SlideShare a Scribd company logo
ช
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง
GIS For Huaynamdung Forest Fire Control Station
โดย
นางสาว อารีญา บุษบง รหัส 50025293
นางสาว สรินธร สุทธิยุทธ์ รหัส 50064770
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
พ.ศ. 2554
ก
มหาวิทยาลัยศรีปทุม
คณะสารสนเทศศาสตร์
โครงงาน
ของ
1. นางสาวอารีญา บุษบง รหัสนักศึกษา 50025293
2. นางสาวสรินธร สุทธิยุทธ์ รหัสนักศึกษา 50064770
เรื่อง
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่า
(GIS For Huaynamdung Forest Fire Control Station)
ได้รับการตรวจสอบและอนุมัติให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เมื่อ วันที่ 25 เดือน กันยายน พ.ศ. 2554
ประธานกรรมการ
กรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษา

กรรมการ
กรรมการและเลขานุการ
ข
บทคัดย่อ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง
(GIS For Huaynamdund Forest Fire Control Station, จานวน 80 หน้า)
โดย 1. นางสาวอารีญา บุษบง รหัสนักศึกษา 50025293
2. นางสาวสรินธร สุทธิยุทธ์ รหัสนักศึกษา 50064770
อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์สุรศักดิ์ มังสิงห์
วัตถุประสงค์ของการทาโครงงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้า
ดัง (GIS For Huaynamdund Forest Fire Control Station) จัดทาแผนที่และแสดงจุดกาเนิดไฟป่าที่
อยู่ในความดูแลของสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง แสดงพิกัดไฟป่า แสดงพิกัดของบริเวณที่เสี่ยงต่อ
การเกิดไฟป่าร่วมกับระบบ GIS และจัดองค์ความรู้เกี่ยวกับไฟป่า
อุปกรณ์ต่างๆ ที่จาเป็นต่อการทางาน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเอเอสพี ASP
(Active Server Page) โปรแกรม อาร์คจีไอเอส (ArcGIS) โปรแกรม GeoServer ภาษา HTML
โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS4 โปรแกรม Adobe Photoshop CS4
ผลการทางานของโครงงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง
สามารถแสดงจังหวัด อาเภอหมู่บ้าน ขอบเขตที่คลอบคุมถึง ขอบเขตพื้นที่ ที่อยู่ในความดูแลของ
หน่วยงาน แสดงพิกัดเกิดไฟป่า การจัดเก็บข้อมูลการเกิดไฟป่าในความรับผิดชอบของสถานีไฟป่า
ห้วยน้าดังสามารถนาไปพัฒนาต่อยอดได้
ค
กิตติกรรมประกาศ
ผู้จัดทาโครงงาน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง จะเกิดขึ้น
ไม่ได้ถ้าหากขาดการสนับสนุนจาก บุคคลหลายท่านด้วยกัน จึงใคร่ขอขอบคุณท่านต่างๆ ดังนี้
ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่มีส่วนให้โครงงานนี้ผ่านมาถึงวันนี้ รวมถึงความรู้
ในทางวิชาการและประสบการณ์ชีวิตในด้านต่างๆ
ขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์สุรศักดิ์ มังสิงห์ ที่กรุณาให้คาแนะนา
และให้คาปรึกษาเป็นอย่างดี ตลอดจนแนวทางการแก้ไขโครงงาน ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการทา
โครงงานนี้ ทาให้ผู้จัดทาสามารถพัฒนาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
ขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา ครอบครัว รวมถึงญาติๆ ของผู้จัดทาโครงงานที่ให้
คาแนะนารวมถึงกาลังใจ และการสนับสนุนด้านการเงิน, การศึกษา, การอบรม และดูแลเอาใจใส่
อย่างดีมาโดยตลอด
ขอขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆ ที่ให้กาลังใจ และให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการจัดทาโครงงาน
สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณทางคณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ตลอดจนอาจารย์ทุกท่านที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ ที่นี้ด้วย
คุณค่าและประโยชน์อันพึงมี จากการจัดทาโครงงานนี้ ผู้จัดทาขอมอบให้แด่ผู้มีพระคุณ
ทุกท่าน
คณะผู้จัดทา
กันยายน 2554
ง
คานา
การจัดทาโครงงาน “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง” นี้เป็น
ส่วนหนึ่งของวิชา ICT 492 โครงงานคอมพิวเตอร์ (Computer Project Preparation) ของหลักสูตร
วิทยาศาสตร์บัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี
ปทุม สาหรับนักศึกษาปีสุดท้าย เพื่อให้นักศึกษาได้นาความรู้ที่เรียนมาทั้งหมดมาประยุกต์ใช้ในการ
พัฒนาระบบเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถและการเพิ่มประสบการณ์ก่อนสาเร็จการศึกษา
จากสถาบัน
โครงงาน “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง” คณะผู้จัดทาจัดทา
ศึกษาระบบการจัดเก็บข้อมูลไฟป่าห้วยน้าดัง จัดเก็บข้อมูลการเกิดไฟป่าในความรับผิดชอบของ
สถานีไฟป่าห้วยน้าดัง ได้มีการจัดทารายงานและสถิติการเกิดไฟป่าและการดาเนินการดับไฟป่า
และจัดทาองค์ความรู้เกี่ยวกับการไฟป่าปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์แสดงพิกัด
ของบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าร่วมกับระบบ GIS
คณะผู้จัดทาคาดหวังว่าโครงงาน “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วย
น้าดัง” นี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจ และสามารถนาไปพัฒนาต่อยอดได้เพราะได้ทาระบบ
รองรับไว้หมดแล้ว
คณะผู้จัดทา
กันยายน 2554
จ
สารบัญ
หน้า
หน้าอนุมัติ........................................................................................................................................ก
บทคัดย่อ...........................................................................................................................................ข
กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................ค
คานา..................................................................................................................................................ง
สารบัญ..............................................................................................................................................จ
สารบัญรูป ........................................................................................................................................ช
สารบัญตาราง ...................................................................................................................................ญ
บทที่ 1 บทนา .....................................................................................................................................
1.1 ภูมิหลังและความเป็นมา .................................................................................................1
1.2 วัตถุประสงค์ ...................................................................................................................2
1.3 ขอบเขตการศึกษา............................................................................................................2
1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ.........................................................................................................3
1.5 แผนการดาเนินงาน
1.6 ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ที่คาดว่าจะใช้.............................................................................4
บทที่ 2 ทฤษฏีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ............................................................................................
2.1 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง.............................................................................................................5
บทที่ 3 การออกแบบระบบ
3.1 แผนภาพบริบท (Context Diagram)................................................................................11
3.2 แผนภาพกระแสข้อมูลระบบ (Data Flow)......................................................................12
3.3 การออกแบบการเชื่อมประสานกับผู้ใช้ (Use case Diagram).........................................16
3.3 แผนภาพความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Model).............................................................17
3.5 ตารางข้อมูล....................................................................................................................18
ฉ
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
3.5 แผนผังการดาเนินงาน (Flowchart).................................................................................30
3.7 การออกแบบการเชื่อมต่อประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface)....................................34
บทที่ 4 การพัฒนาระบบ......................................................................................................................
4.1 ซอฟต์แวร์ที่ใช้......................................................................................................................... 47
4.2 ฮาร์ดแวร์ที่ใช้.................................................................................................................48
4.3 สรุปการทางานทั้งหมดของระบบ.................................................................................48
บทที่ 5 สรุปโครงงาน..........................................................................................................................
5.1 สรุปผลการดาเนินงาน...................................................................................................52
5.2 ปัญหาที่เกิดขึ้น ..............................................................................................................52
5.3 แนวทางการแก้ไข..........................................................................................................53
5.4 แนวทางการพัฒนา........................................................................................................53
บทที่ 6 คู่มือการใช้งาน........................................................................................................................
6.1 โปรแกรมที่ต้องใช้ในระบบ ..........................................................................................55
6.2 วิธีการใช้งาน.................................................................................................................55
บรรณานุกรม...................................................................................................................................69
ภาคผนวก........................................................................................................................................71
ประวัติผู้จัดทาโครงงาน...............................................................................................................7780
ช
สารบัญรูป
รูปที่ หน้า
รูปที่ 3.1 แผนภาพบริบท ................................................................................................................11
รูปที่ 3.2 แสดงการจัดการข้อมูลบุคลากรเจ้าหน้าที่ (Dataflow Diagram) level 0 12
รูปที่ 3.3 แสดงการจัดการเกี่ยวกับผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ (Dataflow Diagram) level 0. 12
รูปที่ 3.4 แสดงการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลเกิดไฟป่า (Dataflow Diagram) level 0............................ 12
รูปที่ 3.5 แสดงการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 0................... 13
รูปที่ 3.6 แสดงการเรียกดู (Dataflow Diagram) level 0.................................................................. 13
รูปที่ 3.7 แสดงการประเมินความเสี่ยง (Dataflow Diagram) level 0 .............................................. 13
รูปที่ 3.8 แสดงการล็อกอินของเจ้าหน้าที่ (Dataflow Diagram) level 1...........................................13
รูปที่ 3.9 แสดงการสมัครเข้าร่วมโครงการ (Dataflow Diagram) level 1 14
รูปที่ 3.10 แสดงการปรับปรุงข้อมูลผู้สมัคร (Dataflow Diagram) level 1.......................................14
รูปที่ 3.11 แสดงการเรียกดูข้อมูลผู้ใช้ (Dataflow Diagram) level 1.................................................14
รูปที่ 3.12 แสดงการปรับปรุงข้อมูลข่าว (Dataflow Diagram) level 1.............................................14
รูปที่ 3.13 แสดงการออกรายงาน (Dataflow Diagram) level 1 ................................................... 14
รูปที่ 3.14 แสดงการเรียกดูข่าวประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 1...................................15
รูปที่ 3.15 แสดงการปรับปรุงข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 1.....................15
รูปที่ 3.16 แสดงการคิดประเมินพื้นที่เสี่ยง (Dataflow Diagram) level 1.........................................15
รูปที่ 3.17 แสดงการเรียกดูแผนที่เสี่ยง (Dataflow Diagram) level 1 15
รูปที่ 3.18 Use Case Diagram 16
รูปที่ 3.19 E-R Diagram 17
รูปที่ 3.20 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของภาพรวมของเว็บไซต์ 30
รูปที่ 3.21 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป 31
รูปที่ 3.22 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของเจ้าหน้าที่และผู้ดูแลระบบ 32
รูปที่ 3.23 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของการสมัครเข้าร่วมโครงการอบรม 33
รูปที่ 3.24 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์ 34
ซ
สารบัญรูป (ต่อ)
รูปที่ หน้า
รูปที่ 3.25 แสดงหน้าประวัติ 34
รูปที่ 3.26 แสดงหน้าสภาพแวดล้อมพื้นที่ 35
รูปที่ 3.27 แสดงหน้า Login สาหรับเจ้าหน้าที่ 35
รูปที่ 3.28 แสดงหน้าหลังจากเจ้าหน้าที่ Login เข้ามา 36
รูปที่ 3.29 แสดงหน้าการจัดการข้อมูลการเกิดไฟป่า 36
รูปที่ 3.30 แสดงหน้ากรอกข้อมูลการเกิดไฟป่า 37
รูปที่ 3.31 แสดงหน้าจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ 37
รูปที่ 3.32 แสดงหน้าการกรอกข้อมูลประชาสัมพันธ์ 38
รูปที่ 3.33 แสดงหน้าการแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์ 38
รูปที่ 3.34 แสดงหน้าข่าวประชาสัมพันธ์ 39
รูปที่ 3.35 หน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 39
รูปที่ 3.36 แสดงหน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 40
รูปที่ 3.37 แสดงหน้าแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 40
รูปที่3.38 แสดงหน้าผลงานประจาปี 41
รูปที่ 3.39 แสดงหน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเปิดอบรม 41
รูปที่ 3.40 แสดงหน้าจัดการเกี่ยวกับโครงการแดอบรม 42
รูปที่ 3.41 แสดงหน้าแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเปิดอบรม 42
รูปที่ 3.42 หน้าจัดการพื้นที่เสี่ยง 43
รูปที่ 3.43 แสดงหน้าจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน 43
รูปที่ 3.44 หน้าจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน 44
รูปที่ 3.45 แสดงหน้าเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง 44
รูปที่ 3.46 แสดงหน้าแบบฟอร์มโครงการ 45
รูปที่3.47 หน้าแสดงสถิติการเกิดไฟป่า 45
รูปที่ 3.48 แสดงหน้าความรู้เกี่ยวกับไฟป่า 46
รูปที่ 6.1 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์ 56
รูปที่ 6.2 แสดงหน้าประวัติ 56
รูปที่ 6.3 แสดงหน้าสภาพแวดล้อมพื้นที่ 57
ฌ
สารบัญรูป (ต่อ)
รูปที่ หน้า
รูปที่ 6.4 แสดงหน้า Login สาหรับเจ้าหน้าที่ 57
รูปที่ 6.5 แสดงหน้าหลังจากเจ้าหน้าที่ Login เข้ามา 58
รูปที่ 6.6 แสดงหน้าการจัดการข้อมูลการเกิดไฟป่า 58
รูปที่ 6.7 แสดงหน้ากรอกข้อมูลการเกิดไฟป่า 59
รูปที่ 6.8 แสดงหน้าจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ 59
รูปที่ 6.9 แสดงหน้าการกรอกข้อมูลประชาสัมพันธ์ 60
รูปที่ 6.10 แสดงหน้าการแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์ 60
รูปที่6.11 แสดงหน้าข่าวประชาสัมพันธ์ 61
รูปที่ 6.12 หน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 61
รูปที่ 6.13 แสดงหน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 62
รูปที่6.14 แสดงหน้าแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 62
รูปที่6.15 แสดงหน้าผลงานประจาปี 63
รูปที่ 6.16 แสดงหน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเปิดอบรม 63
รูปที่ 6.17 แสดงหน้าจัดการเกี่ยวกับโครงการแดอบรม 64
รูปที่ 6.18 แสดงหน้าแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเปิดอบรม 64
รูปที่ 6.19 หน้าจัดการพื้นที่เสี่ยง 65
รูปที่ 6.20 แสดงหน้าจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน 65
รูปที่ 6.21 หน้าจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน 66
รูปที่ 6.22 แสดงหน้าเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง 66
รูปที่ 6.23 แสดงหน้าแบบฟอร์มโครงการ 67
รูปที่ 6.24 หน้าแสดงสถิติการเกิดไฟป่า 67
รูปที่ 6.25 แสดงหน้าความรู้เกี่ยวกับไฟป่า 68
1
บทที่ 1
บทนา
1.1 ภูมิหลังและความเป็นมา
ในอดีต “ห้วยน้าดัง” เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก มีอาณาเขตกว้างขวางซึ่งสภาพ
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงชัน และสลับซับซ้อน และยังเป็นป่ าต้นน้าลาธารที่สาคัญของทาง
ภาคเหนือมีลาห้วยหลายสาย มีน้าไหลตลอดปี กลางคืนในบริเวณลุ่มน้าจะได้ยินเสียงน้าไหลดังทั่ว
พื้นที่ป่ าโดยจะไหลสู่แม่น้าแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และแม่น้าปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มี
ทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงามยิ่ง เป็นแหล่งรวมของสายพันธุ์หลากหลายทางชีวภาพ มีแหล่ง
ท่องเที่ยวดึงดูดใจนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ที่สาคัญหลากหลายแห่ง เช่น จุดชม
วิว และทะเลหมอกดอยกิ่วลม (ห้วยน้าดัง)โป่งเดือด โป่งน้าร้อนท่าปาย น้าตกแม่เย็น และน้าตก
แม่ปิง แต่ปัจจุบันได้มีปัจจัยหลายประการด้วยกันที่จะมีแนวโน้ม ทาให้มีการบุกรุกทาลายสภาพป่า
และเผาป่าในพื้นที่แห่งนี้เพิ่มขึ้น และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือพื้นที่ต้นน้าลาธาร เช่น
การเผาป่า เพื่อขยายพื้นที่ทาการเกษตรอย่างไม่มีระบบ และขาดความรู้ทางวิชาการอย่างแท้จริง การ
