SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
27 ตุลาคม 2561
Marie Kondo
Publisher: Marie Kond; 1st edition (October 14, 2014)
This #1 New York Times best-selling guide to decluttering your home from Japanese cleaning
consultant Marie Kondo takes readers step-by-step through her revolutionary KonMari Method
for simplifying, organizing, and storing.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 Marie "KonMari" Kondo ดาเนินธุรกิจให้
คาปรึกษาในโตเกียว ช่วยลูกค้าเปลี่ยนบ้านที่
รกของพวกเขาให้โปร่ง เงียบสงบ และสร้าง
แรงบันดาลใจ
 เธอทุ่มเท 80% ในชีวิตของเธอกับเรื่องนี้ เธอ
เริ่มคิดถึงระบบจัดเก็บเมื่ออายุ 5 ขวบ และ
พบว่าเธอหลงใหลในการทิ้งเมื่อตอนเป็นวัยรุ่น
 Kondo แต่งงานกับ Takumi Kawahara ทั้งคู่มีลูก
สองคน
หนังสือโดยย่อ
 หนังสือของ Kondo เป็นการปฏิวัติวิธีการในการจัดเก็บสิ่งของ
 ประการแรก ให้วางมือลงบนทุกสิ่งทุกอย่างที่คุณเป็นเจ้าของ
แล้วถามตัวเองว่า มันเปล่งประกายความสุขหรือไม่ ถ้าไม่
ขอบคุณสาหรับการบริการ แล้วกาจัดมันเสีย
 ประการที่สอง จัดเก็บสิ่งของที่เหลือที่ให้ความสุข โดยวางทุกสิ่ง
ในสถานที่ที่มองเห็นได้ชัด ง่ายต่อการเข้าถึง ง่ายต่อการหยิบและ
การเก็บ
 Kondo กล่าวว่า คุณจะไปถึงสุดยอดของการดูแลบ้าน
สาเหตุของความล้มเหลวในการจัดเก็บ
 วิธีต่อไปนี้ ไม่ได้ผล ได้แก่ การกาจัดของหนึ่งรายการต่อวัน ทาที
ละหนึ่งห้อง ใช้เวลาทาเพียงเล็กน้อย ทาในเวลาฟังเพลงหรือดู
ทีวี พยายามที่จะจากัดทรัพย์สินของคุณให้เหลือลงจานวนหนึ่ง
การกาจัดสิ่งที่คุณไม่ได้ใช้อีกในช่วงเวลาที่กาหนด การกาจัดสิ่ง
หนึ่งทุกครั้งที่คุณซื้ อผลิตภัณฑ์ใหม่ ฯลฯ
ทาไมผู้คนจึงปล่อยปัญหาทิ้งไว้
 ผู้คนมีปัญหาในการทิ้ง ในสิ่งที่พวกเขาคิดว่ายังสามารถใช้ได้
(คุณค่าในการทางาน) มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ (คุณค่าด้าน
ข้อมูล) มีความรู้สึกผูกพัน (คุณค่าทางอารมณ์) และสิ่งเหล่านี้ หา
หรือแทนที่ได้ยาก (ของหายาก) ทาให้ตัดใจไม่ลง
 มีสามวิธีที่นาไปสู่การตัดสินใจ เผชิญหน้าตอนนี้ เผชิญหน้าใน
อนาคต หรือหลีกเลี่ยงจนกว่าเราตาย นี่คือทางเลือกของเรา
แนวคิด 9 ประการในการปฏิบัติ
 1. เริ่มต้นและสิ้นสุดที่ความคิด (IT STARTS AND ENDS WITH YOUR MINDSET)
 2. บ้านคือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ (YOUR HOME IS A SACRED SPACE)
 3. ทุกสิ่งมีชีวิต (AND YOUR THINGS ARE ALIVE)
 4. ทาให้การจัดเก็บเป็นการเฉลิมฉลองครั้งเดียว (TREAT DECLUTTERING AS A
ONE-TIME CELEBRATION)
 5. ใช้วิธีการแบบ KONMARI (THE KONMARI METHOD OUTLINE)
 6. การคัดเลือกที่เป็นมากกว่าดีต่อใจ (THE SELECTION CRITERIA IS MORE
THAN JUST “SPARK JOY)
 7. ไม่ใช่การทิ้งแต่เป็นการเก็บสิ่งที่คุณรัก (IT’S NOT DISCARDING — IT’S
KEEPING WHAT YOU LOVE)
 8. จัดระเบียบต่อ (NEXT COMES ORGANIZING)
