SlideShare a Scribd company logo
แมกเนติกคอนแทกเตอร์ รีเลย์ และรีเลย์ตั้งเวลา  (Magnetic Contactor, Relayand Timer Relay) 1
เนื้อหาที่จะกล่าวถึง ,[object Object]
โครงสร้างและส่วนประกอบของแมกเนติกคอนแทกเตอร์
หลักการทำงานของแมกเนติกคอนแทกเตอร์
ชนิดและขนาดของแมกเนติกคอนแทกเตอร์
การพิจารณาเลือกไปใช้งานแมกเนติกคอนแทกเตอร์
รีเลย์ (Relay)
ประเภทของรีเลย์
ส่วนประกอบของรีเลย์
หลักการทำงานของรีเลย์
ข้อดี ของการใช้รีเลย์และแมกเนติกคอนแทคเตอร์
รีเลย์ตั้งเวลา (Timer relay )
ส่วนประกอบของ Timer relay
หลักการทำงานของ Timer relay2
แมกเนติกคอนแทกเตอร์  (Magnetic Contactor) เป็นอุปกรณ์ที่อาศัยการทำงานโดยอำนาจแม่เหล็กในการเปิดปิดหน้าสัมผัส ในการควบคุมวงจรมอเตอร์หรือเรียกว่าสวิตช์แม่เหล็ก (Magnetic Switch) หรือคอนแทคเตอร์ (Contactor) ก็ได้ 3
โครงสร้างและส่วนประกอบของแมคเนติกคอนแทกเตอร์   1. แกนเหล็ก  2. ขดลวด  3. หน้าสัมผัส  4
1.แกนเหล็ก  แบ่งออกเป็น 2 ส่วน  1.1 แกนเหล็กอยู่กับที่ (Fixed Core) จะมีลักษณะขาทั้งสองข้างของแกนเหล็ก มีลวดทองแดงเส้นใหญ่ต่อลัดอยู่ เป็นรูปวงแหวนฝังอยู่ที่ผิวหน้าของแกน   เพื่อลดการสั่นสะเทือนของแกนเหล็ก อันเนื่องมาจากการสั่นสะเทือนไฟฟ้ากระแสสลับเรียกวงแหวนว่า  Shaddedring  5
	1.2 แกนเหล็กเคลื่อนที่ (Stationary Core)  ทำด้วยแผ่นเหล็กบางอัดซ้อนกันเป็นแกน จะมีชุดหน้าสัมผัสเคลื่อนที่ (Moving Contact) ยึดติดอยู่  6
2.ขดลวด (Coil)  ขดลวดทำมาจากลวดทองแดงพันอยู่รอบบ๊อบบิ๊นสวมอยู่ตรงกลางของขาตัวอีที่อยู่กับที่   ขดลวดทำหน้าที่สร้างสนามแม่เหล็กมีขั้วต่อไฟเข้าใช้สัญลักษณ์อักษรกำกับ คือ A1- A2 หรือ a-b  7
3.หน้าสัมผัส (Contact)          หน้าสัมผัสจะยึดติดอยู่กับแกนเหล็กเคลื่อนที่แบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ  	-หน้าสัมผัสหลัก หรือเรียกว่าเมนคอนแทค (Main Contac) ใช้ในวงจรกำลังทำหน้าที่ตัดต่อระบบไฟฟ้าเข้าสู่โหลด  	-หน้าสัมผัสช่วย (Auxiliary Contac) ใช้กับวงจรควบคุม หน้าสัมผัสช่วยแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ หน้าสัมผัสปกติเปิด (Normally Open : N.O.) และหน้าสัมผัสปกติปิด (Normally Close : N.C.)  8
ส่วนประกอบภายนอก        ส่วนที่เป็นหน้าสัมผัสหลัก (MainContact)        มีสัญลักษณ์อักษรกำกับบอกดังนี้      	  - หน้าสัมผัสหลักคู่ที่ 1	1/L1 - 2/T1     	   - หน้าสัมผัสหลักคู่ที่ 2	3/L2- 4/T2     	   - หน้าสัมผัสหลักคู่ที่ 3	5/L3- 6/T3 - หมายเลข1 เป็นจุดต่อไฟฟ้าเข้าหน้าสัมผัสหลัก มีสัญลักษณ์อักษรกำกับคือ 1/L1  3/L2 และ 5/L3- หมายเลข2 เป็นจุดต่อไฟฟ้าเข้าหน้าสัมผัสหลัก มีสัญลักษณ์อักษรกำกับคือ 2/T1 4/T2 และ 6/T3 - หมายเลข3 ปุ่มทดสอบหน้าสัมผัส 9
ส่วนประกอบภายนอกที่เป็นหน้าสัมผัสปกติ หมายเลข 1 ขั้ว A จุดต่อไฟเข้าขดลวด A1-A2หมายเลข 2 หน้าสัมผัสปกติเปิดหมายเลข (N.O.)  อักษรกำกับหน้าสัมผัสคือ 13-14หมายเลข 3 หน้าสัมผัสปกติปิดหมายเลข (N.C.)   อักษรกำกับหน้าสัมผัสคือ 21-22หมายเลข 4 หน้าสัมผัสปกติปิดหมายเลข (N.C.)    อักษรกำกับหน้าสัมผัสคือ 31-32หมายเลข 5 หน้าสัมผัสปกติเปิดหมายเลข (N.O.)   อักษรกำกับหน้าสัมผัสคือ 43-44  10
