ่งของเครื่องจักรไป สิ่งที่ต ้องการให ้เขาทํานั้นเป็นเพียงการคุม เครื่องที่ไม่สลับซับซ ้อน ที่จําเจที่สุดและหัดง่ายที่สุด ฉะนั้นค่าใช ้จ่ายที่เสียให ้กับกรรมาชีพจึงกล่าวได ้ว่าจํากัด อยู่แค่ปัจจัยการ ครองชีพอันจําเป็นสําหรับประทังชีวิตของกรรมาชีพ และแค่ทําให ้มีกรรมาชีพรุ่นหลังสืบต่อไปได ้ เท่านั้น แต่ราคาของสินค ้าซึ่งเป็นราคาของแรงงานด ้วย จะสะท ้อนต ้นทุนในการผลิตสินค ้าขึ้นมา ดังนั้นการใช ้ แรงงานยิ่งน่าเบื่อหน่ายมากเท่าไร ค่าแรงก็ยิ่งลดน้อยลงเท่านั้น ยิ่งกว่านั้นในสัดส่วนที่เครื่องจักรยิ่งแพร่หลาย ออกไป และการแบ่งงานยิ่งละเอียดมากขึ้น ภาระการใช ้แรงงานก็ยิ่งเพิ่มมากขึ้น ทั้งเนื่องมาจากการยืดเวลาทํา งาน หรือไม่ก็เนื่องมาจากการเร่งเครื่องจักรให ้หมุนเร็วขึ้น ฯลฯ อุตสาหกรรมสมัยใหม่ได ้เปลี่ยนโรงหัตถกรรมเล็กๆ หรืออุตสาหกรรมในครัวเรือนของนายช่างแบบพ่อบ ้านมาเป็น โรงงานใหญ่ของนายทุน อุตสาหกรรม มวลชนกรรมาชีพที่แออัดอยู่ในโรงงานถูกจัดตั้งขึ้นเหมือนกับกองทหาร พวกเขาเป็นพลทหารธรรมดาแห่งกองทัพอุตสาหกรรมที่ถูกนายทหารชั้นประทวนและชั้น สัญญาบัตรระดับต่างๆ ติดตามควบคุมเป็นชั้นๆ พวกเขาไม่เพียงแต่เป็นทาสของชนชั้นนายทุนและของรัฐชนชั้นนายทุนเท่านั้น หากยัง CM_Thai file:///C:/Users/Koba/Desktop/CM_Thai.html 10 of 30 26.09.2014 14:44