 9. ปรับเปลี่ยนบ้านปรับเปลี่ยนชีวิต (TRANSFORM YOUR HOME TO
TRANSFORM YOUR LIFE)
1. เริ่มต้นและสิ้นสุดที่ความคิด
 ผู้คนไม่สามารถเปลี่ยนนิสัยของพวกเขาได้โดยไม่เปลี่ยนวิธีคิด
และนั่นไม่ใช่เรื่องง่าย
 โปรดจาไว้ว่า วิธี KonMari ไม่ได้เป็นเพียงชุดของกฎระเบียบ
เกี่ยวกับวิธีจัดเก็บและทิ้งสิ่งต่างๆ แต่เป็นแนวทางในการ
แสวงหาความคิดที่ถูกต้อง สร้างวินัย และเป็นคนมีระเบียบ
 เมื่อคุณทาให้สถานที่เป็นระเบียบแล้ว ทัศนียภาพจะเปลี่ยน การ
เปลี่ยนแปลงนี้ มีความลึกซึ้ งจนคุณรู้สึกราวกับว่า คุณกาลังมีชีวิต
อยู่ในโลกที่แตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง ส่งผลกระทบต่อจิตใจ
ของคุณ สร้างแรงบันดาลใจ และไม่ยอมกลับเป็นเช่นเดิมอีก
2. บ้านคือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
 ทุกคนต้องการมีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
 หนึ่งรูปแบบพื้นฐานของวิธีการในการจัดเก็บคือ การเปลี่ยนบ้าน
ให้เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเต็มไปด้วยพลังงานบริสุทธิ์
 การขจัดส่วนเกินที่ไม่ได้เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดความสุข ทาให้
คุณมีพื้นที่ของความสงบ และสะดวกสบายมากขึ้น
3. ทุกสิ่งมีชีวิต
 เช่นเดียวกับการเขย่าเบา ๆ ที่เราใช้ในการปลุกใครสักคน เรา
สามารถกระตุ้นสิ่งของของเราได้โดยการเคลื่อนไหว สัมผัสกับ
อากาศที่สดชื่น และทาให้มีความรู้สึก
 ในญี่ปุ่ น คนเชื่อว่า การทาความสะอาดห้องและห้องน้าของคุณ
ให้สะอาดหมดจดอย่างมีชีวิตชีวาจะทาให้คุณโชคดี เช่นเดียวกับ
หลักการของฮวงจุ้ย เมื่อคุณทาให้บ้านของคุณ เฟอร์นิเจอร์ และ
ของตกแต่งดูมีชีวิตชีวา ไม่รกรุงรัง
4. ทาให้การจัดเก็บเป็นการเฉลิมฉลองครั้งเดียว
 การจัดเก็บเป็นงานพิเศษ อย่าทาทุกวัน
 การจัดเก็บคือการเฉลิมฉลองการส่งเป็นพิเศษ สาหรับสิ่งที่จะ
ออกจากบ้าน
 ความลับสุดยอดของความสาเร็จคือ ถ้าคุณทาให้เรียบร้อยในครั้ง
เดียว มากกว่าทาทีละน้อย ๆ คุณสามารถเปลี่ยนความคิดของ
คุณได้อย่างมาก
 เป็นการดีที่สุดที่จะทาอย่างรวดเร็ว ทาไมนะหรือ? เพราะการ
จัดเก็บไม่ได้เป็นจุดประสงค์ของชีวิต
5. ใช้วิธีการแบบ KONMARI
 การกระทาที่สาคัญสองประการคือการทิ้ง และตัดสินใจว่าจะ
จัดเก็บสิ่งของที่ไหน ในสองเรื่องนี้ การทิ้งต้องมาก่อน
 นี่คือเหตุผลที่การจัดเก็บต้องเริ่มต้นด้วยการทิ้ง เราจาเป็นต้อง
ควบคุมตนเองและต่อต้านการเก็บข้าวของ จนกว่าเราจะเสร็จสิ้น
การระบุสิ่งที่เราต้องการและจาเป็นต้องเก็บไว้
 โดยถามตัวเองว่าทาไมต้องเก็บไว้? ถามอีกครั้งสาหรับแต่ละ
คาตอบนั้น ๆ ทาซ้าขั้นตอนนี้ สามถึงห้าครั้งสาหรับทุกสิ่ง
 ลาดับที่ดีที่สุดคือเริ่มจากเสื้อผ้า จากนั้นเป็นหนังสือ เอกสาร และ
สุดท้าย ของที่ระลึก
6. การคัดเลือกที่เป็นมากกว่าดีต่อใจ
 เกณฑ์คือ มันทาให้คุณรู้สึกตื่นเต้นหรือไม่เมื่อคุณสัมผัสมัน
 ให้เข้าใจสิ่งที่อยู่ในมือของคุณ และตัดสินใจว่ามันทาให้คุณรู้สึกดี
หรือไม่
 ให้เก็บสิ่งต่างๆ ไว้ เพราะคุณรักมัน ไม่ใช่แค่ใช้เหตุผล