เผาป่าเพื่อหาของป่าและสัตว์ป่า ทาให้ปริมาณน้าในลาห้วยลดน้อยลง จึงไม่มีปรากฏการณ์ดังกล่าว
ให้พบเห็นและได้ยินอีกเลยแต่ธรรมชาติยังคงสภาพความงดงามอยู่ ดังนั้นเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์
2535 กรมป่าไม้ได้สั่งการให้ศูนย์ควบคุมไฟป่าภาคเหนือจัดตั้งสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง ขึ้นใน
พื้นที่แห่งนี้ ซึ่งต่อมาได้กาหนดให้เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง ตามพระราชบัญญัติอุทยาน
แห่งชาติ พุทธศักราช 2504 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 33 ก ลงวันที่ 14
สิงหาคม 2538 ในท้องที่ตาบลกึ้ดช้าง ตาบลป่าแป๋ อาเภอแม่แตง, ตาบลเปียงหลวง ตาบลเมืองแหง
อาเภอเวียงแหง, ตาบลเมืองคอง อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และตาบลเวียงเหนือ ตาบลแม่ฮี้
ตาบลแม่นาเติง อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน รวมเนื้อที่ประมาณ 1,247 ตารางกิโลเมตร หรือ
ประมาณ 779,375 ไร่
แต่ปัจจุบันได้มีปัจจัยหลายประการด้วยกันที่จะมีแนวโน้ม ทาให้มีการบุกรุกทาลายสภาพ
ป่า และเผาป่าในพื้นที่แห่งนี้เพิ่มขึ้น และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือพื้นที่ต้นน้าลาธาร
เช่น การเผาป่า เพื่อขยายพื้นที่ทาการเกษตรอย่างไม่มีระบบ และขาดความรู้ทางวิชาการอย่าง
แท้จริง การเผาป่าเพื่อหาของป่าและสัตว์ป่า ทาให้ปริมาณน้าในลาห้วยลดน้อยลง เนื่องจากเมื่อเกิด
ไฟป่าเกิดขึ้นและไม่สามารถนาน้าเข้าไปดับไฟป่าได้ เนื่องจากไม่สามารถบอกพิกัดของพื้นที่ ที่เกิด
ไฟป่าได้ ทางผู้จัดทาปริญญานิพนธ์มีแนวความคิดในการพัฒนาระบบเพื่อเก็บ คือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่
เกี่ยวข้องกับไฟป่าของอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดังและสามารถแสดงผลร่วมกับแผนที่เพื่อความ
2
สะดวกและรวดเร็วในการวิเคราะห์ เมื่อนามาใช้ในการ วิเคราะห์แต่ละครั้งนั้นจะต้องทาการคัดลอก
ข้อมูล ออกมา ซึ่งอาจทาให้เกิดความผิดพลาดขึ้นมาได้ทั้งตาแหน่ง และสัญลักษณ์อย่างไรก็ตาม
เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่ได้พัฒนามากขึ้นนั้นสามารถนามาช่วยในการจัดเก็บข้อมูลให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือระบบ GIS ซึ่งเป็น
เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) ข้อมูลตามลักษณะต่าง ๆ ในพื้นที่ที่
ทาการศึกษาจะถูกนามาจัดให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน โดยขึ้นอยู่กับ
ชนิดและรายละเอียดของข้อมูลนั้น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดตามต้องการ ดังนั้นการใช้ระบบ
สารสนเทศภูมิศาสตร์จึง ช่วยในการศึกษาและการวิเคราะห์ตลอดจนทาให้สามารถประเมินการ
ป้ องกันไฟป่าได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
1.2 วัตถุประสงค์
1.2.1 เพื่อแสดงผลงานของสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง
1.2.2 เพื่อเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลที่มีความรู้เกี่ยวกับไฟป่า
1.2.3 เพื่อเป็นแหล่งเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ของสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง
1.2.4 เพื่อเพิ่มช่องทางในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่เดิม
1.2.5 เพื่อให้ผู้สนใจทราบถึงความสาคัญและประโยชน์การป้ องกันไฟป่า
1.2.6 จัดทาเว็บไซต์ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งให้สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง
1.3 ขอบเขตการศึกษา
1.3.1 ศึกษาระบบการจัดเก็บข้อมูลไฟป่าห้วยน้าดัง
1.3.2 จัดเก็บข้อมูลการเกิดไฟป่าในความรับผิดชอบของสถานีไฟป่าห้วยน้าดัง
1.3.3 จัดทารายงานและสถิติการเกิดไฟป่าและการดาเนินการดับไฟป่า
1.3.4 จัดองค์ความรู้เกี่ยวกับไฟป่า
1.3.5 ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์
1.3.6 แสดงพิกัดของบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าร่วมกับระบบ GIS
1.3.7 แผนที่และจุดกาเนิดไฟป่าที่อยู่ในความดูแลของสถานีควบคุมไฟป่าและทาการ
จัดทารายละเอียดแผนที่
1.3.7.1 แสดงพิกัดเกิดไฟป่า
1.3.7.2 แสดงจังหวัด อาเภอหมู่บ้าน ขอบเขตที่คลอบคุมถึง ขอบเขตพื้นที่ ที่อยู่ใน
ความดูแลของหน่วยงาน
1.3.7.3 สภาพพื้นที่ ป่า บ้านพักที่อยู่อาศัย แม่น้า ลาน้าสาขา
3
1.3.7.4 ถนน เส้นทาง เส้นทางลาดตะเวน
1.3.8 มีส่วนของผู้ดูแลระบบสาหรับการปรับปรุงพื้นฐานข้อมูล
1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.4.1 เว็บไซต์มีโอกาสได้ใช้ในหน่วยงานจริง
1.4.2 การป้ องกันการเกิดไฟป่ามีประสิทธิ์ภาพสูงสุด
1.4.3 เป็นระบบต้นแบบที่สามารถนาไปพัฒนาต่อยอดให้ใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์
ของหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านไฟป่า
1.4.4 ผู้ที่สนใจได้รับความรู้และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง
1.5 แผนการดาเนินงาน
ในการดาเนินการของระบบเว็บระบบจัดการความรู้ของ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง
จะต้องมีการศึกษาระบบการทางานเดิมและการนาเทคโนโลยีเข้ามาปรับปรุงระบบการทางาน การ
นาเสนอ และการบริการโดยมีขั้นตอนการดาเนินงานมีดังนี้
1.5.1 ศึกษาทฤษฎีและเทคโนโลยีที่ใช้สาหรับการพัฒนา
1.5.2 เก็บรวบรวมข้อมูลด้านความต้องการของระบบและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ
บริหารจัดการไฟป่า
1.5.3 วิเคราะห์ข้อมูล
1.5.4 ออกแบบระบบงาน
1.5.5 พัฒนาระบบงาน
- ทดสอบ
- การเขียนโปรแกรม
- ทดสอบย่อย
- ทดสอบรวม
1.5.6 ทดสอบติดตั้งระบบงาน
1.5.7 จัดทาเอกสารประกอบ
แผนการดาเนินงานสาหรับการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่า
ห้วยน้าดัง และมีระยะเวลาที่ใช้ตามตารางที่ 1.1
4
ตารางที่ 1.1 แผนภาพการดาเนินงาน ( Gantt Chart )
ระยะเวลา
ดาเนินงาน
กิจกรรม
มี.ค.2554
เม.ษ.2554
พ.ค.2554
มิ.ย.2554
ก.ค.2554
ก.ค.2554
ส.ค.2554
ก.ย.2554
1. ศึกษาทฤษฎี
2. รวบรวมข้อมูล
3. วิเคราะห์ข้อมูล
4. ออกแบบโปรแกรม
5. พัฒนาทดสอบ
5.1 การเขียนโปรแกรม
5.2 การทดสอบย่อย
5.3 การทดสอบรวม
6. ทดสอบติดตั้งระบบ
7. จัดทาเอกสาร
1.6 อุปกรณ์และโปรแกรมที่คาดว่าจะได้ใช้
1.6.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจานวน 1 เครื่อง
1.6.2 จอภาพ (Monitor)
1.6.3 เมาส์ (Mouse)
1.6.4 USB Drive ใช้จัดเก็บข้อมูล
1.6.5 เครื่องพิมพ์(Printer)
1.6.6 ProgreSQL
1.6.7 Internet information Server (IIS)
1.6.8 JavaScript
1.6.9 Geoserver
1.6.10 ArcGIS
5
บทที่ 2
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1 ภาษา ASP (Active Server Page)
เอเอสพี ASP (Active Server Page) เป็นเทคโนโลยีที่ทางานทางฝั่งเซิร์ฟเวอร์ ที่ถูก
ออกแบบมาให้ง่ายต่อการพัฒนาแอพพลิเคชั่นผ่าน Web Server สาหรับนักพัฒนาเว็บไซต์การใช้
งาน เอเอสพี สามารถกระทาได้โดยเขียนคาสั่งหรือ Script ต่าง ๆ ในรูปของแท็กไฟล์ธรรมดาทั่ว ๆ
ไป แล้วนามาเก็บไว้ที่ เซิร์ฟเวอร์ เมื่อมีการเรียกใช้งานจากบราวเซอร์ ไฟล์เอกสาร เอเอสพี ก็จะถูก
แปลโดย Server Interpreter แล้วผลที่ได้ส่งกลับไปเป็นภาษา เอชทีเอ็มแอล ให้บราวเซอร์ที่เรียก
ดังกล่าว
เนื่องจาก เอเอสพี สามารถรองรับได้หลายภาษา เช่น VBScript, Jscript, Perl และภาษา
Scriptอื่นๆ ดังนั้นนักพัฒนาเว็บไซต์จึงไม่มีความจาเป็นต้องมีความรู้หรือต้องศึกษาในทุกภาษา
เนื่องจาก เอเอสพี ได้ถูกออกแบบมาให้ขึ้นกับความรู้ของนักพัฒนาเว็บไซต์นั่นเอง การทางานของ
โปรแกรม เอเอสพี นั้นจะทางานอยู่ที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์เท่านั้นเราขึงเรียกว่าเป็นการทางานแบบ
เซิร์ฟเวอร์ Side ซึ่งจากการทางานทางฝั่ง เซิร์ฟเวอร์ ของ เอเอสพี นั้นทาให้ Web Server ของฝั่ง
Client จะทาหน้าที่เพียงรับผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานทางฝั่ง เซิร์ฟเวอร์ เท่านั้น
2.2 อาร์คจีไอเอส (ArcGIS)
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) คือ กระบวนการ
ทางานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ (spatial data) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการกาหนดข้อมูลเชิง
บรรยาย (attribute data) และสารสนเทศ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ ที่มีความสัมพันธ์กับตาแหน่งในเชิง
พื้นที่ เช่น ตาแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูล
ระบบ GIS ประกอบไปด้วยชุดของเครื่องมือที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวม รักษา
และการค้นข้อมูล เพื่อจัดเตรียม ปรับแต่ง วิเคราะห์และการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้
สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะ
สามารถนามาวิเคราะห์ด้วย GIS ให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับช่วงเวลาได้
GIS สามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลายระดับโครงงาน ซึ่งอาจสามารถเลือก
จัดการในระดับ Desktop GIS database สาหรับโครงงานขนาดเล็ก สาหรับโครงงานที่ต้องพัฒนา
ข้อมูลเชิงพื้นที่และแบ่งปันทรัพยากร ข้อมูลให้กับทีมงานภายใต้ระบบ LAN (Local Area Network)
ก็อาจจาเป็นต้องเลือกจัดการในระดับ GIS Enterprise เพราะผู้ใช้บางคนต้องการเรียกดูข้อมูล สืบค้น
6
ข้อมูลจากฐานข้อมูล ในขณะที่ผู้ใช้คนอื่นกาลังปรับแก้ข้อมูล และข้อมูลนี้ก็ยังคงทาการวิเคราะห์ที่
ซับซ้อนอยู่ หรือบางคนกาลังทาแผนที่และอาจทารายงานอยู่
การเลือกใช้งานซอฟแวร์ตัวใดตัวหนึ่งนั้นขึ้นอยู่ความต้องการขององค์กรนั้น ๆ ที่จะเลือก
นาไปใช้งานให้เหมาะสม สาหรับ Arc view ความสามารถเพียงเรียกดูข้อมูลที่ถูกจัดการภายใต้ Arc
SDE แต่ Arc Editor กับ Arc Info เท่านั้นที่สามารถปรับแก้ข้อมูลได้ภายใต้ Arc SDE ซึ่งเป็น
ซอฟแวร์แบบ Client / Server มีความสามารถจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่เป็นลักษณะ DBMS
(Database Management Systems)
2.2.1 องค์ประกอบทั้งสามของ Arc GIS ที่ถูกสร้างมาจากเทคโนโลยีเดียวประกอบด้วย
2.2.1.1 Arc View ประกอบด้วยโปรแกรม ArcCatalog, Arc Map และ Arc Tool
box ที่มีความสามารถ เรียกจัดการ วิเคราะห์ ปรับแก้ เอกสารแผนที่ได้
2.2.1.2 Arc Catalog เหมาะสาหรับนาไปใช้เลือกเส้นทางข้อมูล สร้างและปรับ
แก้metadata
2.2.1.3 Arc Map เหมาะสาหรับนาไปใช้แสดงผล สืบค้น และปรับแก้ข้อมูล หรือ
เอกสารแผนที่ และสิ่งพิมพ์ทางอิเล็กโทรนิค สาหรับบางข้อมูลการนาเสนอในรูปแบบ อื่นได้ดีกว่า
แผนที่ เช่น กราฟ รายงาน ซึ่ง Arc Map ได้เตรียมไว้หลายทางเลือกเพื่อสร้างกราฟและรายงานด้วยมี
เครื่องมือวิเศษที่ช่วยในการสร้างกราฟและรายงาน
2.2.1.4 Arc Toolbox เป็นเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล GIS ขั้นสูง เช่น
การแปลงระบบพิกัด หรือแปลงประเภทข้อมูลจากชนิดต่าง ๆ ไปเป็น GeoDatabase ด้วยการทา
งานแบบ drag and drop ทาให้สามารถลากชื่อและเส้นทางของข้อมูลจาก Arc Catalog ไปยัง Arc
Toolbox ได้
2.2.1.5 Arc Editor มีฟังก์ชันที่ Arc View มีทั้งหมด พร้อมทั้งมีเครื่องมือสามารถ
ปรับแก้ข้อมูลแบบ Coverage และ Geodatabase
2.2.1.6 Arc Info มีฟังก์ชันที่ Arc Editor มีทั้งหมด พร้อมทั้งมีเครื่องมือGeo pro-
cessing และArc - Workstation ครบชุดคือ (ARC, Arc Edit, Arc Plot, INFO, และ ARC Macro
Language หรือเรียกว่า AML)
2.3 GeoServer
มีความเป็น JSP ซึ่งความแตกต่างนี้ ทาให้ Geoserver มีภาษีดีกว่าในแง่ความเป็นDynamic
บน Web (ปัจจุบัน Map server ได้พัฒนาความเร็วให้มากขึ้นจากการสั่งงานผ่านทาง Common CGI
ไปสู่ Fast CGI
7
2.4 ภาษา HTML
เอชทีเอ็มแอล (Hyper Text Markup Language : HTML) เป็นภาษาสากลที่ใช้สื่อสารกัน
แพร่หลายใน internet เช่นเดียวกับคาสั่งใน UNIX หรือ DOS ในเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ PC พูดง่าย
ๆ เอชทีเอ็มแอล ก็คือเอกสารข้อความที่มี ชุดคาสั่ง <TAG> กากับแต่ละส่วนของเอกสาร เพื่อบอก
ให้โปรแกรมสาหรับอ่านซึ่งเราเรียกว่า Web browser รู้ว่า แต่ละส่วนของเอกสารจะต้องแสดงผล
ออกมาอย่างไร หรือจะต้องทาอย่างไรหากมีการเลือก(ด้วยการคลิกเมาส์หรือกด Enter) ตรงบริเวณ
ที่กาหนด เป็นต้น รูปแบบมาตรฐานของเอกสาร เอชทีเอ็มแอล จะมีอยู่สองส่วน ส่วนแรกเรียกว่า
ส่วนหัว (head) และส่วนที่สองเรียกว่าส่วนตัว (body) และทั้งสองส่วนจะต้องอยู่ภายใต้ชุดคาสั่ง
<HTML>....</HTML> เสมอ รูปแบบเอกสาร เอชทีเอ็มแอล ที่สมบูรณ์ ควรจะมีชุดคาสั่งมาตรฐาน
กากับอย่างน้อยที่สุด
2.4.1 โครงสร้างภาษา เอชทีเอ็มแอล
- <HTML>…</HTML> เป็นคาสั่งเริ่มต้นและสิ้นสุดเอกสาร เอชทีเอ็มแอล
- <HEAD>…</HEAD>ใช้กาหนดข้อความในส่วนที่เป็นชื่อเรื่องภายในคาสั่งนี้
จะมีคาสั่ง ย่อย<TITLE> อีกหนึ่งคาสั่ง
- <TITLE>…</TITLE>เป็นตัวแสดงชื่อเอกสารโดยจะแสดงที่ไตเติล บาร์ ของ
วินโดว์ที่เปิดเอกสารนี้อยู่เท่านั้น
- <BODY>…</BODY>ส่วนเนื้อหาของโปรแกรมจะเริ่มต้นด้วยคาสั่ง <BODY>
และสิ้นสุดด้วยคาสั่ง </BODY> ในระหว่างสองคาสั่งนี้จะมีส่วนแท็กต่างๆมากมาย
2.4.2 แท็ก (Tag)
2.4.2.1 แท็กที่เกี่ยวกับตัวอักษร
- <Hn>…</Hn> กาหนดขนาดของหัวเรื่อง (Heading) เมื่อ n แทนระดับ
ของหัวเรื่องโดยมีระดับ H1 ใหญ่สุดถึง H6 เล็กที่สุด
- <FONT COLOR= ”ชื่อสีหรือรหัสสี”>…</FONT> กาหนดสีของ
ข้อความโดยกาหนดรหัสสี หรือ ชื่อสี
- <FONT FACE=”ชื่อฟอนต์”>…</FONT> กาหนดชื่อฟอนต์ที่ต้องการ
ใช้สามารถใส่ชื่อฟอนต์หลายๆฟอนต์พร้อมๆ กัน
- <FONT SIZE=3>…</FONT> กาหนดขนาดของฟอนต์
- <B>…</B> ทาข้อความให้เป็นตัวหนา
- <I>…</I> ทาข้อความให้นอนเป็นตัวเอน
- <u>…</u> ขีดเส้นใต้ข้อความ
- <strike>…</strike> ขีดฆ่าข้อความ
8
- <big>…</big> เพิ่มขนาดอักษรขึ้นอีก 1 ระดับ
- <small>…</small> ลดขนาดตัวอักษรลง 1 ระดับ
- <blink>…</blink> ข้อความกระพริบใช้ได้กับ IE
- <sub>…</sub> แสดงข้อความแบบตัวห้อย
- <sup>…</sup> แสดงข้อความแบบตัวยกกาลัง
- <comment>…</comment> ใส่ข้อความหมายเหตุ
2.4.2.2 แท็กรูปแบบตาราง
- <TABLE>…<parameter>…</TABLE> เป็นคาสั่งเปิดปิดตาราง มี
พารามิเตอร์มีดังนี้
- ALIGNT กาหนดตาแหน่งการวางตารางในเอกสาร
- BORDER =n กาหนดให้เส้นกรอบตารางหรือไม่ ถ้าเลือกใส่กรอบให้
ใส่ค่าความหนาของกรอบด้วย
- HEIGHT =n กาหนดความสูงของตารางทั้งตาราง
- WIDTH =n กาหนดความกว้างของตาราง
- CELLSPACEING =n กาหนดระยะห่างระหว่างเซลล์ในตาราง กาหนด
เป็นพิกเซล
- CELLSPADDING =n กาหนดระยะห่างระหว่างเส้นและเนื้อหาภายใน
เซล<TH parameter>…</TH> ตารางตามแนวตั้ง กาหนด ข้อความโดยมีพารามิเตอร์
- VALING = ตาแหน่ง กาหนดการวางข้อมูลในเซลล์ตามแนวตั้ง กาหนด
ได้เป็น TOP MIDDLE BOTTOM
- HEIGHT =n กาหนดความสูงของเซลล์ในตาราง
- WIDTH =n กาหนดความกว้างของเซลล์ในตาราง
- BGCOLOR =# รหัสสี กาหนดสีพื้นหลังของเซลล์
2.5 โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS4
อะโดบี ดรีมวีฟเวอร์ (Adobe Dreamweaver) หรือชื่อเดิมคือ แมโครมีเดีย ดรีมวีฟเวอร์
(Macromedia Dreamweaver) เป็นโปรแกรมแก้ไข เอชทีเอ็มแอล พัฒนาโดยบริษัทแมโครมีเดีย
(ปัจจุบันควบกิจการรวมกับบริษัทอะโดบี ซิสเต็มส์) สาหรับการออกแบบเว็บไซต์ในรูปแบบ
WYSIWYG กับการควบคุมของส่วนแก้ไขรหัส เอชทีเอ็มแอล ในการพัฒนาโปรแกรมที่มีการ
รวมทั้งสองแบบเข้าด้วยกันแบบนี้ ทาให้ ดรีมวีฟเวอร์เป็นโปรแกรมที่แตกต่างจากโปรแกรมอื่นๆ
9
ในประเภทเดียวกัน ในช่วงปลายปีทศวรรษ 1990 จนถึงปีทศวรรษ 2001 ดรีมวีฟเวอร์มีสัดส่วน
ตลาดโปรแกรมแก้ไข เอชทีเอ็มแอล อยู่มากกว่า 70%
2.5.1 จุดเด่นของโปรแกรม
2.5.1.1 สนับสนุนการทางานแบบ WYSIWYG (What You See Is What You
Get) หมายความว่าอะไรก็ตามที่เราทาบนหน้าจอ ดรีมวีฟเวอร์ ก็จะปรากฏผลแบบเดียวกันบนเว็บ
เพจ ซึ่งช่วยให้การสร้างและแก้ไขเว็บเพจนั้นทาได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความรู้ภาษา เอชทีเอ็มแอล เลย
2.5.1.2 มีเครื่องมือในการสร้างรูปแบบหน้าจอเว็บเพจ ซึ่งทาสะดวกมากยิ่งขึ้น
2.5.1.3 สนับสนุนภาษาสคริปต์ต่างๆ เช่น Java, ASP, PHP ,CGI, VBScript
2.5.1.4 มีเครื่องมือที่ช่วยในการ อัพโหลด หน้าเว็บที่สร้างไปที่ เซิร์ฟเวอร์ เพื่อทา
การเผยแพร่งานที่ทาจากโปรแกรมเสร็จเพื่อที่จะให้แสดงผ่าน IE และ Firefox
2.5.1.5 รองรับในการใช้มัลติมีเดียต่างๆ เช่น เสียง กราฟิก และภาพเคลื่อนไหวที่
สร้างโดยโปรแกรมต่างๆชนิดจาพวกโปแกรม Flash, โปรแกรม Shockwave, โปรแกรม Firework
เป็นต้น
2.5.1.6 มีความสามารถทาการติดต่อกับฐานข้อมูล เพื่อเชื่อมต่อกับเว็บไซต์
2.6 โปรแกรม Adobe Photoshop CS4
อะโดบี โฟโต้ชอป (Adobe Photoshop) เป็น โปรแกรมยอดนิยมสุดฮิตของบรรดานักแต่ง
ภาพทั้งมืออาชีพและ มือสมัครเล่นที่ช่วยให้คุณเปลี่ยนภาพถ่ายธรรมดาให้เป็นภาพถ่ายที่สวยงาม
เหนือจินตนาการ โปรแกรม โฟโต้ชอป นั้นยังใช้ในการออกแบบงานสิ่งพิมพ์ต่างๆเช่นงานโฆษณา
ตามหน้านิตยสารโบรชัวร์แผ่นพับต่าง ๆ แม้แต่งานออกแบบเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ตก็ผ่านการรีทัช
ภาพด้วย โปรแกรมนี้มาแล้วทั้งนั้น แม้แต่วงการแฟชั่นบ้านเราก็ยังหันมาใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก
(CG) กันมากมาย
โปรแกรม โฟโต้ชอป นี้มีการเพิ่มส่วนต่างๆ มากมายเพื่อให้การสร้างภาพกราฟิกและการ
ตกแต่งภาพเป็นไปอย่างสมบูรณ์แบบ เครื่องมือที่ไม่นิยมใช้ถูกทดแทนด้วย เครื่องมือใหม่ ๆ ซึ่งจะ
ช่วยให้ทางานง่ายขึ้นและได้ผลงานที่ดีขึ้นอันได้แก่
2.6.1 มีการจัดเรียงลาดับของกลุ่มคาสั่งให้ใช้งานได้เต็มที่และสะดวกมากขึ้น
2.6.2 มีการตอบสนองกับการใช้ภาษาไทยที่ดีขึ้น
2.6.3 เพิ่มเครื่องมือเกี่ยวกับการตกแต่งภาพ เพื่อให้งานตัดต่อภาพดูเหมือนจริงที่สุด
2.6.4 เพิ่มหน้าต่าง File Browser เพื่อความสะดวกในการค้นหาภาพ
2.6.5 สามารถเซฟภาพพื้นหลังแบบโปร่งใสได้ซึ่งเหมาะใช้งานทางด้านเว็บไซต์
2.6.6 เพิ่มคาสั่งฟิลเตอร์ เพื่อช่วยให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
10
2.6.7 เครื่องมือสามารถได้ทาให้สะดวกในการทางานมากขึ้น
2.6.8 ได้ทาการนา Image Ready เข้ามารวมเป็นตัวเดียวกันทาให้ไม่ต้องสลับโปรแกรม
ทางานไปมา
11
บทที่ 3
การออกแบบระบบ
3.1 การออกแบบขบวนการเก็บและใช้ข้อมูล
การออกแบบระบบเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ขั้นตอนหนึ่งของการพัฒนาระบบสารสนเทศ
หากทาการออกแบบระบบได้ดี จะทาให้บรรลุไปถึงวัตถุประสงค์ของการพัฒนาระบบทาให้การ
พัฒนาระบบเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการออกแบบจะครอบคลุมถึง การออกแบบ
กระบวนการทางานของระบบ ส่วนสาคัญของเครื่องมือที่ใช้ คือ แผนภาพบริบท แผนภาพกระแส
ข้อมูลและผังโครงสร้างระบบ เพื่อวิเคราะห์สิ่งที่นาเข้า และสิ่งที่นาออกจากระบบ และขั้นตอนการ
ทางานของระบบ ในส่วนของการออกแบบฐานข้อมูล ส่วนมากจะอาศัยเครื่องมือ คือ แผนภาพ
ความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทีตี และตารางข้อมูล
3.1.1 แผนภาพบริบท (Context Diagram)
 