หลักการทำงาน เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยังขดลวดสนามแม่เหล็กที่อยู่ขากลางของแกนเหล็ก   ขดลวดจะสร้างสนามแม่เหล็กที่แรงสนามแม่เหล็กชนะแรงสปริงดึงให้แกนเหล็กชุดที่เคลื่อนที่เคลื่อนที่ลงมา   ในสภาวะนี้คอนแทคทั้งสองชุดจะเปลี่ยนสภาวะการทำงานคือคอนแทคปกติปิดจะเปิดวงจรจุดสัมผัสออกและคอนแทคปกติเปิดจะต่อวงจรของจุดสัมผัส  เมื่อไม่มีกระแส ไฟฟ้าไหลผ่านเข้าไปยังขดลวด  สนามแม่เหล็กคอนแทคทั้งสองชุดจะกลับไปสู่สภาวะเดิม 11
ภาพแสดงการทำงานของแมกเนติกคอนแทคเตอร์ 12
ชนิดและขนาดของแมคเนติกคอนแทกเตอร์  13
ชนิดและขนาดของแมคเนติกคอนแทกเตอร์  AC 1 : เป็นแมคเนติกคอนแทกเตอร์ที่เหมาะสำหรับโหลดที่เป็นความต้านทาน                    หรือในวงจรที่มี inductiveน้อยๆ AC 2 : เป็นแมคเนติกคอนแทคเตอร์ที่เหมาะสมสำหรับใช้กับโหลดที่เป็น             สปริงมอเตอร์ AC 3 : เป็นแมคเนติกคอนแทคเตอร์ที่เหมาะสำหรับใช้ในการสตาร์ทและหยุด            โหลดที่เป็นมอเตอร์กรงกระรอก AC 4 : เป็นแมคเนติกคอนแทคเตอร์ที่เหมาะสำหรับการสตาร์ท-หยุดมอเตอร์              วงจร jogging และการกลับทางหมุนมอเตอร์แบบกรงกระรอก      14
การพิจารณาเลือกไปใช้งาน 	ในการเลือกแมคเนติกคอนแทคเตอร์ในการใช้งานให้เหมาะสมกับมอเตอร์นั้นจะพิจารณาที่กระแสสูงสุด ในการใช้งาน (reated current) และแรงดัน ของมอเตอร์ ต้องเลือกแมคเนติกคอนแทคเตอร์ ที่มีกระแสสูงกว่ากระแสที่ใช้งานของมอเตอร์ ที่มีแรงดันเท่ากัน 15
ในการพิจารณาเลือกแมคเนติกคอนแทคเตอร์ใช้งานควรพิจารณาดังนี้      - ลักษณะของโหลดและการใช้งาน      - แรงดันและความถี่      - สถานที่ใช้งาน      - ความบ่อยครั้งในการใช้งาน      - การป้องกันจากการสัมผัสและการป้องกันน้ำ      - ความคงทนทางกลและทางไฟฟ้า   16
รีเลย์ (Relay) รีเลย์ (relay) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำหน้าที่ ตัด-ต่อวงจร คล้ายกับสวิตซ์ โดยใช้หลักการของหน้าสัมผัส การที่จะให้มันทำงานก็ต้องจ่ายไฟให้มันตามที่กำหนด เพราะเมื่อจ่ายไฟให้กับตัวรีเลย์ มันจะทำให้หน้าสัมผัสติดกัน กลายเป็นวงจรปิด และตรงข้ามทันทีที่ไม่ได้จ่ายไฟให้มัน มันก็จะกลายเป็นวงจรเปิด ไฟที่เราใช้ป้อนให้กับตัวรีเลย์ก็จะเป็นไฟที่มาจาก เพาเวอร์ฯ ของเครื่องเรา ดังนั้นทันทีที่เปิดเครื่อง ก็จะทำให้รีเลย์ทำงาน 17
ประเภทของรีเลย์ รีเลย์เป็นอุปกรณ์ทำหน้าที่เป็นสวิตช์  มีหลักการทำงานคล้ายกับขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าหรือโซลินอยด์ (solenoid) ใช้ในการควบคุมวงจร ไฟฟ้าได้อย่างหลากหลาย รีเลย์เป็นสวิตช์ควบคุมที่ทำงานด้วยไฟฟ้า แบ่งออกตามลักษณะการใช้งานได้เป็น 2ประเภท คือ 18
1.รีเลย์กำลัง (power relay) หรือมักเรียกกันว่า “คอนแทกเตอร์” (Contactor or Magneticcontactor)ใช้ในการควบคุมไฟฟ้ากำลัง มีขนาดใหญ่กว่ารีเลย์ธรรมดา 19

More Related Content

Similar to Magnetic contactor1

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
Chakkrawut Mueangkhon
 
ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์nom11
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 

Similar to Magnetic contactor1 (8)

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์อิเล็กทรอนิกส์
อิเล็กทรอนิกส์
 
ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์ศุภาลักษณ์
ศุภาลักษณ์
 
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้าหน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
หน่วยที่ 7การควบคุมทางไฟฟ้า
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 

Magnetic contactor1