 การเลือกจะดาเนินไปอย่างราบรื่น และคุณจะประหลาดใจกับ
ความสามารถของคุณ ในการเลือกบนพื้นฐานของสิ่งที่ทาให้คุณมี
ความสุข
 เก็บเฉพาะสิ่งที่สร้างแรงบันดาลใจให้มีความสุข
7. ไม่ใช่การทิ้งแต่เป็นการเก็บสิ่งที่คุณรัก
 วิธีที่ดีที่สุดในการเลือกสิ่งที่จะเก็บและสิ่งที่จะโยนออกไปคือ ให้
ถามแต่ละสิ่งในมือว่า สิ่งนี้ จุดประกายความสุขได้หรือไม่? ถ้าไม่
ก็ทิ้งมันไป
 สิ่งสาคัญที่สุดในการจัดเก็บ คือสิ่งที่อยู่ในนั้นสามารถทาให้เรามี
ความสุขได้
 เก็บเฉพาะสิ่งที่พูดกับหัวใจของคุณเท่านั้น จากนั้นทิ้งส่วนที่เหลือ
ทั้งหมด ด้วยการทาเช่นนี้ คุณสามารถมีชีวิตใหม่ และเข้าสู่วิถี
ชีวิตแบบใหม่ได้
8. จัดระเบียบต่อ
 เมื่อคุณเลือกที่จะเก็บไว้ ให้ถามหัวใจของคุณ เมื่อคุณเลือก
สถานที่ที่จะเก็บบางสิ่งบางอย่าง ให้ถามบ้านของคุณ
 ความยุ่งเหยิงเกิดจากความล้มเหลวในการส่งคืนไปยังที่ที่ควรอยู่
ดังนั้นการจัดเก็บ ควรเป็นการเก็บได้ง่าย ไม่ใช่นาออกไปใช้ง่าย
 ความลับในการเก็บคือ การรักษาความเรียบง่ายในการจัดเก็บ
เพื่อให้คุณสามารถบอกได้ว่าคุณมีเท่าไหร่
 มีเพียงสองกฎ จัดเก็บรายการทั้งหมดของชนิดเดียวกันในที่
เดียวกัน และไม่กระจายพื้นที่จัดเก็บ
9. ปรับเปลี่ยนบ้านปรับเปลี่ยนชีวิต
 มันเป็นปรากฏการณ์ที่แปลกมาก เมื่อเราลดสิ่งที่เราเป็นเจ้าของ
และขจัดพิษบ้านของเรา ก็มีผลขจัดพิษร่างกายของเราเช่นกัน
 การจัดเก็บเป็นเพียงเครื่องมือไม่ใช่จุดหมายปลายทางสุดท้าย
เป้ าหมายที่แท้จริงควรเป็นการสร้างวิถีชีวิตที่คุณต้องการมาก
ที่สุด เมื่อบ้านของคุณได้รับการจัดเก็บ
 ทุ่มเทเวลาและความหลงใหลในสิ่งที่ทาให้คุณมีความสุขที่สุด
ภารกิจของคุณในชีวิต การจัดเก็บบ้านของคุณจะช่วยให้คุณพบ
ภารกิจในหัวใจของคุณ ชีวิตเริ่มต้นอย่างแท้จริงหลังจากที่คุณได้
จัดเก็บบ้านของคุณแล้ว
ตัวอย่างบทเรียนของการจัดเก็บเสื้อผ้า
 1. ทาทีละหมวดหมู่ไม่ใช่ทีละห้อง (Tackle Categories, Not Rooms)
 2. เคารพสิ่งของของคุณ (Respect Your Belongings)
 3. การคิดถึงอดีตไม่ใช่เพื่อนที่ดีของคุณ (Nostalgia Is Not Your
Friend)
 4. การขจัดออกได้ทาให้รู้สึกดี ๆ (Purging Feels SO Good)
 5. พับอย่าแขวน (Fold, Don’t Hang)
 6. การพับ (THE Fold!)
 7. ตกหลุมรักกับตู้เสื้อผ้าของคุณ (Fall in Love with Your Closet)
 8. ค้นพบสไตล์ของคุณ (Rediscover Your Style)
1. ทาทีละหมวดหมู่ไม่ใช่ทีละห้อง
 กฎข้อแรกของ Kondo คือ การจัดเก็บตามประเภทในคราวเดียว
มิเช่นนั้นพวกมันก็จะคืบคลานไปเรื่อย ๆ จากห้องหนึ่งไปยังอีก
ห้องหนึ่ง และคุณจะไม่แยแสอีกต่อไป
 เธอแนะนาให้เริ่มต้นด้วยเสื้อผ้า เพราะมันเป็นสิ่งที่เต็มไปด้วย
อารมณ์ของตัวเองมากที่สุด (ถัดมาเป็นหนังสือ และรูปถ่ายเป็น
รายการถัดไป)
2. เคารพสิ่งของของคุณ
 Kondo ขอให้คุณพิจารณาความรู้สึกของเสื้อผ้าของคุณ
 พวกมันมีความสุขที่ถูกบี้แบนในมุม หรืออยู่กันอย่างหนาแน่นบน
ไม้แขวนหรือไม่?
 ถุงเท้าที่ขยันขันแข็งของคุณตื่นเต้นมากที่จะได้รับการม้วน
หรือไม่?