 

 

 
รูปที่ 3.1 แผนภาพบริบท (Context Diagram)
12
3.2 แผนภาพกระแสข้อมูลระบบ (Dataflow Diagram)
แผนภาพกระแสข้อมูลของเว็บไซต์ระบบสารสนเทศภูมิสาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วย
น้าดัง เป็นการแสดงการดาเนินงานของระบบโดยละเอียดเพื่อ ให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจขั้นตอนการ
ทางานต่างๆ โดยกระบวนการทางานของระบบนั้นมี ดังนี้
3.2.1 กระบวนการที่ 1.0 การจัดการข้อมูลบุคลากรเจ้าหน้าที่
3.3.2 กระบวนการที่ 2.0 การบริหารจัดการเกี่ยวกับข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
3.2.3 กระบวนการที่ 3.0 ข้อมูลการเกิดไฟป่า
3.2.4 กระบวนการที่ 4.0 การบริการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์
3.2.5 กระบวนการที่ 5.0 แสดงแผนที่
3.2.6 กระบวนการที่ 6.0 ประเมินความเสี่ยงและแสดงผล
 

1.0

 

ID,PASSWORD
ID,PASSWORD
ID,PASSWORD
รูปที่ 3.2 แสดงการจัดการข้อมูลบุคลากรเจ้าหน้าที่ (Dataflow Diagram) level 0
 
  

2.0

 

 

รูปที่ 3.3 แสดงการจัดการเกี่ยวกับผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ (Dataflow Diagram) level 0
 
 

3.0
 
 , ,
 
  
  
 , ,
รูปที่ 3.4 แสดงการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลเกิดไฟป่า (Dataflow Diagram) level 0
13
รูปที่ 3.5 แสดงการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 0
รูปที่ 3.6 แสดงการเรียกดู (Dataflow Diagram) level 0
6.0

 
Display

รูปที่ 3.7 แสดงการประเมินความเสี่ยง (Dataflow Diagram) level 0
ID,PASSWORD
1.1
ID,PASSWORD

รูปที่ 3.8 แสดงการล็อกอินของเจ้าหน้าที่ (Dataflow Diagram) level 1
14
    

  
 
2.1

รูปที่ 3.9 แสดงการสมัครเข้าร่วมโครงการ (Dataflow Diagram) level 1
  
 

 
2.2
 
 
รูปที่ 3.10 แสดงการปรับปรุงข้อมูลผู้สมัคร (Dataflow Diagram) level 1

  3.1


 
รูปที่ 3.11 แสดงการเรียกดูข้อมูลผู้ใช้ (Dataflow Diagram) level 1
 
 , ,

3.2

 , ,
รูปที่ 3.12 แสดงการปรับปรุงข้อมูลข่าว (Dataflow Diagram) level 1
    
 3.3  
รูปที่ 3.13 แสดงการออกรายงาน (Dataflow Diagram) level 1
15
  
4.1
 
รูปที่ 3.14 แสดงการเรียกดูข่าวประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 1
  
 , ,

4.2  , ,
รูปที่ 3.15 แสดงการปรับปรุงข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 1
6.1

 

รูปที่ 3.16 แสดงการคิดประเมินพื้นที่เสี่ยง (Dataflow Diagram) level 1
6.2



รูปที่ 3.17 แสดงการเรียกดูแผนที่เสี่ยง (Dataflow Diagram) level 1
16
3.3 Use Case Diagram
USER
view 
viewInformation
view
view 
Displaymap
Insert
Update
Delete
Authentication
«uses»
«uses»
«uses»
   