3. การคิดถึงอดีตไม่ใช่เพื่อนที่ดีของคุณ
 Kondo รู้ว่าเธอกาลังพูดถึงอะไร เมื่อเธอยืนยันว่าคุณควรทา
เสมือนใส่ที่ปิดตาไว้ และมุ่งเน้นเฉพาะสิ่งที่มีอยู่ในมือเท่านั้น
 การอ่านจดหมายเก่า ๆ ฉบับหนึ่ง จะทาให้คุณเสียเวลาโดยใช่
เหตุด้วยการคิดถึงอดีต
4. การขจัดออกได้ทาให้รู้สึกดี ๆ
 Kondo จะสวดภาวนาเมื่อเข้าไปในบ้านของลูกค้า จุดเทียน กล่าว
คาอธิษฐานเล็กน้อย และเริ่มขุดผ่านภูเขาเสื้อผ้า
 คาถามเรื่องความสุขนี้ ทาให้คุณปลดปล่อยเสื้อนอกสีสดที่ซื้ อจาก
การลดราคา ชุดที่ตกยุค กระโปรงที่แขวนอย่างอึดอัด
 บางสิ่งควรไปที่ร้านขายของฝาก และบางสิ่งบริจาคเป็นการกุศล
เพื่อให้มันมีชีวิตใหม่ที่ดีขึ้น
5. พับ อย่าแขวน
 เมื่อคุณแยกแยะสิ่งที่ต้องทิ้งไปแล้ว คุณก็สามารถตัดสินใจได้ว่า
จะให้สิ่งที่เหลือจะไปอยู่ที่แห่งใด
 แทนที่จะพับเก็บไว้ในตู้เก็บของ หรือแขวนไว้ในตู้เสื้อผ้า Kondo
คิดว่าเสื้อผ้าของเราน่าจะดีกว่า (น่าจะมีความสุขมากกว่า) ถ้าได้
ถูกพับเก็บอยู่ในตู้เสื้อผ้าแบบลิ้นชัก
Here’s the basic KonMari vertical fold, which can be applied to everything from T-shirts to stockings. First, make a long
rectangle, and then fold from the bottom up into a little package.
6. การพับ
 เทคนิคการพับแนวแนวตั้งของ Kondo ทาให้ทุกอย่างง่ายต่อการ
มองเห็นและยากที่จะทาให้ยุ่งเหยิง (เพราะคุณไม่ได้กระแทกทั้ง
กองทุกครั้ง ที่คุณหยิบอะไรบางอย่างออกหรือนากลับมา) การ
พับเก็บด้วยวิธีนี้ เสื้อผ้าจะมีลักษณะเหมือนผ้า Origami พร้อมที่
จะจัดเรียงในลิ้นชักของคุณอย่างเรียบร้อย
 เพื่อให้เสื้อผ้าที่พับเก็บเหล่านี้ เห็นได้ชัดเจนในตู้เสื้อผ้า Kondo
แนะนาให้ใช้กล่องใส่รองเท้าแบ่งการจัดเก็บสิ่งของในลิ้นชัก
กล่องขนาดเล็กเหมาะสาหรับผ้าพันคอ กล่องใบใหญ่หน่อย
สามารถเก็บในลิ้นชักด้านล่างสาหรับเสื้อกันหนาว
7. ตกหลุมรักกับตู้เสื้อผ้าของคุณ
 นี่คือเหตุผลที่คนนิยมวิธี KonMari
 เมื่อคุณขจัดความยุ่งเหยิงและนาสิ่งต่างๆ ออกไปแล้ว ชุดและ
กระโปรงของคุณ ก็สามารถมองเห็นแสงสว่างได้ มีช่องว่าง
ระหว่างชิ้นงาน ดังนั้นคุณจึงไม่จาเป็นต้องออกแรงมากกับการ
หยิบของจากชั้นวาง
 ทั้งหมดนี้ หมายถึงคุณได้รับความสุขอย่างเต็มที่เพียงแค่เปิดตู้
เสื้อผ้า ไม่ว่าคุณจะเตรียมพร้อมในการไปทางานในตอนเช้าหรือ
วางแผนไปงานปาร์ตี้
 Kondo แนะนาให้แขวนเสื้อผ้า
ให้เป็นเส้นเฉียงจากด้านล่าง
ขึ้นไป ซึ่งจะช่วยเพิ่มความน่าดู
8. ค้นพบสไตล์ของคุณ
 สามชุดที่นาความสุขมากมาย คือ
ชุดเม็กซิกันโบราณ ชุดผ้าไหมลาย
สถาปัตยกรรม และชุดลายจุด
หมุนที่ได้รับมาจากป้ า
สรุป
 การจัดเก็บใช้ความพยายามอย่างมาก ให้มุ่งมั่นเพื่อความ
สมบูรณ์แบบ เพื่อที่คุณจะต้องทาเพียงครั้งเดียว
 เริ่มขั้นตอนโดยการกองทุกสิ่งทุกอย่างบนพื้น
 หยิบแต่ละสิ่งไว้ในมือของคุณ และตัดสินใจว่าจะเก็บไว้หรือไม่
ใช้เกณฑ์คือ นี่จุดประกายความสุขหรือไม่?
 อย่าคิดถึงสิ่งต่างๆ ที่ควรทา จนกว่าคุณจะทิ้งสิ่งที่ไม่ต้องการ
ออกไปทั้งหมดก่อน
 เริ่มต้นด้วยเสื้อผ้าก่อน จากนั้นหนังสือ เอกสาร อื่น ๆ และใน
ท้ายที่สุด สิ่งที่อ่อนไหวต่ออารมณ์
ก่อนจาก
 ภายในบ้านหรือหอพัก หลังการจัดเก็บแล้ว จะมีหลายอย่าง
เหมือนกันกับศาลเจ้าชินโต ... สถานที่ที่ไม่มีสิ่งที่ไม่จาเป็น และ
ความคิดของเราที่ชัดเจน
 เป็นสถานที่ที่เราชื่นชมทุกสิ่งที่สนับสนุนเรา เป็นที่ที่เราทบทวน
และคิดใหม่เกี่ยวกับตัวเราเอง
Marie Kondo

More Related Content

More from maruay songtanin

๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๗. มณิถูณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๗๖. นันทนวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๗๕. จิตตลตาวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๔. ปายาสิวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
๗๓. ทุติยกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจ...
 
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๗๒. ปฐมกุณฑลีวิมาน ((พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 

Magic of tidying up การจัดเก็บ

  • 2. Marie Kondo Publisher: Marie Kond; 1st edition (October 14, 2014) This #1 New York Times best-selling guide to decluttering your home from Japanese cleaning consultant Marie Kondo takes readers step-by-step through her revolutionary KonMari Method for simplifying, organizing, and storing.
  • 3.
  • 4.
  • 5. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  Marie "KonMari" Kondo ดาเนินธุรกิจให้ คาปรึกษาในโตเกียว ช่วยลูกค้าเปลี่ยนบ้านที่ รกของพวกเขาให้โปร่ง เงียบสงบ และสร้าง แรงบันดาลใจ  เธอทุ่มเท 80% ในชีวิตของเธอกับเรื่องนี้ เธอ เริ่มคิดถึงระบบจัดเก็บเมื่ออายุ 5 ขวบ และ พบว่าเธอหลงใหลในการทิ้งเมื่อตอนเป็นวัยรุ่น  Kondo แต่งงานกับ Takumi Kawahara ทั้งคู่มีลูก สองคน
  • 6.
  • 7. หนังสือโดยย่อ  หนังสือของ Kondo เป็นการปฏิวัติวิธีการในการจัดเก็บสิ่งของ  ประการแรก ให้วางมือลงบนทุกสิ่งทุกอย่างที่คุณเป็นเจ้าของ แล้วถามตัวเองว่า มันเปล่งประกายความสุขหรือไม่ ถ้าไม่ ขอบคุณสาหรับการบริการ แล้วกาจัดมันเสีย  ประการที่สอง จัดเก็บสิ่งของที่เหลือที่ให้ความสุข โดยวางทุกสิ่ง ในสถานที่ที่มองเห็นได้ชัด ง่ายต่อการเข้าถึง ง่ายต่อการหยิบและ การเก็บ  Kondo กล่าวว่า คุณจะไปถึงสุดยอดของการดูแลบ้าน
  • 8. สาเหตุของความล้มเหลวในการจัดเก็บ  วิธีต่อไปนี้ ไม่ได้ผล ได้แก่ การกาจัดของหนึ่งรายการต่อวัน ทาที ละหนึ่งห้อง ใช้เวลาทาเพียงเล็กน้อย ทาในเวลาฟังเพลงหรือดู ทีวี พยายามที่จะจากัดทรัพย์สินของคุณให้เหลือลงจานวนหนึ่ง การกาจัดสิ่งที่คุณไม่ได้ใช้อีกในช่วงเวลาที่กาหนด การกาจัดสิ่ง หนึ่งทุกครั้งที่คุณซื้ อผลิตภัณฑ์ใหม่ ฯลฯ
  • 9. ทาไมผู้คนจึงปล่อยปัญหาทิ้งไว้  ผู้คนมีปัญหาในการทิ้ง ในสิ่งที่พวกเขาคิดว่ายังสามารถใช้ได้ (คุณค่าในการทางาน) มีข้อมูลที่เป็นประโยชน์ (คุณค่าด้าน ข้อมูล) มีความรู้สึกผูกพัน (คุณค่าทางอารมณ์) และสิ่งเหล่านี้ หา หรือแทนที่ได้ยาก (ของหายาก) ทาให้ตัดใจไม่ลง  มีสามวิธีที่นาไปสู่การตัดสินใจ เผชิญหน้าตอนนี้ เผชิญหน้าใน อนาคต หรือหลีกเลี่ยงจนกว่าเราตาย นี่คือทางเลือกของเรา
  • 10. แนวคิด 9 ประการในการปฏิบัติ  1. เริ่มต้นและสิ้นสุดที่ความคิด (IT STARTS AND ENDS WITH YOUR MINDSET)  2. บ้านคือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ (YOUR HOME IS A SACRED SPACE)  3. ทุกสิ่งมีชีวิต (AND YOUR THINGS ARE ALIVE)  4. ทาให้การจัดเก็บเป็นการเฉลิมฉลองครั้งเดียว (TREAT DECLUTTERING AS A ONE-TIME CELEBRATION)  5. ใช้วิธีการแบบ KONMARI (THE KONMARI METHOD OUTLINE)  6. การคัดเลือกที่เป็นมากกว่าดีต่อใจ (THE SELECTION CRITERIA IS MORE THAN JUST “SPARK JOY)  7. ไม่ใช่การทิ้งแต่เป็นการเก็บสิ่งที่คุณรัก (IT’S NOT DISCARDING — IT’S KEEPING WHAT YOU LOVE)  8. จัดระเบียบต่อ (NEXT COMES ORGANIZING)  9. ปรับเปลี่ยนบ้านปรับเปลี่ยนชีวิต (TRANSFORM YOUR HOME TO TRANSFORM YOUR LIFE)