Admin
Id,Password
รูปที่ 3.18 Use Case Diagram
17
3.4 แผนภาพความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Model)
CAUSE
PK CAUSE_ID
CAUSE_NAME
AREA_DESTROY_TYPE
PK AREA_ID
AREA_NAME
AREA_SIZE
FIRE
PK F_ID
FK2 CHANGWAT_ID
FK3 TAMBOL_ID
FK4 CAUSE_ID
FK1 AMPHOE_ID
COORINATE
NO
FIRE_DATE
FIRE_TIME
FK5 AREA_ID
MOO
ALERT_BY
START_JOB
START_AREA_DESTROY
END_JOB
END_AREA_DESTROY
REPORTER
HYDROY
PK H_ID
H_NAME
H_TYPE
ROAD
PK R_ID
R_NAME
R_NO
R_TYPE
USER
PK USER_ID
FK1 TYPE_ID
LOGIN
PASSWORD
FNAME
LNAME
EMAIL
ADDRESS
PHONE
MOBILE
USERTYPE
PK TYPE_ID
TYPE_NAME
DAM
PK DAM_ID
DAM_NAME
PROJECT
PK PRO_ID
DATE
PRO_NAME
PRO_DETAIL
PARTICIPATE
PK P_ID
DATE
FNAME
LNAME
ADDRESS
TELEPHONE
PASSPORT
CAREER
SEX
FK1 PRO_ID
BIRTHDAY
AMPHOE
PK AMPHOE_ID
AMPHOE_NAME
TAMBOL
PK TAMBOL_ID
TAMBOL_NAME
CHANGWAT
PK CHANGWAT_ID
CHANGWAT_NAME
NEWS
PK NID
SHORTNAME
SHORTDETAILS
NEWSNAME
DETAILS
IMG1
IMG2
IMG3
IMG4
IMG5
POSTDATE
WORK
PK WID
SHORTNAME
SHORTDETAILS
WORKNAME
DETAILS
IMG1
IMG2
IMG3
IMG4
IMG5
POSTDATE
ROUTE
PK RO_ID
RO_NAME
FIRE_BREAK
PK FB_ID
FB_NAME
VEGETATION
PK VE_ID
VE_NAME
VE_TYPE
SQKM
PK GID
RISK
รูปที่ 3.19 E-R Diagram
18
3.5 ตารางข้อมูล
การออกแบบตารางข้อมูล (File) ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลระบบที่ใช้ในการประมวลผล
ข้อมูลและรายละเอียดของแฟ้มข้อมูล ได้แก่ ชนิดของแฟ้ มข้อมูล, ชนิดของขอบเขตของข้อมูล และ
ขนาด ของข้อมูล การออกแบบแฟ้มข้อมูลจะรวมถึงการ Normalization เพื่อลดความซ้าซ้อนของ
ข้อมูลที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในส่วนของกระบวนการออกแบบข้อมูลจะอธิบายโดยการใช้ Data Table
โดยระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง มี Data Table ทั้งหมดดังนี้
ตารางที่ 3.1 รายการตารางข้อมูล
Table
Name Note
CAUSE สาเหตุเพลิงไหม้
AREA_DESTROY_TYPE ชนิดพื้นที่ที่ถูกทาลาย
FIRE จุดที่เกิดไฟป่า
FIRE_BREAK แนวกันไฟ
HYDROL เส้นทางน้า
ROAD ถนน
ROUTE เส้นทางลาดตระเวร
USER ผู้ใช้งาน(เจ้าหน้าที่สถานี)
USERTYPE ชนิดผู้ใช้งาน
VEGETAION พืชพรรณ
DAM ฝาย
AMPHOE อาเภอ
TAMBOL ตาบล
CHANGWAT จังหวัด
NEWS ข่าวประชาสัมพันธ์
WORK ข้อมูลเกี่ยวกับผลงานสถานี
PARTICIPATE ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
PROJECT โครงการ
SQKM ความเสี่ยง
19
ชื่อตาราง สาเหตุเพลิงไหม้(CAUSE)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ สาเหตุเพลิงไหม้
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง จุดที่เกิดเหตุไฟป่า
ตารางที่ 3.2 ตารางข้อมูล สาเหตุเพลิงไหม้
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
CAUSE_ID
CAUSE_NAME
รหัสสาเหตุ
ชื่อสาเหตุ
8
50
CHAR
CHAR
-
-
PK
ชื่อตาราง ชนิดพื้นที่ที่ถูกทาลาย(AREA_DESTROY_TYPE)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ ชนิดพื้นที่ที่ถูกทาลาย
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง จุดที่เกิดไฟป่า
ตารางที่ 3.3 ตารางข้อมูล ชนิดพื้นที่ที่ถูกทาลาย
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่าเบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
AREA_ID
AREA_NAME
AREA_SIZE
รหัสพื้นที่ถูก
ทาลาย
ชนิดของพื้นที่
พื้นที่เสียหาย
8
50
-
CHAR
CHAR
INTEGER
-
-
-
PK
20
ชื่อตาราง จุดที่เกิดเหตุไฟป่า (FIRE)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ จุดที่เกิดเกิดไฟป่า
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.4 ตารางข้อมูล จุดที่เกิดเกิดไฟป่า
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
F_ID
CHANGWAT
_ID
TAMBOL_ID
CAUSE_ID
AMPHOE_ID
COORDINATE
NO
FIRE_DATE
FIRE_TIME
AREA_ID
MOO
ALERT_BY
START_JOB
START_AREA_
DESTROY
END_JOB
END_AREA_
DESTROY
REPORTER
รหัสจุดเกิดไฟ
ป่า
รหัสจังหวัด
รหัสตาบล
รหัสสาเหตุ
รหัสอาเภอ
ค่าพิกัด
หมายเลข
วันที่เกิดไฟ
ไหม้
เวลาที่เกิดไฟ
ไหม้
พื้นที่
หมู่
พบโดย
เริ่มดับเวลา
พื้นที่ก่อนดับ
(ไร่)
ดับเสร็จเวลา
พื้นที่เสียหาย
(ไร่)
REPORTER
8
8
8
8
8
25
5
8
4
8
4
50
4
8
4
8
50
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
INTEGER
DATE
CHAR
VARCHAR
CHAR
VARCHAR
CHAR
INTEGER
CHAR
INTEGER
VARCHAR
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
PK
FK
FK
FK
FK
FK
21
ชื่อตาราง เส้นทางน้า(HYDROL)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ เส้นทางน้า
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.5 ตารางข้อมูล เส้นทางน้า
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
H_ID
H_NAME
H_TYPE
เส้นทางน้า
ชื่อเส้นทางน้า
ชนิด
8
50
20
CHAR
CHAR
CHAR
-
-
-
PK
ชื่อตาราง ถนน (ROAD)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ ถนน
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.6 ตารางข้อมูล ถนน
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่าเบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
4.
R_ID
R_NAME
R_NO
R_TYPE
รหัสถนน
ชื่อถนน
หมายเลข
ชนิด
8
50
5
20
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
-
-
-
-
PK
22
ชื่อตาราง ผู้ใช้งาน (USER)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ ผู้ใช้งาน
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ชนิดผู้ใช้งาน
ตารางที่ 3.7 ตารางข้อมูล ผู้ใช้งาน
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
USER_ID
TYPE_ID
LOGIN
PASSWORD
FNAME
LNAME
EMAIL
ADDRESS
PHONE
MOBILE
รหัสผู้ใช้
ชนิดผู้ใช้
ล็อกอิน
รหัสผ่าน
ชื่อ
นามสกุล
อีเมล์
ที่อยู่
เบอร์โทร
เบอร์มือถือ
8
8
10
10
50
50
25
100
10
10
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
VARCHAR
CHAR
CHAR
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
PK
FK
ชื่อตาราง ฝาย (DAM)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ฝาย
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง:
ตารางที่ 3.8 ตารางข้อมูล ฝาย
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
DAM_ID
DAM_NAME
ไอดีฝาย
ชื่อฝาย
8
50
CHAR
CHAR
-
-
PK
23
ชื่อตาราง ชนิดผู้ใช้งาน (USERTYPE)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ชนิดผู้ใช้งาน
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ผู้ใช้งาน
ตารางที่ 3.9 ตารางข้อมูล ชนิดผู้ใช้งาน
ที่
(Sequen
ce No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
TYPE_ID
TYPE_NAME
รหัสผู้ใช้งาน
ชื่อรหัสชนิด
ผู้ใช้งาน
8
10
CHAR
CHAR
-
-
PK
ชื่อตาราง โครงการ (PROJECT)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ โครงการ
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
ตารางที่ 3.10 ตารางข้อมูล โครงการ
ที่
(Sequen
ce No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
4.
PRO_ID
PRO_NAME
PRO_DETAIL
DATE
รหัสโครงการ
ชื่อโครงการ
รายละเอียด
โครงงาน
วันที่
8
50
250
-
CHAR
CHAR
VARCHAR
DATE
-
-
-
-
PK
24
ชื่อตาราง ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ (PARTICIPATE)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง โครงการ
ตารางที่ 3.11 ตารางข้อมูล ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7
8.
9.
10.
11.
P_ID
FNAME
LNAME
ADDRESS
TELPHONE
PASSPORT
CAREER
SEX
DATE
BIRTHDAY
PRO_ID
รหัสผู้ใช้
ชื่อ
นามสกุล
ที่อยู่
เบอร์โทร
รหัสบัตร
ประชาชน
อาชีพ
เพศ
วันที่
วันเดือนปีเกิด
รหัสโครงการ
8
50
50
100
10
13
50
1
-
-
8
CHAR
CHAR
CHAR
VARCHAR
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
DATE
DATE
CHAR
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
PK
FK
ชื่อตาราง อาเภอ (AMPHOE)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ อาเภอ
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.12 ตารางข้อมูล อาเภอ
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
AM_ID
AM_NAME
รหัสตาบล
ชื่อตาบล
8
50
CHAR
CHAR
-
-
PK
25
ชื่อตาราง ตาบล (TAMBOL)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ตาบล
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.13 ตารางข้อมูล ตาบล
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
TAMBOL_ID
TAMBOL_
NAME
รหัสตาบล
ชื่อตาบล
8
50
CHAR
CHAR
-
-
PK
ชื่อตาราง จังหวัด (CHANGWAT)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ จังหวัด
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.14 ตารางข้อมูล จังหวัด
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูกต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
CHANGWAT_
ID
CHANGWAT_
NAME
รหัสจังหวัด
ชื่อจังหวัด
8
50
CHAR
CHAR
-
-
PK
26
ชื่อตาราง เส้นทางลาดตระเวร (ROUTE)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ เส้นทางลาดตระเวร
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.15 ตารางข้อมูล เส้นทางลาดตระเวร
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
RO_ID
RO_NAME
รหัสเส้นทาง
ลาดตระเวน
ชื่อเส้นทาง
ลาดตระเวน
8
50
CHAR
CHAR
-
-
PK
ชื่อตาราง ข่าวประชาสัมพันธ์ (NEWS)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ข่าวประชาสัมพันธ์
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.16 ตารางข้อมูล ข่าวประชาสัมพันธ์
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
NID
SHORTNAME
SHORTDETAILS
NEWSNAME
DETAIL
IMG1
IMG2
รหัสข่าว
ชื่อข่าวแบบ
ย่อ
ข่าวแบบย่อ
ชื่อข่าว
รายละเอียด
รูปข่าว1
รูปข่าว2
8
200
-
200
-
50
50
NUMBER
VARCHAR
TEXT
VARCHAR
TEXT
CHAR
CHAR
-
-
-
-
-
-
-
-
PK
27
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
8.
9.
10.
11.
IMG3
IMG4
IMG5
POSTDATE
รูปข่าว3
รูปข่าว4
รูปข่าว5
วันที่
50
50
50
-
CHAR
CHAR
CHAR
DATE
-
-
-
-
ชื่อตาราง ข้อมูลเกี่ยวกับผลงานสถานี (WORK)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ข้อมูลเกี่ยวกับสถานี
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.17 ตารางข้อมูล ข้อมูลเกี่ยวกับสถานี
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
WID
SHORTNAME
SHORTDETAILS
WORKNAME
DETAILS
IMG1
IMG2
IMG3
IMG4
IMG5
POSTDATE
รหัสข้อมูล
สถานี
ชื่ออย่างสั้น
ข้อมูลย่อ
ชื่อ
รายละเอียด
รูปภาพ1
รูปภาพ2
รูปภาพ3
รูปภาพ4
รูปภาพ5
วันที่
8
200
-
200
-
50
50
50
50
50
-
NUMBER
VARCHAR
TEXT
VARCHAR
TEXT
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
CHAR
DATE
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
PK
28
ชื่อตาราง แนวกันไฟ (FIRE_BREAK)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ แนวกันไฟ
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.18 ตารางข้อมูล แนวกันไฟ
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
FB_ID
FB_NAME
รหัสแนวกันไฟ
ชื่อแนวกันไฟ
8
50
CHAR
CHAR
-
-
PK
ชื่อตาราง พืชพรรณ (VEGETAION)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ พืชพรรณ
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.19 ตารางข้อมูล พืชพรรณ
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
VE_ID
VE_TYPE
รหัสพืชพันธ์
ชนิดลักษณะ
พืชพันธ์
8
50
CHAR
CHAR
-
-
PK
29
ชื่อตาราง ความเสี่ยง (SQKM)
วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลสถานีเกี่ยวกับผลการประเมินความเสี่ยง
แฟ้มที่เกี่ยวข้อง
ตารางที่ 3.20 ตารางข้อมูล ความเสี่ยง
ที่
(Sequence
No)
คุณสมบัติ
(Attribute)
คาอธิบาย
(Description)
ขนาด
(Width)
ประเภท
(Type)
ค่า
เบื้องต้น
(Default)
ตรวจสอบ
ความถูก
ต้อง
(Validation
Check)
คีย์
(Key)
1.
2.
RID
RISK
รหัสพื้นที่
ผลประเมินความ
เสี่ยง
-
8
-
CHAR
-
-
PK
30
3.6 แผนผังการดาเนินงาน (Flowchart)
3.6.1 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของภาพรวมของเว็บไซต์


/admin
   

N
N
MAP,
,  ,
Y
Y
Login, logout,   , 
 , 
 
 ,  ,

Y
N
รูปที่ 3.20 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของภาพรวมของเว็บไซต์
31
3.6.2 แผนผังการดาเนินงานส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป




 
 



 
  


N
N
N
N
N
N
N
Y
Y
Y
Y
Y
Y
Y
รูปที่ 3.21 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป
32
3.6.3 แผนผังการดาเนินงานส่วนเจ้าหน้าที่และผู้ดูแลระบบ

Username, Password

Username,Password
admin

Password id
Y
Y
N
,
,  
Y

N
N
รูปที่ 3.22 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของเจ้าหน้าที่และผู้ดูแลระบบ
33
3.6.4 แผนผังการดาเนินงานส่วนของการสมัครเข้าร่วมโครงการอบรม

   


  

Y
Y
N
N
รูปที่ 3.23 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของการสมัครเข้าร่วมโครงการอบรม
34
3.7 การออกแบบการเชื่อมประสานงานกับผู้ใช้ (User interface)
เป็นรูปแบบของหน้าเว็บไซต์ทั้งหมด โดยแสดงเป็นรูปต่างๆ ต่อไปนี้
3.7.1 หน้าหลักแสดงหน้าแรกของเว็บไซต์ โดยมีลิงค์เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ จะมีภาพ
แผนที่แสดงจุดเกิดไฟไหม้และข่าวประชาสัมพันธ์บอกกล่าวเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับเว็บไซต์
รูปที่ 3.24 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์
3.7.2 หน้าประวัติความเป็นมาของสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง จะบอกเล่าเรื่องความ
เป็นมาของห้วยน้าดังว่ามีประวัติความเป็นมาเช่นไร
รูปที่ 3.25 แสดงหน้าประวัติ
35
3.7.3 หน้าสภาพแวดล้อมพื้นที่ จะบอกถึงที่ตั้งของสถานีไฟป่าห้วยน้าดัง อาณาเขต และ
ลักษณะภูมิประเทศ
รูปที่ 3.26 แสดงหน้าสภาพแวดล้อมพื้นที่
3.7.4 หน้า Login สาหรับเจ้าหน้าที่ ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลจะต้องมีการกรอก
User และ Password ในการใช้งานทุกครั้ง
รูปที่ 3.27 แสดงหน้า Login สาหรับเจ้าหน้าที่
36
3.7.5 หน้าหลังจากเจ้าหน้าที่ทาการ Login เข้ามาเพื่อทาการแก้ข้อมูลต่างๆ
รูปที่ 3.28 แสดงหน้าหลังจากเจ้าหน้าที่ Login เข้ามา
3.7.6 หน้าการจัดการข้อมูลการเกิดไฟป่า เจ้าหน้าที่ที่Login เข้ามาจะทาการกรอกข้อมูล
การเกิดไฟป่า การแก้ไขข้อมูล และการลบข้อมูล
รูปที่ 3.29 แสดงหน้าการจัดการข้อมูลการเกิดไฟป่า
37
3.7.7 หน้ากรอกข้อมูลการเกิดไฟป่า เจ้าหน้าที่จะทาการกรอกข้อมูลการเกิดไฟป่าที่เกิด
ในแต่ละครั้งลงในแบบ ฟป.1 ดังรูปที่ 3.30
รูปที่ 3.30 แสดงหน้ากรอกข้อมูลการเกิดไฟป่า
3.7.8 หน้าจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ จะมีการกรอกข้อมูลและเพิ่มข้อมูล แก้ไขและลบ
ได้เพื่อเป็นข่าวประชาสัมพันธ์ให้ผู้เข้าชมรับชม
รูปที่ 3.31 แสดงหน้าจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์
38
3.7.9 หน้ากรอกข้อมูลประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่จะทาการกรอกข้อมูลโดยคลิกตรงดิน
สอก็จะสามารถเพิ่มทั้งหัวข้อข่าว รายละเอียดข่าวและรูปภาพตามที่ต้องการตามแบบฟอร์ม ดังรูปที่
3.32
รูปที่ 3.32 แสดงหน้าการกรอกข้อมูลประชาสัมพันธ์
3.7.10 หน้าแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์ หากเจ้าหน้าที่ต้องการแก้ไขข้อมูลข่าวประชาสัม
พันธ์สามารถคลิกตรงเครื่องหมายรูปค้อนและเข้ามาแก้ไขข้อมูลที่หน้าแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์
ดังรูปที่ 3.33
รูปที่ 3.33 แสดงหน้าการแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)
Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)

More Related Content

Similar to Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)

หลักสูตร มหาวิทยาลัยพะเยา
หลักสูตร มหาวิทยาลัยพะเยา หลักสูตร มหาวิทยาลัยพะเยา
หลักสูตร มหาวิทยาลัยพะเยา
Nantawat Muangchang
 
งานนำเสนอการสอนจิราภรณ์
งานนำเสนอการสอนจิราภรณ์งานนำเสนอการสอนจิราภรณ์
งานนำเสนอการสอนจิราภรณ์Jiraporn
 
Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1m3c11n01
 
Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student system
Apple Preeya
 
Solar water filtration
Solar water filtration Solar water filtration
Solar water filtration
Chanakan Pattamasuwan
 
โครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำโครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำ
ศจิษฐา ทองถม
 
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)krooprakarn
 
pptx_theme_mcuview54001
pptx_theme_mcuview54001pptx_theme_mcuview54001
pptx_theme_mcuview54001
Kasem S. Mcu
 
Ppttheme mcuview54001
Ppttheme mcuview54001Ppttheme mcuview54001
Ppttheme mcuview54001
Kasem S. Mcu
 