  • 11. 1. เริ่มต้นและสิ้นสุดที่ความคิด  ผู้คนไม่สามารถเปลี่ยนนิสัยของพวกเขาได้โดยไม่เปลี่ยนวิธีคิด และนั่นไม่ใช่เรื่องง่าย  โปรดจาไว้ว่า วิธี KonMari ไม่ได้เป็นเพียงชุดของกฎระเบียบ เกี่ยวกับวิธีจัดเก็บและทิ้งสิ่งต่างๆ แต่เป็นแนวทางในการ แสวงหาความคิดที่ถูกต้อง สร้างวินัย และเป็นคนมีระเบียบ  เมื่อคุณทาให้สถานที่เป็นระเบียบแล้ว ทัศนียภาพจะเปลี่ยน การ เปลี่ยนแปลงนี้ มีความลึกซึ้ งจนคุณรู้สึกราวกับว่า คุณกาลังมีชีวิต อยู่ในโลกที่แตกต่างไปจากเดิมอย่างสิ้นเชิง ส่งผลกระทบต่อจิตใจ ของคุณ สร้างแรงบันดาลใจ และไม่ยอมกลับเป็นเช่นเดิมอีก
  • 12. 2. บ้านคือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์  ทุกคนต้องการมีสถานที่ศักดิ์สิทธิ์  หนึ่งรูปแบบพื้นฐานของวิธีการในการจัดเก็บคือ การเปลี่ยนบ้าน ให้เป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งเต็มไปด้วยพลังงานบริสุทธิ์  การขจัดส่วนเกินที่ไม่ได้เป็นแรงบันดาลใจให้เกิดความสุข ทาให้ คุณมีพื้นที่ของความสงบ และสะดวกสบายมากขึ้น
  • 13. 3. ทุกสิ่งมีชีวิต  เช่นเดียวกับการเขย่าเบา ๆ ที่เราใช้ในการปลุกใครสักคน เรา สามารถกระตุ้นสิ่งของของเราได้โดยการเคลื่อนไหว สัมผัสกับ อากาศที่สดชื่น และทาให้มีความรู้สึก  ในญี่ปุ่ น คนเชื่อว่า การทาความสะอาดห้องและห้องน้าของคุณ ให้สะอาดหมดจดอย่างมีชีวิตชีวาจะทาให้คุณโชคดี เช่นเดียวกับ หลักการของฮวงจุ้ย เมื่อคุณทาให้บ้านของคุณ เฟอร์นิเจอร์ และ ของตกแต่งดูมีชีวิตชีวา ไม่รกรุงรัง
  • 14. 4. ทาให้การจัดเก็บเป็นการเฉลิมฉลองครั้งเดียว  การจัดเก็บเป็นงานพิเศษ อย่าทาทุกวัน  การจัดเก็บคือการเฉลิมฉลองการส่งเป็นพิเศษ สาหรับสิ่งที่จะ ออกจากบ้าน  ความลับสุดยอดของความสาเร็จคือ ถ้าคุณทาให้เรียบร้อยในครั้ง เดียว มากกว่าทาทีละน้อย ๆ คุณสามารถเปลี่ยนความคิดของ คุณได้อย่างมาก  เป็นการดีที่สุดที่จะทาอย่างรวดเร็ว ทาไมนะหรือ? เพราะการ จัดเก็บไม่ได้เป็นจุดประสงค์ของชีวิต
  • 15. 5. ใช้วิธีการแบบ KONMARI  การกระทาที่สาคัญสองประการคือการทิ้ง และตัดสินใจว่าจะ จัดเก็บสิ่งของที่ไหน ในสองเรื่องนี้ การทิ้งต้องมาก่อน  นี่คือเหตุผลที่การจัดเก็บต้องเริ่มต้นด้วยการทิ้ง เราจาเป็นต้อง ควบคุมตนเองและต่อต้านการเก็บข้าวของ จนกว่าเราจะเสร็จสิ้น การระบุสิ่งที่เราต้องการและจาเป็นต้องเก็บไว้  โดยถามตัวเองว่าทาไมต้องเก็บไว้? ถามอีกครั้งสาหรับแต่ละ คาตอบนั้น ๆ ทาซ้าขั้นตอนนี้ สามถึงห้าครั้งสาหรับทุกสิ่ง  ลาดับที่ดีที่สุดคือเริ่มจากเสื้อผ้า จากนั้นเป็นหนังสือ เอกสาร และ สุดท้าย ของที่ระลึก
  • 16. 6. การคัดเลือกที่เป็นมากกว่าดีต่อใจ  เกณฑ์คือ มันทาให้คุณรู้สึกตื่นเต้นหรือไม่เมื่อคุณสัมผัสมัน  ให้เข้าใจสิ่งที่อยู่ในมือของคุณ และตัดสินใจว่ามันทาให้คุณรู้สึกดี หรือไม่  ให้เก็บสิ่งต่างๆ ไว้ เพราะคุณรักมัน ไม่ใช่แค่ใช้เหตุผล  การเลือกจะดาเนินไปอย่างราบรื่น และคุณจะประหลาดใจกับ ความสามารถของคุณ ในการเลือกบนพื้นฐานของสิ่งที่ทาให้คุณมี ความสุข  เก็บเฉพาะสิ่งที่สร้างแรงบันดาลใจให้มีความสุข
  • 17. 7. ไม่ใช่การทิ้งแต่เป็นการเก็บสิ่งที่คุณรัก  วิธีที่ดีที่สุดในการเลือกสิ่งที่จะเก็บและสิ่งที่จะโยนออกไปคือ ให้ ถามแต่ละสิ่งในมือว่า สิ่งนี้ จุดประกายความสุขได้หรือไม่? ถ้าไม่ ก็ทิ้งมันไป  สิ่งสาคัญที่สุดในการจัดเก็บ คือสิ่งที่อยู่ในนั้นสามารถทาให้เรามี ความสุขได้  เก็บเฉพาะสิ่งที่พูดกับหัวใจของคุณเท่านั้น จากนั้นทิ้งส่วนที่เหลือ ทั้งหมด ด้วยการทาเช่นนี้ คุณสามารถมีชีวิตใหม่ และเข้าสู่วิถี ชีวิตแบบใหม่ได้
  • 18. 8. จัดระเบียบต่อ  เมื่อคุณเลือกที่จะเก็บไว้ ให้ถามหัวใจของคุณ เมื่อคุณเลือก สถานที่ที่จะเก็บบางสิ่งบางอย่าง ให้ถามบ้านของคุณ  ความยุ่งเหยิงเกิดจากความล้มเหลวในการส่งคืนไปยังที่ที่ควรอยู่ ดังนั้นการจัดเก็บ ควรเป็นการเก็บได้ง่าย ไม่ใช่นาออกไปใช้ง่าย  ความลับในการเก็บคือ การรักษาความเรียบง่ายในการจัดเก็บ เพื่อให้คุณสามารถบอกได้ว่าคุณมีเท่าไหร่  มีเพียงสองกฎ จัดเก็บรายการทั้งหมดของชนิดเดียวกันในที่ เดียวกัน และไม่กระจายพื้นที่จัดเก็บ
  • 19. 9. ปรับเปลี่ยนบ้านปรับเปลี่ยนชีวิต  มันเป็นปรากฏการณ์ที่แปลกมาก เมื่อเราลดสิ่งที่เราเป็นเจ้าของ และขจัดพิษบ้านของเรา ก็มีผลขจัดพิษร่างกายของเราเช่นกัน  การจัดเก็บเป็นเพียงเครื่องมือไม่ใช่จุดหมายปลายทางสุดท้าย เป้ าหมายที่แท้จริงควรเป็นการสร้างวิถีชีวิตที่คุณต้องการมาก ที่สุด เมื่อบ้านของคุณได้รับการจัดเก็บ  ทุ่มเทเวลาและความหลงใหลในสิ่งที่ทาให้คุณมีความสุขที่สุด ภารกิจของคุณในชีวิต การจัดเก็บบ้านของคุณจะช่วยให้คุณพบ ภารกิจในหัวใจของคุณ ชีวิตเริ่มต้นอย่างแท้จริงหลังจากที่คุณได้ จัดเก็บบ้านของคุณแล้ว
  • 20. ตัวอย่างบทเรียนของการจัดเก็บเสื้อผ้า  1. ทาทีละหมวดหมู่ไม่ใช่ทีละห้อง (Tackle Categories, Not Rooms)  2. เคารพสิ่งของของคุณ (Respect Your Belongings)  3. การคิดถึงอดีตไม่ใช่เพื่อนที่ดีของคุณ (Nostalgia Is Not Your Friend)  4. การขจัดออกได้ทาให้รู้สึกดี ๆ (Purging Feels SO Good)  5. พับอย่าแขวน (Fold, Don’t Hang)  6. การพับ (THE Fold!)  7. ตกหลุมรักกับตู้เสื้อผ้าของคุณ (Fall in Love with Your Closet)  8. ค้นพบสไตล์ของคุณ (Rediscover Your Style)
  • 21. 1. ทาทีละหมวดหมู่ไม่ใช่ทีละห้อง  กฎข้อแรกของ Kondo คือ การจัดเก็บตามประเภทในคราวเดียว มิเช่นนั้นพวกมันก็จะคืบคลานไปเรื่อย ๆ จากห้องหนึ่งไปยังอีก ห้องหนึ่ง และคุณจะไม่แยแสอีกต่อไป  เธอแนะนาให้เริ่มต้นด้วยเสื้อผ้า เพราะมันเป็นสิ่งที่เต็มไปด้วย อารมณ์ของตัวเองมากที่สุด (ถัดมาเป็นหนังสือ และรูปถ่ายเป็น รายการถัดไป)
  • 22. 2. เคารพสิ่งของของคุณ  Kondo ขอให้คุณพิจารณาความรู้สึกของเสื้อผ้าของคุณ  พวกมันมีความสุขที่ถูกบี้แบนในมุม หรืออยู่กันอย่างหนาแน่นบน ไม้แขวนหรือไม่?  ถุงเท้าที่ขยันขันแข็งของคุณตื่นเต้นมากที่จะได้รับการม้วน หรือไม่?
  • 23. 3. การคิดถึงอดีตไม่ใช่เพื่อนที่ดีของคุณ  Kondo รู้ว่าเธอกาลังพูดถึงอะไร เมื่อเธอยืนยันว่าคุณควรทา เสมือนใส่ที่ปิดตาไว้ และมุ่งเน้นเฉพาะสิ่งที่มีอยู่ในมือเท่านั้น  การอ่านจดหมายเก่า ๆ ฉบับหนึ่ง จะทาให้คุณเสียเวลาโดยใช่ เหตุด้วยการคิดถึงอดีต
  • 24.