Similar to Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu) (10)

หลักสูตร มหาวิทยาลัยพะเยา
หลักสูตร มหาวิทยาลัยพะเยา หลักสูตร มหาวิทยาลัยพะเยา
หลักสูตร มหาวิทยาลัยพะเยา
 
งานนำเสนอการสอนจิราภรณ์
งานนำเสนอการสอนจิราภรณ์งานนำเสนอการสอนจิราภรณ์
งานนำเสนอการสอนจิราภรณ์
 
Pitima
PitimaPitima
Pitima
 
Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1Presentphysiccyberlab1
Presentphysiccyberlab1
 
Ativities student system
Ativities student systemAtivities student system
Ativities student system
 
Solar water filtration
Solar water filtration Solar water filtration
Solar water filtration
 
โครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำโครงงานระบบกรองน้ำ
โครงงานระบบกรองน้ำ
 
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
แบบเสนอรายละเอ ยดโครงการ(เกษตรกรรม)
 
pptx_theme_mcuview54001
pptx_theme_mcuview54001pptx_theme_mcuview54001
pptx_theme_mcuview54001
 
Ppttheme mcuview54001
Ppttheme mcuview54001Ppttheme mcuview54001
Ppttheme mcuview54001
 

Gis for forest fire control system, information technology, sripatum university (spu)