  • 25. 4. การขจัดออกได้ทาให้รู้สึกดี ๆ  Kondo จะสวดภาวนาเมื่อเข้าไปในบ้านของลูกค้า จุดเทียน กล่าว คาอธิษฐานเล็กน้อย และเริ่มขุดผ่านภูเขาเสื้อผ้า  คาถามเรื่องความสุขนี้ ทาให้คุณปลดปล่อยเสื้อนอกสีสดที่ซื้ อจาก การลดราคา ชุดที่ตกยุค กระโปรงที่แขวนอย่างอึดอัด  บางสิ่งควรไปที่ร้านขายของฝาก และบางสิ่งบริจาคเป็นการกุศล เพื่อให้มันมีชีวิตใหม่ที่ดีขึ้น
  • 26.
  • 27. 5. พับ อย่าแขวน  เมื่อคุณแยกแยะสิ่งที่ต้องทิ้งไปแล้ว คุณก็สามารถตัดสินใจได้ว่า จะให้สิ่งที่เหลือจะไปอยู่ที่แห่งใด  แทนที่จะพับเก็บไว้ในตู้เก็บของ หรือแขวนไว้ในตู้เสื้อผ้า Kondo คิดว่าเสื้อผ้าของเราน่าจะดีกว่า (น่าจะมีความสุขมากกว่า) ถ้าได้ ถูกพับเก็บอยู่ในตู้เสื้อผ้าแบบลิ้นชัก
  • 28. Here’s the basic KonMari vertical fold, which can be applied to everything from T-shirts to stockings. First, make a long rectangle, and then fold from the bottom up into a little package.
  • 29. 6. การพับ  เทคนิคการพับแนวแนวตั้งของ Kondo ทาให้ทุกอย่างง่ายต่อการ มองเห็นและยากที่จะทาให้ยุ่งเหยิง (เพราะคุณไม่ได้กระแทกทั้ง กองทุกครั้ง ที่คุณหยิบอะไรบางอย่างออกหรือนากลับมา) การ พับเก็บด้วยวิธีนี้ เสื้อผ้าจะมีลักษณะเหมือนผ้า Origami พร้อมที่ จะจัดเรียงในลิ้นชักของคุณอย่างเรียบร้อย  เพื่อให้เสื้อผ้าที่พับเก็บเหล่านี้ เห็นได้ชัดเจนในตู้เสื้อผ้า Kondo แนะนาให้ใช้กล่องใส่รองเท้าแบ่งการจัดเก็บสิ่งของในลิ้นชัก กล่องขนาดเล็กเหมาะสาหรับผ้าพันคอ กล่องใบใหญ่หน่อย สามารถเก็บในลิ้นชักด้านล่างสาหรับเสื้อกันหนาว
  • 30.
  • 31.
  • 32. 7. ตกหลุมรักกับตู้เสื้อผ้าของคุณ  นี่คือเหตุผลที่คนนิยมวิธี KonMari  เมื่อคุณขจัดความยุ่งเหยิงและนาสิ่งต่างๆ ออกไปแล้ว ชุดและ กระโปรงของคุณ ก็สามารถมองเห็นแสงสว่างได้ มีช่องว่าง ระหว่างชิ้นงาน ดังนั้นคุณจึงไม่จาเป็นต้องออกแรงมากกับการ หยิบของจากชั้นวาง  ทั้งหมดนี้ หมายถึงคุณได้รับความสุขอย่างเต็มที่เพียงแค่เปิดตู้ เสื้อผ้า ไม่ว่าคุณจะเตรียมพร้อมในการไปทางานในตอนเช้าหรือ วางแผนไปงานปาร์ตี้
  • 34. 8. ค้นพบสไตล์ของคุณ  สามชุดที่นาความสุขมากมาย คือ ชุดเม็กซิกันโบราณ ชุดผ้าไหมลาย สถาปัตยกรรม และชุดลายจุด หมุนที่ได้รับมาจากป้ า
  • 35. สรุป  การจัดเก็บใช้ความพยายามอย่างมาก ให้มุ่งมั่นเพื่อความ สมบูรณ์แบบ เพื่อที่คุณจะต้องทาเพียงครั้งเดียว  เริ่มขั้นตอนโดยการกองทุกสิ่งทุกอย่างบนพื้น  หยิบแต่ละสิ่งไว้ในมือของคุณ และตัดสินใจว่าจะเก็บไว้หรือไม่ ใช้เกณฑ์คือ นี่จุดประกายความสุขหรือไม่?  อย่าคิดถึงสิ่งต่างๆ ที่ควรทา จนกว่าคุณจะทิ้งสิ่งที่ไม่ต้องการ ออกไปทั้งหมดก่อน  เริ่มต้นด้วยเสื้อผ้าก่อน จากนั้นหนังสือ เอกสาร อื่น ๆ และใน ท้ายที่สุด สิ่งที่อ่อนไหวต่ออารมณ์
  • 36. ก่อนจาก  ภายในบ้านหรือหอพัก หลังการจัดเก็บแล้ว จะมีหลายอย่าง เหมือนกันกับศาลเจ้าชินโต ... สถานที่ที่ไม่มีสิ่งที่ไม่จาเป็น และ ความคิดของเราที่ชัดเจน  เป็นสถานที่ที่เราชื่นชมทุกสิ่งที่สนับสนุนเรา เป็นที่ที่เราทบทวน และคิดใหม่เกี่ยวกับตัวเราเอง