  • 1. ช ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง GIS For Huaynamdung Forest Fire Control Station โดย นางสาว อารีญา บุษบง รหัส 50025293 นางสาว สรินธร สุทธิยุทธ์ รหัส 50064770 โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาภาควิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม พ.ศ. 2554
  • 2. ก มหาวิทยาลัยศรีปทุม คณะสารสนเทศศาสตร์ โครงงาน ของ 1. นางสาวอารีญา บุษบง รหัสนักศึกษา 50025293 2. นางสาวสรินธร สุทธิยุทธ์ รหัสนักศึกษา 50064770 เรื่อง ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่า (GIS For Huaynamdung Forest Fire Control Station) ได้รับการตรวจสอบและอนุมัติให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เมื่อ วันที่ 25 เดือน กันยายน พ.ศ. 2554 ประธานกรรมการ กรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษา กรรมการ กรรมการและเลขานุการ
  • 3. ข บทคัดย่อ ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง (GIS For Huaynamdund Forest Fire Control Station, จานวน 80 หน้า) โดย 1. นางสาวอารีญา บุษบง รหัสนักศึกษา 50025293 2. นางสาวสรินธร สุทธิยุทธ์ รหัสนักศึกษา 50064770 อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์สุรศักดิ์ มังสิงห์ วัตถุประสงค์ของการทาโครงงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้า ดัง (GIS For Huaynamdund Forest Fire Control Station) จัดทาแผนที่และแสดงจุดกาเนิดไฟป่าที่ อยู่ในความดูแลของสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง แสดงพิกัดไฟป่า แสดงพิกัดของบริเวณที่เสี่ยงต่อ การเกิดไฟป่าร่วมกับระบบ GIS และจัดองค์ความรู้เกี่ยวกับไฟป่า อุปกรณ์ต่างๆ ที่จาเป็นต่อการทางาน เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเอเอสพี ASP (Active Server Page) โปรแกรม อาร์คจีไอเอส (ArcGIS) โปรแกรม GeoServer ภาษา HTML โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS4 โปรแกรม Adobe Photoshop CS4 ผลการทางานของโครงงานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง สามารถแสดงจังหวัด อาเภอหมู่บ้าน ขอบเขตที่คลอบคุมถึง ขอบเขตพื้นที่ ที่อยู่ในความดูแลของ หน่วยงาน แสดงพิกัดเกิดไฟป่า การจัดเก็บข้อมูลการเกิดไฟป่าในความรับผิดชอบของสถานีไฟป่า ห้วยน้าดังสามารถนาไปพัฒนาต่อยอดได้
  • 4. ค กิตติกรรมประกาศ ผู้จัดทาโครงงาน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง จะเกิดขึ้น ไม่ได้ถ้าหากขาดการสนับสนุนจาก บุคคลหลายท่านด้วยกัน จึงใคร่ขอขอบคุณท่านต่างๆ ดังนี้ ขอขอบพระคุณอาจารย์ทุกท่านที่มีส่วนให้โครงงานนี้ผ่านมาถึงวันนี้ รวมถึงความรู้ ในทางวิชาการและประสบการณ์ชีวิตในด้านต่างๆ ขอขอบพระคุณอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน อาจารย์สุรศักดิ์ มังสิงห์ ที่กรุณาให้คาแนะนา และให้คาปรึกษาเป็นอย่างดี ตลอดจนแนวทางการแก้ไขโครงงาน ซึ่งเป็นประโยชน์มากในการทา โครงงานนี้ ทาให้ผู้จัดทาสามารถพัฒนาโครงงานจนสาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ขอกราบขอบพระคุณบิดามารดา ครอบครัว รวมถึงญาติๆ ของผู้จัดทาโครงงานที่ให้ คาแนะนารวมถึงกาลังใจ และการสนับสนุนด้านการเงิน, การศึกษา, การอบรม และดูแลเอาใจใส่ อย่างดีมาโดยตลอด ขอขอบคุณเพื่อนๆ พี่ๆ ที่ให้กาลังใจ และให้ความช่วยเหลือเกี่ยวกับการจัดทาโครงงาน สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณทางคณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ตลอดจนอาจารย์ทุกท่านที่มี ส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ ที่นี้ด้วย คุณค่าและประโยชน์อันพึงมี จากการจัดทาโครงงานนี้ ผู้จัดทาขอมอบให้แด่ผู้มีพระคุณ ทุกท่าน คณะผู้จัดทา กันยายน 2554
  • 5. ง คานา การจัดทาโครงงาน “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง” นี้เป็น ส่วนหนึ่งของวิชา ICT 492 โครงงานคอมพิวเตอร์ (Computer Project Preparation) ของหลักสูตร วิทยาศาสตร์บัณฑิต เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร คณะสารสนเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรี ปทุม สาหรับนักศึกษาปีสุดท้าย เพื่อให้นักศึกษาได้นาความรู้ที่เรียนมาทั้งหมดมาประยุกต์ใช้ในการ พัฒนาระบบเป็นการทดสอบความรู้ความสามารถและการเพิ่มประสบการณ์ก่อนสาเร็จการศึกษา จากสถาบัน โครงงาน “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง” คณะผู้จัดทาจัดทา ศึกษาระบบการจัดเก็บข้อมูลไฟป่าห้วยน้าดัง จัดเก็บข้อมูลการเกิดไฟป่าในความรับผิดชอบของ สถานีไฟป่าห้วยน้าดัง ได้มีการจัดทารายงานและสถิติการเกิดไฟป่าและการดาเนินการดับไฟป่า และจัดทาองค์ความรู้เกี่ยวกับการไฟป่าปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์แสดงพิกัด ของบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าร่วมกับระบบ GIS คณะผู้จัดทาคาดหวังว่าโครงงาน “ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วย น้าดัง” นี้คงจะเป็นประโยชน์ต่อผู้สนใจ และสามารถนาไปพัฒนาต่อยอดได้เพราะได้ทาระบบ รองรับไว้หมดแล้ว คณะผู้จัดทา กันยายน 2554
  • 6. จ สารบัญ หน้า หน้าอนุมัติ........................................................................................................................................ก บทคัดย่อ...........................................................................................................................................ข กิตติกรรมประกาศ............................................................................................................................ค คานา..................................................................................................................................................ง สารบัญ..............................................................................................................................................จ สารบัญรูป ........................................................................................................................................ช สารบัญตาราง ...................................................................................................................................ญ บทที่ 1 บทนา ..................................................................................................................................... 1.1 ภูมิหลังและความเป็นมา .................................................................................................1 1.2 วัตถุประสงค์ ...................................................................................................................2 1.3 ขอบเขตการศึกษา............................................................................................................2 1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ.........................................................................................................3 1.5 แผนการดาเนินงาน 1.6 ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ที่คาดว่าจะใช้.............................................................................4 บทที่ 2 ทฤษฏีและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง ............................................................................................ 2.1 ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง.............................................................................................................5 บทที่ 3 การออกแบบระบบ 3.1 แผนภาพบริบท (Context Diagram)................................................................................11 3.2 แผนภาพกระแสข้อมูลระบบ (Data Flow)......................................................................12 3.3 การออกแบบการเชื่อมประสานกับผู้ใช้ (Use case Diagram).........................................16 3.3 แผนภาพความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Model).............................................................17 3.5 ตารางข้อมูล....................................................................................................................18
  • 7. ฉ สารบัญ (ต่อ) หน้า 3.5 แผนผังการดาเนินงาน (Flowchart).................................................................................30 3.7 การออกแบบการเชื่อมต่อประสานงานกับผู้ใช้ (User Interface)....................................34 บทที่ 4 การพัฒนาระบบ...................................................................................................................... 4.1 ซอฟต์แวร์ที่ใช้......................................................................................................................... 47 4.2 ฮาร์ดแวร์ที่ใช้.................................................................................................................48 4.3 สรุปการทางานทั้งหมดของระบบ.................................................................................48 บทที่ 5 สรุปโครงงาน.......................................................................................................................... 5.1 สรุปผลการดาเนินงาน...................................................................................................52 5.2 ปัญหาที่เกิดขึ้น ..............................................................................................................52 5.3 แนวทางการแก้ไข..........................................................................................................53 5.4 แนวทางการพัฒนา........................................................................................................53 บทที่ 6 คู่มือการใช้งาน........................................................................................................................ 6.1 โปรแกรมที่ต้องใช้ในระบบ ..........................................................................................55 6.2 วิธีการใช้งาน.................................................................................................................55 บรรณานุกรม...................................................................................................................................69 ภาคผนวก........................................................................................................................................71 ประวัติผู้จัดทาโครงงาน...............................................................................................................7780
  • 8. ช สารบัญรูป รูปที่ หน้า รูปที่ 3.1 แผนภาพบริบท ................................................................................................................11 รูปที่ 3.2 แสดงการจัดการข้อมูลบุคลากรเจ้าหน้าที่ (Dataflow Diagram) level 0 12 รูปที่ 3.3 แสดงการจัดการเกี่ยวกับผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ (Dataflow Diagram) level 0. 12 รูปที่ 3.4 แสดงการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลเกิดไฟป่า (Dataflow Diagram) level 0............................ 12 รูปที่ 3.5 แสดงการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 0................... 13 รูปที่ 3.6 แสดงการเรียกดู (Dataflow Diagram) level 0.................................................................. 13 รูปที่ 3.7 แสดงการประเมินความเสี่ยง (Dataflow Diagram) level 0 .............................................. 13 รูปที่ 3.8 แสดงการล็อกอินของเจ้าหน้าที่ (Dataflow Diagram) level 1...........................................13 รูปที่ 3.9 แสดงการสมัครเข้าร่วมโครงการ (Dataflow Diagram) level 1 14 รูปที่ 3.10 แสดงการปรับปรุงข้อมูลผู้สมัคร (Dataflow Diagram) level 1.......................................14 รูปที่ 3.11 แสดงการเรียกดูข้อมูลผู้ใช้ (Dataflow Diagram) level 1.................................................14 รูปที่ 3.12 แสดงการปรับปรุงข้อมูลข่าว (Dataflow Diagram) level 1.............................................14 รูปที่ 3.13 แสดงการออกรายงาน (Dataflow Diagram) level 1 ................................................... 14 รูปที่ 3.14 แสดงการเรียกดูข่าวประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 1...................................15 รูปที่ 3.15 แสดงการปรับปรุงข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 1.....................15 รูปที่ 3.16 แสดงการคิดประเมินพื้นที่เสี่ยง (Dataflow Diagram) level 1.........................................15 รูปที่ 3.17 แสดงการเรียกดูแผนที่เสี่ยง (Dataflow Diagram) level 1 15 รูปที่ 3.18 Use Case Diagram 16 รูปที่ 3.19 E-R Diagram 17 รูปที่ 3.20 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของภาพรวมของเว็บไซต์ 30 รูปที่ 3.21 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป 31 รูปที่ 3.22 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของเจ้าหน้าที่และผู้ดูแลระบบ 32 รูปที่ 3.23 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของการสมัครเข้าร่วมโครงการอบรม 33 รูปที่ 3.24 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์ 34
  • 9. ซ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า รูปที่ 3.25 แสดงหน้าประวัติ 34 รูปที่ 3.26 แสดงหน้าสภาพแวดล้อมพื้นที่ 35 รูปที่ 3.27 แสดงหน้า Login สาหรับเจ้าหน้าที่ 35 รูปที่ 3.28 แสดงหน้าหลังจากเจ้าหน้าที่ Login เข้ามา 36 รูปที่ 3.29 แสดงหน้าการจัดการข้อมูลการเกิดไฟป่า 36 รูปที่ 3.30 แสดงหน้ากรอกข้อมูลการเกิดไฟป่า 37 รูปที่ 3.31 แสดงหน้าจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ 37 รูปที่ 3.32 แสดงหน้าการกรอกข้อมูลประชาสัมพันธ์ 38 รูปที่ 3.33 แสดงหน้าการแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์ 38 รูปที่ 3.34 แสดงหน้าข่าวประชาสัมพันธ์ 39 รูปที่ 3.35 หน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 39 รูปที่ 3.36 แสดงหน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 40 รูปที่ 3.37 แสดงหน้าแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 40 รูปที่3.38 แสดงหน้าผลงานประจาปี 41 รูปที่ 3.39 แสดงหน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเปิดอบรม 41 รูปที่ 3.40 แสดงหน้าจัดการเกี่ยวกับโครงการแดอบรม 42 รูปที่ 3.41 แสดงหน้าแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเปิดอบรม 42 รูปที่ 3.42 หน้าจัดการพื้นที่เสี่ยง 43 รูปที่ 3.43 แสดงหน้าจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน 43 รูปที่ 3.44 หน้าจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน 44 รูปที่ 3.45 แสดงหน้าเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง 44 รูปที่ 3.46 แสดงหน้าแบบฟอร์มโครงการ 45 รูปที่3.47 หน้าแสดงสถิติการเกิดไฟป่า 45 รูปที่ 3.48 แสดงหน้าความรู้เกี่ยวกับไฟป่า 46 รูปที่ 6.1 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์ 56 รูปที่ 6.2 แสดงหน้าประวัติ 56 รูปที่ 6.3 แสดงหน้าสภาพแวดล้อมพื้นที่ 57
  • 10. ฌ สารบัญรูป (ต่อ) รูปที่ หน้า รูปที่ 6.4 แสดงหน้า Login สาหรับเจ้าหน้าที่ 57 รูปที่ 6.5 แสดงหน้าหลังจากเจ้าหน้าที่ Login เข้ามา 58 รูปที่ 6.6 แสดงหน้าการจัดการข้อมูลการเกิดไฟป่า 58 รูปที่ 6.7 แสดงหน้ากรอกข้อมูลการเกิดไฟป่า 59 รูปที่ 6.8 แสดงหน้าจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ 59 รูปที่ 6.9 แสดงหน้าการกรอกข้อมูลประชาสัมพันธ์ 60 รูปที่ 6.10 แสดงหน้าการแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์ 60 รูปที่6.11 แสดงหน้าข่าวประชาสัมพันธ์ 61 รูปที่ 6.12 หน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 61 รูปที่ 6.13 แสดงหน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 62 รูปที่6.14 แสดงหน้าแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับผลงาน 62 รูปที่6.15 แสดงหน้าผลงานประจาปี 63 รูปที่ 6.16 แสดงหน้าจัดการข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเปิดอบรม 63 รูปที่ 6.17 แสดงหน้าจัดการเกี่ยวกับโครงการแดอบรม 64 รูปที่ 6.18 แสดงหน้าแก้ไขข้อมูลเกี่ยวกับโครงการเปิดอบรม 64 รูปที่ 6.19 หน้าจัดการพื้นที่เสี่ยง 65 รูปที่ 6.20 แสดงหน้าจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน 65 รูปที่ 6.21 หน้าจัดการข้อมูลผู้ใช้งาน 66 รูปที่ 6.22 แสดงหน้าเว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง 66 รูปที่ 6.23 แสดงหน้าแบบฟอร์มโครงการ 67 รูปที่ 6.24 หน้าแสดงสถิติการเกิดไฟป่า 67 รูปที่ 6.25 แสดงหน้าความรู้เกี่ยวกับไฟป่า 68
  • 11. 1 บทที่ 1 บทนา 1.1 ภูมิหลังและความเป็นมา ในอดีต “ห้วยน้าดัง” เป็นพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ์มาก มีอาณาเขตกว้างขวางซึ่งสภาพ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงชัน และสลับซับซ้อน และยังเป็นป่ าต้นน้าลาธารที่สาคัญของทาง ภาคเหนือมีลาห้วยหลายสาย มีน้าไหลตลอดปี กลางคืนในบริเวณลุ่มน้าจะได้ยินเสียงน้าไหลดังทั่ว พื้นที่ป่ าโดยจะไหลสู่แม่น้าแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ และแม่น้าปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน มี ทรัพยากรธรรมชาติที่สวยงามยิ่ง เป็นแหล่งรวมของสายพันธุ์หลากหลายทางชีวภาพ มีแหล่ง ท่องเที่ยวดึงดูดใจนักท่องเที่ยว ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ที่สาคัญหลากหลายแห่ง เช่น จุดชม วิว และทะเลหมอกดอยกิ่วลม (ห้วยน้าดัง)โป่งเดือด โป่งน้าร้อนท่าปาย น้าตกแม่เย็น และน้าตก แม่ปิง แต่ปัจจุบันได้มีปัจจัยหลายประการด้วยกันที่จะมีแนวโน้ม ทาให้มีการบุกรุกทาลายสภาพป่า และเผาป่าในพื้นที่แห่งนี้เพิ่มขึ้น และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือพื้นที่ต้นน้าลาธาร เช่น การเผาป่า เพื่อขยายพื้นที่ทาการเกษตรอย่างไม่มีระบบ และขาดความรู้ทางวิชาการอย่างแท้จริง การ เผาป่าเพื่อหาของป่าและสัตว์ป่า ทาให้ปริมาณน้าในลาห้วยลดน้อยลง จึงไม่มีปรากฏการณ์ดังกล่าว ให้พบเห็นและได้ยินอีกเลยแต่ธรรมชาติยังคงสภาพความงดงามอยู่ ดังนั้นเมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2535 กรมป่าไม้ได้สั่งการให้ศูนย์ควบคุมไฟป่าภาคเหนือจัดตั้งสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง ขึ้นใน พื้นที่แห่งนี้ ซึ่งต่อมาได้กาหนดให้เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง ตามพระราชบัญญัติอุทยาน แห่งชาติ พุทธศักราช 2504 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 112 ตอนที่ 33 ก ลงวันที่ 14 สิงหาคม 2538 ในท้องที่ตาบลกึ้ดช้าง ตาบลป่าแป๋ อาเภอแม่แตง, ตาบลเปียงหลวง ตาบลเมืองแหง อาเภอเวียงแหง, ตาบลเมืองคอง อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และตาบลเวียงเหนือ ตาบลแม่ฮี้ ตาบลแม่นาเติง อาเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน รวมเนื้อที่ประมาณ 1,247 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 779,375 ไร่ แต่ปัจจุบันได้มีปัจจัยหลายประการด้วยกันที่จะมีแนวโน้ม ทาให้มีการบุกรุกทาลายสภาพ ป่า และเผาป่าในพื้นที่แห่งนี้เพิ่มขึ้น และก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือพื้นที่ต้นน้าลาธาร เช่น การเผาป่า เพื่อขยายพื้นที่ทาการเกษตรอย่างไม่มีระบบ และขาดความรู้ทางวิชาการอย่าง แท้จริง การเผาป่าเพื่อหาของป่าและสัตว์ป่า ทาให้ปริมาณน้าในลาห้วยลดน้อยลง เนื่องจากเมื่อเกิด ไฟป่าเกิดขึ้นและไม่สามารถนาน้าเข้าไปดับไฟป่าได้ เนื่องจากไม่สามารถบอกพิกัดของพื้นที่ ที่เกิด ไฟป่าได้ ทางผู้จัดทาปริญญานิพนธ์มีแนวความคิดในการพัฒนาระบบเพื่อเก็บ คือ ข้อมูลต่าง ๆ ที่ เกี่ยวข้องกับไฟป่าของอุทยานแห่งชาติห้วยน้าดังและสามารถแสดงผลร่วมกับแผนที่เพื่อความ
  • 12. 2 สะดวกและรวดเร็วในการวิเคราะห์ เมื่อนามาใช้ในการ วิเคราะห์แต่ละครั้งนั้นจะต้องทาการคัดลอก ข้อมูล ออกมา ซึ่งอาจทาให้เกิดความผิดพลาดขึ้นมาได้ทั้งตาแหน่ง และสัญลักษณ์อย่างไรก็ตาม เทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ที่ได้พัฒนามากขึ้นนั้นสามารถนามาช่วยในการจัดเก็บข้อมูลให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น โดยจัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือระบบ GIS ซึ่งเป็น เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) ข้อมูลตามลักษณะต่าง ๆ ในพื้นที่ที่ ทาการศึกษาจะถูกนามาจัดให้อยู่ในรูปแบบที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน โดยขึ้นอยู่กับ ชนิดและรายละเอียดของข้อมูลนั้น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดตามต้องการ ดังนั้นการใช้ระบบ สารสนเทศภูมิศาสตร์จึง ช่วยในการศึกษาและการวิเคราะห์ตลอดจนทาให้สามารถประเมินการ ป้ องกันไฟป่าได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น 1.2 วัตถุประสงค์ 1.2.1 เพื่อแสดงผลงานของสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง 1.2.2 เพื่อเป็นแหล่งเผยแพร่ข้อมูลที่มีความรู้เกี่ยวกับไฟป่า 1.2.3 เพื่อเป็นแหล่งเผยแพร่ข่าวประชาสัมพันธ์ของสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง 1.2.4 เพื่อเพิ่มช่องทางในการศึกษาค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลที่มีอยู่เดิม 1.2.5 เพื่อให้ผู้สนใจทราบถึงความสาคัญและประโยชน์การป้ องกันไฟป่า 1.2.6 จัดทาเว็บไซต์ขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งให้สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง 1.3 ขอบเขตการศึกษา 1.3.1 ศึกษาระบบการจัดเก็บข้อมูลไฟป่าห้วยน้าดัง 1.3.2 จัดเก็บข้อมูลการเกิดไฟป่าในความรับผิดชอบของสถานีไฟป่าห้วยน้าดัง 1.3.3 จัดทารายงานและสถิติการเกิดไฟป่าและการดาเนินการดับไฟป่า 1.3.4 จัดองค์ความรู้เกี่ยวกับไฟป่า 1.3.5 ปรับปรุงข้อมูลข่าวสารและการประชาสัมพันธ์ 1.3.6 แสดงพิกัดของบริเวณที่เสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าร่วมกับระบบ GIS 1.3.7 แผนที่และจุดกาเนิดไฟป่าที่อยู่ในความดูแลของสถานีควบคุมไฟป่าและทาการ จัดทารายละเอียดแผนที่ 1.3.7.1 แสดงพิกัดเกิดไฟป่า 1.3.7.2 แสดงจังหวัด อาเภอหมู่บ้าน ขอบเขตที่คลอบคุมถึง ขอบเขตพื้นที่ ที่อยู่ใน ความดูแลของหน่วยงาน 1.3.7.3 สภาพพื้นที่ ป่า บ้านพักที่อยู่อาศัย แม่น้า ลาน้าสาขา
  • 13. 3 1.3.7.4 ถนน เส้นทาง เส้นทางลาดตะเวน 1.3.8 มีส่วนของผู้ดูแลระบบสาหรับการปรับปรุงพื้นฐานข้อมูล 1.4 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.4.1 เว็บไซต์มีโอกาสได้ใช้ในหน่วยงานจริง 1.4.2 การป้ องกันการเกิดไฟป่ามีประสิทธิ์ภาพสูงสุด 1.4.3 เป็นระบบต้นแบบที่สามารถนาไปพัฒนาต่อยอดให้ใช้งานได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ของหน่วยงานที่รับผิดชอบด้านไฟป่า 1.4.4 ผู้ที่สนใจได้รับความรู้และนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง 1.5 แผนการดาเนินงาน ในการดาเนินการของระบบเว็บระบบจัดการความรู้ของ สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง จะต้องมีการศึกษาระบบการทางานเดิมและการนาเทคโนโลยีเข้ามาปรับปรุงระบบการทางาน การ นาเสนอ และการบริการโดยมีขั้นตอนการดาเนินงานมีดังนี้ 1.5.1 ศึกษาทฤษฎีและเทคโนโลยีที่ใช้สาหรับการพัฒนา 1.5.2 เก็บรวบรวมข้อมูลด้านความต้องการของระบบและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารจัดการไฟป่า 1.5.3 วิเคราะห์ข้อมูล 1.5.4 ออกแบบระบบงาน 1.5.5 พัฒนาระบบงาน - ทดสอบ - การเขียนโปรแกรม - ทดสอบย่อย - ทดสอบรวม 1.5.6 ทดสอบติดตั้งระบบงาน 1.5.7 จัดทาเอกสารประกอบ แผนการดาเนินงานสาหรับการพัฒนาระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่า ห้วยน้าดัง และมีระยะเวลาที่ใช้ตามตารางที่ 1.1
  • 14. 4 ตารางที่ 1.1 แผนภาพการดาเนินงาน ( Gantt Chart ) ระยะเวลา ดาเนินงาน กิจกรรม มี.ค.2554 เม.ษ.2554 พ.ค.2554 มิ.ย.2554 ก.ค.2554 ก.ค.2554 ส.ค.2554 ก.ย.2554 1. ศึกษาทฤษฎี 2. รวบรวมข้อมูล 3. วิเคราะห์ข้อมูล 4. ออกแบบโปรแกรม 5. พัฒนาทดสอบ 5.1 การเขียนโปรแกรม 5.2 การทดสอบย่อย 5.3 การทดสอบรวม 6. ทดสอบติดตั้งระบบ 7. จัดทาเอกสาร 1.6 อุปกรณ์และโปรแกรมที่คาดว่าจะได้ใช้ 1.6.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลจานวน 1 เครื่อง 1.6.2 จอภาพ (Monitor) 1.6.3 เมาส์ (Mouse) 1.6.4 USB Drive ใช้จัดเก็บข้อมูล 1.6.5 เครื่องพิมพ์(Printer) 1.6.6 ProgreSQL 1.6.7 Internet information Server (IIS) 1.6.8 JavaScript 1.6.9 Geoserver 1.6.10 ArcGIS
  • 15. 5 บทที่ 2 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1 ภาษา ASP (Active Server Page) เอเอสพี ASP (Active Server Page) เป็นเทคโนโลยีที่ทางานทางฝั่งเซิร์ฟเวอร์ ที่ถูก ออกแบบมาให้ง่ายต่อการพัฒนาแอพพลิเคชั่นผ่าน Web Server สาหรับนักพัฒนาเว็บไซต์การใช้ งาน เอเอสพี สามารถกระทาได้โดยเขียนคาสั่งหรือ Script ต่าง ๆ ในรูปของแท็กไฟล์ธรรมดาทั่ว ๆ ไป แล้วนามาเก็บไว้ที่ เซิร์ฟเวอร์ เมื่อมีการเรียกใช้งานจากบราวเซอร์ ไฟล์เอกสาร เอเอสพี ก็จะถูก แปลโดย Server Interpreter แล้วผลที่ได้ส่งกลับไปเป็นภาษา เอชทีเอ็มแอล ให้บราวเซอร์ที่เรียก ดังกล่าว เนื่องจาก เอเอสพี สามารถรองรับได้หลายภาษา เช่น VBScript, Jscript, Perl และภาษา Scriptอื่นๆ ดังนั้นนักพัฒนาเว็บไซต์จึงไม่มีความจาเป็นต้องมีความรู้หรือต้องศึกษาในทุกภาษา เนื่องจาก เอเอสพี ได้ถูกออกแบบมาให้ขึ้นกับความรู้ของนักพัฒนาเว็บไซต์นั่นเอง การทางานของ โปรแกรม เอเอสพี นั้นจะทางานอยู่ที่ฝั่งเซิร์ฟเวอร์เท่านั้นเราขึงเรียกว่าเป็นการทางานแบบ เซิร์ฟเวอร์ Side ซึ่งจากการทางานทางฝั่ง เซิร์ฟเวอร์ ของ เอเอสพี นั้นทาให้ Web Server ของฝั่ง Client จะทาหน้าที่เพียงรับผลลัพธ์ที่ได้จากการทางานทางฝั่ง เซิร์ฟเวอร์ เท่านั้น 2.2 อาร์คจีไอเอส (ArcGIS) ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) คือ กระบวนการ ทางานเกี่ยวกับข้อมูลในเชิงพื้นที่ (spatial data) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการกาหนดข้อมูลเชิง บรรยาย (attribute data) และสารสนเทศ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ ที่มีความสัมพันธ์กับตาแหน่งในเชิง พื้นที่ เช่น ตาแหน่ง เส้นรุ้ง เส้นแวง ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูล ระบบ GIS ประกอบไปด้วยชุดของเครื่องมือที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวม รักษา และการค้นข้อมูล เพื่อจัดเตรียม ปรับแต่ง วิเคราะห์และการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้ สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะ สามารถนามาวิเคราะห์ด้วย GIS ให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับช่วงเวลาได้ GIS สามารถนาไปประยุกต์ใช้งานได้หลากหลายระดับโครงงาน ซึ่งอาจสามารถเลือก จัดการในระดับ Desktop GIS database สาหรับโครงงานขนาดเล็ก สาหรับโครงงานที่ต้องพัฒนา ข้อมูลเชิงพื้นที่และแบ่งปันทรัพยากร ข้อมูลให้กับทีมงานภายใต้ระบบ LAN (Local Area Network) ก็อาจจาเป็นต้องเลือกจัดการในระดับ GIS Enterprise เพราะผู้ใช้บางคนต้องการเรียกดูข้อมูล สืบค้น
  • 16. 6 ข้อมูลจากฐานข้อมูล ในขณะที่ผู้ใช้คนอื่นกาลังปรับแก้ข้อมูล และข้อมูลนี้ก็ยังคงทาการวิเคราะห์ที่ ซับซ้อนอยู่ หรือบางคนกาลังทาแผนที่และอาจทารายงานอยู่ การเลือกใช้งานซอฟแวร์ตัวใดตัวหนึ่งนั้นขึ้นอยู่ความต้องการขององค์กรนั้น ๆ ที่จะเลือก นาไปใช้งานให้เหมาะสม สาหรับ Arc view ความสามารถเพียงเรียกดูข้อมูลที่ถูกจัดการภายใต้ Arc SDE แต่ Arc Editor กับ Arc Info เท่านั้นที่สามารถปรับแก้ข้อมูลได้ภายใต้ Arc SDE ซึ่งเป็น ซอฟแวร์แบบ Client / Server มีความสามารถจัดการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่เป็นลักษณะ DBMS (Database Management Systems) 2.2.1 องค์ประกอบทั้งสามของ Arc GIS ที่ถูกสร้างมาจากเทคโนโลยีเดียวประกอบด้วย 2.2.1.1 Arc View ประกอบด้วยโปรแกรม ArcCatalog, Arc Map และ Arc Tool box ที่มีความสามารถ เรียกจัดการ วิเคราะห์ ปรับแก้ เอกสารแผนที่ได้ 2.2.1.2 Arc Catalog เหมาะสาหรับนาไปใช้เลือกเส้นทางข้อมูล สร้างและปรับ แก้metadata 2.2.1.3 Arc Map เหมาะสาหรับนาไปใช้แสดงผล สืบค้น และปรับแก้ข้อมูล หรือ เอกสารแผนที่ และสิ่งพิมพ์ทางอิเล็กโทรนิค สาหรับบางข้อมูลการนาเสนอในรูปแบบ อื่นได้ดีกว่า แผนที่ เช่น กราฟ รายงาน ซึ่ง Arc Map ได้เตรียมไว้หลายทางเลือกเพื่อสร้างกราฟและรายงานด้วยมี เครื่องมือวิเศษที่ช่วยในการสร้างกราฟและรายงาน 2.2.1.4 Arc Toolbox เป็นเครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล GIS ขั้นสูง เช่น การแปลงระบบพิกัด หรือแปลงประเภทข้อมูลจากชนิดต่าง ๆ ไปเป็น GeoDatabase ด้วยการทา งานแบบ drag and drop ทาให้สามารถลากชื่อและเส้นทางของข้อมูลจาก Arc Catalog ไปยัง Arc Toolbox ได้ 2.2.1.5 Arc Editor มีฟังก์ชันที่ Arc View มีทั้งหมด พร้อมทั้งมีเครื่องมือสามารถ ปรับแก้ข้อมูลแบบ Coverage และ Geodatabase 2.2.1.6 Arc Info มีฟังก์ชันที่ Arc Editor มีทั้งหมด พร้อมทั้งมีเครื่องมือGeo pro- cessing และArc - Workstation ครบชุดคือ (ARC, Arc Edit, Arc Plot, INFO, และ ARC Macro Language หรือเรียกว่า AML) 2.3 GeoServer มีความเป็น JSP ซึ่งความแตกต่างนี้ ทาให้ Geoserver มีภาษีดีกว่าในแง่ความเป็นDynamic บน Web (ปัจจุบัน Map server ได้พัฒนาความเร็วให้มากขึ้นจากการสั่งงานผ่านทาง Common CGI ไปสู่ Fast CGI
  • 17. 7 2.4 ภาษา HTML เอชทีเอ็มแอล (Hyper Text Markup Language : HTML) เป็นภาษาสากลที่ใช้สื่อสารกัน แพร่หลายใน internet เช่นเดียวกับคาสั่งใน UNIX หรือ DOS ในเครื่องคอมพิวเตอร์แบบ PC พูดง่าย ๆ เอชทีเอ็มแอล ก็คือเอกสารข้อความที่มี ชุดคาสั่ง <TAG> กากับแต่ละส่วนของเอกสาร เพื่อบอก ให้โปรแกรมสาหรับอ่านซึ่งเราเรียกว่า Web browser รู้ว่า แต่ละส่วนของเอกสารจะต้องแสดงผล ออกมาอย่างไร หรือจะต้องทาอย่างไรหากมีการเลือก(ด้วยการคลิกเมาส์หรือกด Enter) ตรงบริเวณ ที่กาหนด เป็นต้น รูปแบบมาตรฐานของเอกสาร เอชทีเอ็มแอล จะมีอยู่สองส่วน ส่วนแรกเรียกว่า ส่วนหัว (head) และส่วนที่สองเรียกว่าส่วนตัว (body) และทั้งสองส่วนจะต้องอยู่ภายใต้ชุดคาสั่ง <HTML>....</HTML> เสมอ รูปแบบเอกสาร เอชทีเอ็มแอล ที่สมบูรณ์ ควรจะมีชุดคาสั่งมาตรฐาน กากับอย่างน้อยที่สุด 2.4.1 โครงสร้างภาษา เอชทีเอ็มแอล - <HTML>…</HTML> เป็นคาสั่งเริ่มต้นและสิ้นสุดเอกสาร เอชทีเอ็มแอล - <HEAD>…</HEAD>ใช้กาหนดข้อความในส่วนที่เป็นชื่อเรื่องภายในคาสั่งนี้ จะมีคาสั่ง ย่อย<TITLE> อีกหนึ่งคาสั่ง - <TITLE>…</TITLE>เป็นตัวแสดงชื่อเอกสารโดยจะแสดงที่ไตเติล บาร์ ของ วินโดว์ที่เปิดเอกสารนี้อยู่เท่านั้น - <BODY>…</BODY>ส่วนเนื้อหาของโปรแกรมจะเริ่มต้นด้วยคาสั่ง <BODY> และสิ้นสุดด้วยคาสั่ง </BODY> ในระหว่างสองคาสั่งนี้จะมีส่วนแท็กต่างๆมากมาย 2.4.2 แท็ก (Tag) 2.4.2.1 แท็กที่เกี่ยวกับตัวอักษร - <Hn>…</Hn> กาหนดขนาดของหัวเรื่อง (Heading) เมื่อ n แทนระดับ ของหัวเรื่องโดยมีระดับ H1 ใหญ่สุดถึง H6 เล็กที่สุด - <FONT COLOR= ”ชื่อสีหรือรหัสสี”>…</FONT> กาหนดสีของ ข้อความโดยกาหนดรหัสสี หรือ ชื่อสี - <FONT FACE=”ชื่อฟอนต์”>…</FONT> กาหนดชื่อฟอนต์ที่ต้องการ ใช้สามารถใส่ชื่อฟอนต์หลายๆฟอนต์พร้อมๆ กัน - <FONT SIZE=3>…</FONT> กาหนดขนาดของฟอนต์ - <B>…</B> ทาข้อความให้เป็นตัวหนา - <I>…</I> ทาข้อความให้นอนเป็นตัวเอน - <u>…</u> ขีดเส้นใต้ข้อความ - <strike>…</strike> ขีดฆ่าข้อความ
  • 18. 8 - <big>…</big> เพิ่มขนาดอักษรขึ้นอีก 1 ระดับ - <small>…</small> ลดขนาดตัวอักษรลง 1 ระดับ - <blink>…</blink> ข้อความกระพริบใช้ได้กับ IE - <sub>…</sub> แสดงข้อความแบบตัวห้อย - <sup>…</sup> แสดงข้อความแบบตัวยกกาลัง - <comment>…</comment> ใส่ข้อความหมายเหตุ 2.4.2.2 แท็กรูปแบบตาราง - <TABLE>…<parameter>…</TABLE> เป็นคาสั่งเปิดปิดตาราง มี พารามิเตอร์มีดังนี้ - ALIGNT กาหนดตาแหน่งการวางตารางในเอกสาร - BORDER =n กาหนดให้เส้นกรอบตารางหรือไม่ ถ้าเลือกใส่กรอบให้ ใส่ค่าความหนาของกรอบด้วย - HEIGHT =n กาหนดความสูงของตารางทั้งตาราง - WIDTH =n กาหนดความกว้างของตาราง - CELLSPACEING =n กาหนดระยะห่างระหว่างเซลล์ในตาราง กาหนด เป็นพิกเซล - CELLSPADDING =n กาหนดระยะห่างระหว่างเส้นและเนื้อหาภายใน เซล<TH parameter>…</TH> ตารางตามแนวตั้ง กาหนด ข้อความโดยมีพารามิเตอร์ - VALING = ตาแหน่ง กาหนดการวางข้อมูลในเซลล์ตามแนวตั้ง กาหนด ได้เป็น TOP MIDDLE BOTTOM - HEIGHT =n กาหนดความสูงของเซลล์ในตาราง - WIDTH =n กาหนดความกว้างของเซลล์ในตาราง - BGCOLOR =# รหัสสี กาหนดสีพื้นหลังของเซลล์ 2.5 โปรแกรม Adobe Dreamweaver CS4 อะโดบี ดรีมวีฟเวอร์ (Adobe Dreamweaver) หรือชื่อเดิมคือ แมโครมีเดีย ดรีมวีฟเวอร์ (Macromedia Dreamweaver) เป็นโปรแกรมแก้ไข เอชทีเอ็มแอล พัฒนาโดยบริษัทแมโครมีเดีย (ปัจจุบันควบกิจการรวมกับบริษัทอะโดบี ซิสเต็มส์) สาหรับการออกแบบเว็บไซต์ในรูปแบบ WYSIWYG กับการควบคุมของส่วนแก้ไขรหัส เอชทีเอ็มแอล ในการพัฒนาโปรแกรมที่มีการ รวมทั้งสองแบบเข้าด้วยกันแบบนี้ ทาให้ ดรีมวีฟเวอร์เป็นโปรแกรมที่แตกต่างจากโปรแกรมอื่นๆ
  • 19. 9 ในประเภทเดียวกัน ในช่วงปลายปีทศวรรษ 1990 จนถึงปีทศวรรษ 2001 ดรีมวีฟเวอร์มีสัดส่วน ตลาดโปรแกรมแก้ไข เอชทีเอ็มแอล อยู่มากกว่า 70% 2.5.1 จุดเด่นของโปรแกรม 2.5.1.1 สนับสนุนการทางานแบบ WYSIWYG (What You See Is What You Get) หมายความว่าอะไรก็ตามที่เราทาบนหน้าจอ ดรีมวีฟเวอร์ ก็จะปรากฏผลแบบเดียวกันบนเว็บ เพจ ซึ่งช่วยให้การสร้างและแก้ไขเว็บเพจนั้นทาได้ง่าย โดยไม่ต้องมีความรู้ภาษา เอชทีเอ็มแอล เลย 2.5.1.2 มีเครื่องมือในการสร้างรูปแบบหน้าจอเว็บเพจ ซึ่งทาสะดวกมากยิ่งขึ้น 2.5.1.3 สนับสนุนภาษาสคริปต์ต่างๆ เช่น Java, ASP, PHP ,CGI, VBScript 2.5.1.4 มีเครื่องมือที่ช่วยในการ อัพโหลด หน้าเว็บที่สร้างไปที่ เซิร์ฟเวอร์ เพื่อทา การเผยแพร่งานที่ทาจากโปรแกรมเสร็จเพื่อที่จะให้แสดงผ่าน IE และ Firefox 2.5.1.5 รองรับในการใช้มัลติมีเดียต่างๆ เช่น เสียง กราฟิก และภาพเคลื่อนไหวที่ สร้างโดยโปรแกรมต่างๆชนิดจาพวกโปแกรม Flash, โปรแกรม Shockwave, โปรแกรม Firework เป็นต้น 2.5.1.6 มีความสามารถทาการติดต่อกับฐานข้อมูล เพื่อเชื่อมต่อกับเว็บไซต์ 2.6 โปรแกรม Adobe Photoshop CS4 อะโดบี โฟโต้ชอป (Adobe Photoshop) เป็น โปรแกรมยอดนิยมสุดฮิตของบรรดานักแต่ง ภาพทั้งมืออาชีพและ มือสมัครเล่นที่ช่วยให้คุณเปลี่ยนภาพถ่ายธรรมดาให้เป็นภาพถ่ายที่สวยงาม เหนือจินตนาการ โปรแกรม โฟโต้ชอป นั้นยังใช้ในการออกแบบงานสิ่งพิมพ์ต่างๆเช่นงานโฆษณา ตามหน้านิตยสารโบรชัวร์แผ่นพับต่าง ๆ แม้แต่งานออกแบบเว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ตก็ผ่านการรีทัช ภาพด้วย โปรแกรมนี้มาแล้วทั้งนั้น แม้แต่วงการแฟชั่นบ้านเราก็ยังหันมาใช้คอมพิวเตอร์กราฟิก (CG) กันมากมาย โปรแกรม โฟโต้ชอป นี้มีการเพิ่มส่วนต่างๆ มากมายเพื่อให้การสร้างภาพกราฟิกและการ ตกแต่งภาพเป็นไปอย่างสมบูรณ์แบบ เครื่องมือที่ไม่นิยมใช้ถูกทดแทนด้วย เครื่องมือใหม่ ๆ ซึ่งจะ ช่วยให้ทางานง่ายขึ้นและได้ผลงานที่ดีขึ้นอันได้แก่ 2.6.1 มีการจัดเรียงลาดับของกลุ่มคาสั่งให้ใช้งานได้เต็มที่และสะดวกมากขึ้น 2.6.2 มีการตอบสนองกับการใช้ภาษาไทยที่ดีขึ้น 2.6.3 เพิ่มเครื่องมือเกี่ยวกับการตกแต่งภาพ เพื่อให้งานตัดต่อภาพดูเหมือนจริงที่สุด 2.6.4 เพิ่มหน้าต่าง File Browser เพื่อความสะดวกในการค้นหาภาพ 2.6.5 สามารถเซฟภาพพื้นหลังแบบโปร่งใสได้ซึ่งเหมาะใช้งานทางด้านเว็บไซต์ 2.6.6 เพิ่มคาสั่งฟิลเตอร์ เพื่อช่วยให้ทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 20. 10 2.6.7 เครื่องมือสามารถได้ทาให้สะดวกในการทางานมากขึ้น 2.6.8 ได้ทาการนา Image Ready เข้ามารวมเป็นตัวเดียวกันทาให้ไม่ต้องสลับโปรแกรม ทางานไปมา
  • 21. 11 บทที่ 3 การออกแบบระบบ 3.1 การออกแบบขบวนการเก็บและใช้ข้อมูล การออกแบบระบบเป็นขั้นตอนที่สาคัญ ขั้นตอนหนึ่งของการพัฒนาระบบสารสนเทศ หากทาการออกแบบระบบได้ดี จะทาให้บรรลุไปถึงวัตถุประสงค์ของการพัฒนาระบบทาให้การ พัฒนาระบบเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งการออกแบบจะครอบคลุมถึง การออกแบบ กระบวนการทางานของระบบ ส่วนสาคัญของเครื่องมือที่ใช้ คือ แผนภาพบริบท แผนภาพกระแส ข้อมูลและผังโครงสร้างระบบ เพื่อวิเคราะห์สิ่งที่นาเข้า และสิ่งที่นาออกจากระบบ และขั้นตอนการ ทางานของระบบ ในส่วนของการออกแบบฐานข้อมูล ส่วนมากจะอาศัยเครื่องมือ คือ แผนภาพ ความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทีตี และตารางข้อมูล 3.1.1 แผนภาพบริบท (Context Diagram) รูปที่ 3.1 แผนภาพบริบท (Context Diagram)
  • 22. 12 3.2 แผนภาพกระแสข้อมูลระบบ (Dataflow Diagram) แผนภาพกระแสข้อมูลของเว็บไซต์ระบบสารสนเทศภูมิสาสตร์ สถานีควบคุมไฟป่าห้วย น้าดัง เป็นการแสดงการดาเนินงานของระบบโดยละเอียดเพื่อ ให้ผู้ใช้สามารถเข้าใจขั้นตอนการ ทางานต่างๆ โดยกระบวนการทางานของระบบนั้นมี ดังนี้ 3.2.1 กระบวนการที่ 1.0 การจัดการข้อมูลบุคลากรเจ้าหน้าที่ 3.3.2 กระบวนการที่ 2.0 การบริหารจัดการเกี่ยวกับข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ 3.2.3 กระบวนการที่ 3.0 ข้อมูลการเกิดไฟป่า 3.2.4 กระบวนการที่ 4.0 การบริการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ 3.2.5 กระบวนการที่ 5.0 แสดงแผนที่ 3.2.6 กระบวนการที่ 6.0 ประเมินความเสี่ยงและแสดงผล 1.0 ID,PASSWORD ID,PASSWORD ID,PASSWORD รูปที่ 3.2 แสดงการจัดการข้อมูลบุคลากรเจ้าหน้าที่ (Dataflow Diagram) level 0 2.0 รูปที่ 3.3 แสดงการจัดการเกี่ยวกับผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ (Dataflow Diagram) level 0 3.0 , , , , รูปที่ 3.4 แสดงการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลเกิดไฟป่า (Dataflow Diagram) level 0
  • 23. 13 รูปที่ 3.5 แสดงการจัดการเกี่ยวกับข้อมูลประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 0 รูปที่ 3.6 แสดงการเรียกดู (Dataflow Diagram) level 0 6.0 Display รูปที่ 3.7 แสดงการประเมินความเสี่ยง (Dataflow Diagram) level 0 ID,PASSWORD 1.1 ID,PASSWORD รูปที่ 3.8 แสดงการล็อกอินของเจ้าหน้าที่ (Dataflow Diagram) level 1
  • 24. 14 2.1 รูปที่ 3.9 แสดงการสมัครเข้าร่วมโครงการ (Dataflow Diagram) level 1 2.2 รูปที่ 3.10 แสดงการปรับปรุงข้อมูลผู้สมัคร (Dataflow Diagram) level 1 3.1 รูปที่ 3.11 แสดงการเรียกดูข้อมูลผู้ใช้ (Dataflow Diagram) level 1 , , 3.2 , , รูปที่ 3.12 แสดงการปรับปรุงข้อมูลข่าว (Dataflow Diagram) level 1 3.3 รูปที่ 3.13 แสดงการออกรายงาน (Dataflow Diagram) level 1
  • 25. 15 4.1 รูปที่ 3.14 แสดงการเรียกดูข่าวประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 1 , , 4.2 , , รูปที่ 3.15 แสดงการปรับปรุงข้อมูลข่าวประชาสัมพันธ์ (Dataflow Diagram) level 1 6.1 รูปที่ 3.16 แสดงการคิดประเมินพื้นที่เสี่ยง (Dataflow Diagram) level 1 6.2 รูปที่ 3.17 แสดงการเรียกดูแผนที่เสี่ยง (Dataflow Diagram) level 1
  • 26. 16 3.3 Use Case Diagram USER view viewInformation view view Displaymap Insert Update Delete Authentication «uses» «uses» «uses» Admin Id,Password รูปที่ 3.18 Use Case Diagram
  • 27. 17 3.4 แผนภาพความสัมพันธ์ของข้อมูล (E-R Model) CAUSE PK CAUSE_ID CAUSE_NAME AREA_DESTROY_TYPE PK AREA_ID AREA_NAME AREA_SIZE FIRE PK F_ID FK2 CHANGWAT_ID FK3 TAMBOL_ID FK4 CAUSE_ID FK1 AMPHOE_ID COORINATE NO FIRE_DATE FIRE_TIME FK5 AREA_ID MOO ALERT_BY START_JOB START_AREA_DESTROY END_JOB END_AREA_DESTROY REPORTER HYDROY PK H_ID H_NAME H_TYPE ROAD PK R_ID R_NAME R_NO R_TYPE USER PK USER_ID FK1 TYPE_ID LOGIN PASSWORD FNAME LNAME EMAIL ADDRESS PHONE MOBILE USERTYPE PK TYPE_ID TYPE_NAME DAM PK DAM_ID DAM_NAME PROJECT PK PRO_ID DATE PRO_NAME PRO_DETAIL PARTICIPATE PK P_ID DATE FNAME LNAME ADDRESS TELEPHONE PASSPORT CAREER SEX FK1 PRO_ID BIRTHDAY AMPHOE PK AMPHOE_ID AMPHOE_NAME TAMBOL PK TAMBOL_ID TAMBOL_NAME CHANGWAT PK CHANGWAT_ID CHANGWAT_NAME NEWS PK NID SHORTNAME SHORTDETAILS NEWSNAME DETAILS IMG1 IMG2 IMG3 IMG4 IMG5 POSTDATE WORK PK WID SHORTNAME SHORTDETAILS WORKNAME DETAILS IMG1 IMG2 IMG3 IMG4 IMG5 POSTDATE ROUTE PK RO_ID RO_NAME FIRE_BREAK PK FB_ID FB_NAME VEGETATION PK VE_ID VE_NAME VE_TYPE SQKM PK GID RISK รูปที่ 3.19 E-R Diagram
  • 28. 18 3.5 ตารางข้อมูล การออกแบบตารางข้อมูล (File) ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลระบบที่ใช้ในการประมวลผล ข้อมูลและรายละเอียดของแฟ้มข้อมูล ได้แก่ ชนิดของแฟ้ มข้อมูล, ชนิดของขอบเขตของข้อมูล และ ขนาด ของข้อมูล การออกแบบแฟ้มข้อมูลจะรวมถึงการ Normalization เพื่อลดความซ้าซ้อนของ ข้อมูลที่อาจจะเกิดขึ้นได้ในส่วนของกระบวนการออกแบบข้อมูลจะอธิบายโดยการใช้ Data Table โดยระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์สถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง มี Data Table ทั้งหมดดังนี้ ตารางที่ 3.1 รายการตารางข้อมูล Table Name Note CAUSE สาเหตุเพลิงไหม้ AREA_DESTROY_TYPE ชนิดพื้นที่ที่ถูกทาลาย FIRE จุดที่เกิดไฟป่า FIRE_BREAK แนวกันไฟ HYDROL เส้นทางน้า ROAD ถนน ROUTE เส้นทางลาดตระเวร USER ผู้ใช้งาน(เจ้าหน้าที่สถานี) USERTYPE ชนิดผู้ใช้งาน VEGETAION พืชพรรณ DAM ฝาย AMPHOE อาเภอ TAMBOL ตาบล CHANGWAT จังหวัด NEWS ข่าวประชาสัมพันธ์ WORK ข้อมูลเกี่ยวกับผลงานสถานี PARTICIPATE ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ PROJECT โครงการ SQKM ความเสี่ยง
  • 29. 19 ชื่อตาราง สาเหตุเพลิงไหม้(CAUSE) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ สาเหตุเพลิงไหม้ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง จุดที่เกิดเหตุไฟป่า ตารางที่ 3.2 ตารางข้อมูล สาเหตุเพลิงไหม้ ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. CAUSE_ID CAUSE_NAME รหัสสาเหตุ ชื่อสาเหตุ 8 50 CHAR CHAR - - PK ชื่อตาราง ชนิดพื้นที่ที่ถูกทาลาย(AREA_DESTROY_TYPE) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ ชนิดพื้นที่ที่ถูกทาลาย แฟ้มที่เกี่ยวข้อง จุดที่เกิดไฟป่า ตารางที่ 3.3 ตารางข้อมูล ชนิดพื้นที่ที่ถูกทาลาย ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่าเบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. AREA_ID AREA_NAME AREA_SIZE รหัสพื้นที่ถูก ทาลาย ชนิดของพื้นที่ พื้นที่เสียหาย 8 50 - CHAR CHAR INTEGER - - - PK
  • 30. 20 ชื่อตาราง จุดที่เกิดเหตุไฟป่า (FIRE) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ จุดที่เกิดเกิดไฟป่า แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.4 ตารางข้อมูล จุดที่เกิดเกิดไฟป่า ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. 14. 15. 16. 17. F_ID CHANGWAT _ID TAMBOL_ID CAUSE_ID AMPHOE_ID COORDINATE NO FIRE_DATE FIRE_TIME AREA_ID MOO ALERT_BY START_JOB START_AREA_ DESTROY END_JOB END_AREA_ DESTROY REPORTER รหัสจุดเกิดไฟ ป่า รหัสจังหวัด รหัสตาบล รหัสสาเหตุ รหัสอาเภอ ค่าพิกัด หมายเลข วันที่เกิดไฟ ไหม้ เวลาที่เกิดไฟ ไหม้ พื้นที่ หมู่ พบโดย เริ่มดับเวลา พื้นที่ก่อนดับ (ไร่) ดับเสร็จเวลา พื้นที่เสียหาย (ไร่) REPORTER 8 8 8 8 8 25 5 8 4 8 4 50 4 8 4 8 50 CHAR CHAR CHAR CHAR CHAR CHAR INTEGER DATE CHAR VARCHAR CHAR VARCHAR CHAR INTEGER CHAR INTEGER VARCHAR - - - - - - - - - - - - - - - - - PK FK FK FK FK FK
  • 31. 21 ชื่อตาราง เส้นทางน้า(HYDROL) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ เส้นทางน้า แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.5 ตารางข้อมูล เส้นทางน้า ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. H_ID H_NAME H_TYPE เส้นทางน้า ชื่อเส้นทางน้า ชนิด 8 50 20 CHAR CHAR CHAR - - - PK ชื่อตาราง ถนน (ROAD) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ ถนน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.6 ตารางข้อมูล ถนน ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่าเบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. 4. R_ID R_NAME R_NO R_TYPE รหัสถนน ชื่อถนน หมายเลข ชนิด 8 50 5 20 CHAR CHAR CHAR CHAR - - - - PK
  • 32. 22 ชื่อตาราง ผู้ใช้งาน (USER) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของ ผู้ใช้งาน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ชนิดผู้ใช้งาน ตารางที่ 3.7 ตารางข้อมูล ผู้ใช้งาน ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. USER_ID TYPE_ID LOGIN PASSWORD FNAME LNAME EMAIL ADDRESS PHONE MOBILE รหัสผู้ใช้ ชนิดผู้ใช้ ล็อกอิน รหัสผ่าน ชื่อ นามสกุล อีเมล์ ที่อยู่ เบอร์โทร เบอร์มือถือ 8 8 10 10 50 50 25 100 10 10 CHAR CHAR CHAR CHAR CHAR CHAR CHAR VARCHAR CHAR CHAR - - - - - - - - - - PK FK ชื่อตาราง ฝาย (DAM) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ฝาย แฟ้มที่เกี่ยวข้อง: ตารางที่ 3.8 ตารางข้อมูล ฝาย ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. DAM_ID DAM_NAME ไอดีฝาย ชื่อฝาย 8 50 CHAR CHAR - - PK
  • 33. 23 ชื่อตาราง ชนิดผู้ใช้งาน (USERTYPE) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ชนิดผู้ใช้งาน แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ผู้ใช้งาน ตารางที่ 3.9 ตารางข้อมูล ชนิดผู้ใช้งาน ที่ (Sequen ce No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. TYPE_ID TYPE_NAME รหัสผู้ใช้งาน ชื่อรหัสชนิด ผู้ใช้งาน 8 10 CHAR CHAR - - PK ชื่อตาราง โครงการ (PROJECT) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ โครงการ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ตารางที่ 3.10 ตารางข้อมูล โครงการ ที่ (Sequen ce No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. 4. PRO_ID PRO_NAME PRO_DETAIL DATE รหัสโครงการ ชื่อโครงการ รายละเอียด โครงงาน วันที่ 8 50 250 - CHAR CHAR VARCHAR DATE - - - - PK
  • 34. 24 ชื่อตาราง ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ (PARTICIPATE) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง โครงการ ตารางที่ 3.11 ตารางข้อมูล ข้อมูลผู้สมัครเข้าร่วมโครงการ ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7 8. 9. 10. 11. P_ID FNAME LNAME ADDRESS TELPHONE PASSPORT CAREER SEX DATE BIRTHDAY PRO_ID รหัสผู้ใช้ ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทร รหัสบัตร ประชาชน อาชีพ เพศ วันที่ วันเดือนปีเกิด รหัสโครงการ 8 50 50 100 10 13 50 1 - - 8 CHAR CHAR CHAR VARCHAR CHAR CHAR CHAR CHAR DATE DATE CHAR - - - - - - - - - - - PK FK ชื่อตาราง อาเภอ (AMPHOE) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ อาเภอ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.12 ตารางข้อมูล อาเภอ ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. AM_ID AM_NAME รหัสตาบล ชื่อตาบล 8 50 CHAR CHAR - - PK
  • 35. 25 ชื่อตาราง ตาบล (TAMBOL) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ตาบล แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.13 ตารางข้อมูล ตาบล ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. TAMBOL_ID TAMBOL_ NAME รหัสตาบล ชื่อตาบล 8 50 CHAR CHAR - - PK ชื่อตาราง จังหวัด (CHANGWAT) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ จังหวัด แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.14 ตารางข้อมูล จังหวัด ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูกต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. CHANGWAT_ ID CHANGWAT_ NAME รหัสจังหวัด ชื่อจังหวัด 8 50 CHAR CHAR - - PK
  • 36. 26 ชื่อตาราง เส้นทางลาดตระเวร (ROUTE) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ เส้นทางลาดตระเวร แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.15 ตารางข้อมูล เส้นทางลาดตระเวร ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. RO_ID RO_NAME รหัสเส้นทาง ลาดตระเวน ชื่อเส้นทาง ลาดตระเวน 8 50 CHAR CHAR - - PK ชื่อตาราง ข่าวประชาสัมพันธ์ (NEWS) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ข่าวประชาสัมพันธ์ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.16 ตารางข้อมูล ข่าวประชาสัมพันธ์ ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. NID SHORTNAME SHORTDETAILS NEWSNAME DETAIL IMG1 IMG2 รหัสข่าว ชื่อข่าวแบบ ย่อ ข่าวแบบย่อ ชื่อข่าว รายละเอียด รูปข่าว1 รูปข่าว2 8 200 - 200 - 50 50 NUMBER VARCHAR TEXT VARCHAR TEXT CHAR CHAR - - - - - - - - PK
  • 37. 27 ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 8. 9. 10. 11. IMG3 IMG4 IMG5 POSTDATE รูปข่าว3 รูปข่าว4 รูปข่าว5 วันที่ 50 50 50 - CHAR CHAR CHAR DATE - - - - ชื่อตาราง ข้อมูลเกี่ยวกับผลงานสถานี (WORK) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ ข้อมูลเกี่ยวกับสถานี แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.17 ตารางข้อมูล ข้อมูลเกี่ยวกับสถานี ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. WID SHORTNAME SHORTDETAILS WORKNAME DETAILS IMG1 IMG2 IMG3 IMG4 IMG5 POSTDATE รหัสข้อมูล สถานี ชื่ออย่างสั้น ข้อมูลย่อ ชื่อ รายละเอียด รูปภาพ1 รูปภาพ2 รูปภาพ3 รูปภาพ4 รูปภาพ5 วันที่ 8 200 - 200 - 50 50 50 50 50 - NUMBER VARCHAR TEXT VARCHAR TEXT CHAR CHAR CHAR CHAR CHAR DATE - - - - - - - - - - - - PK
  • 38. 28 ชื่อตาราง แนวกันไฟ (FIRE_BREAK) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ แนวกันไฟ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.18 ตารางข้อมูล แนวกันไฟ ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. FB_ID FB_NAME รหัสแนวกันไฟ ชื่อแนวกันไฟ 8 50 CHAR CHAR - - PK ชื่อตาราง พืชพรรณ (VEGETAION) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลทั้งหมดของระบบ พืชพรรณ แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.19 ตารางข้อมูล พืชพรรณ ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. VE_ID VE_TYPE รหัสพืชพันธ์ ชนิดลักษณะ พืชพันธ์ 8 50 CHAR CHAR - - PK
  • 39. 29 ชื่อตาราง ความเสี่ยง (SQKM) วัตถุประสงค์ เพื่อเก็บข้อมูลสถานีเกี่ยวกับผลการประเมินความเสี่ยง แฟ้มที่เกี่ยวข้อง ตารางที่ 3.20 ตารางข้อมูล ความเสี่ยง ที่ (Sequence No) คุณสมบัติ (Attribute) คาอธิบาย (Description) ขนาด (Width) ประเภท (Type) ค่า เบื้องต้น (Default) ตรวจสอบ ความถูก ต้อง (Validation Check) คีย์ (Key) 1. 2. RID RISK รหัสพื้นที่ ผลประเมินความ เสี่ยง - 8 - CHAR - - PK
  • 40. 30 3.6 แผนผังการดาเนินงาน (Flowchart) 3.6.1 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของภาพรวมของเว็บไซต์ /admin N N MAP, , , Y Y Login, logout, , , , , Y N รูปที่ 3.20 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของภาพรวมของเว็บไซต์
  • 41. 31 3.6.2 แผนผังการดาเนินงานส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป N N N N N N N Y Y Y Y Y Y Y รูปที่ 3.21 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของผู้ใช้งานทั่วไป
  • 42. 32 3.6.3 แผนผังการดาเนินงานส่วนเจ้าหน้าที่และผู้ดูแลระบบ Username, Password Username,Password admin Password id Y Y N , , Y N N รูปที่ 3.22 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของเจ้าหน้าที่และผู้ดูแลระบบ
  • 43. 33 3.6.4 แผนผังการดาเนินงานส่วนของการสมัครเข้าร่วมโครงการอบรม Y Y N N รูปที่ 3.23 แผนผังการดาเนินงานในส่วนของการสมัครเข้าร่วมโครงการอบรม
  • 44. 34 3.7 การออกแบบการเชื่อมประสานงานกับผู้ใช้ (User interface) เป็นรูปแบบของหน้าเว็บไซต์ทั้งหมด โดยแสดงเป็นรูปต่างๆ ต่อไปนี้ 3.7.1 หน้าหลักแสดงหน้าแรกของเว็บไซต์ โดยมีลิงค์เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลต่างๆ จะมีภาพ แผนที่แสดงจุดเกิดไฟไหม้และข่าวประชาสัมพันธ์บอกกล่าวเรื่องราวต่างๆ เกี่ยวกับเว็บไซต์ รูปที่ 3.24 แสดงหน้าหลักของเว็บไซต์ 3.7.2 หน้าประวัติความเป็นมาของสถานีควบคุมไฟป่าห้วยน้าดัง จะบอกเล่าเรื่องความ เป็นมาของห้วยน้าดังว่ามีประวัติความเป็นมาเช่นไร รูปที่ 3.25 แสดงหน้าประวัติ
  • 45. 35 3.7.3 หน้าสภาพแวดล้อมพื้นที่ จะบอกถึงที่ตั้งของสถานีไฟป่าห้วยน้าดัง อาณาเขต และ ลักษณะภูมิประเทศ รูปที่ 3.26 แสดงหน้าสภาพแวดล้อมพื้นที่ 3.7.4 หน้า Login สาหรับเจ้าหน้าที่ ที่ต้องการเปลี่ยนแปลงแก้ไขข้อมูลจะต้องมีการกรอก User และ Password ในการใช้งานทุกครั้ง รูปที่ 3.27 แสดงหน้า Login สาหรับเจ้าหน้าที่
  • 46. 36 3.7.5 หน้าหลังจากเจ้าหน้าที่ทาการ Login เข้ามาเพื่อทาการแก้ข้อมูลต่างๆ รูปที่ 3.28 แสดงหน้าหลังจากเจ้าหน้าที่ Login เข้ามา 3.7.6 หน้าการจัดการข้อมูลการเกิดไฟป่า เจ้าหน้าที่ที่Login เข้ามาจะทาการกรอกข้อมูล การเกิดไฟป่า การแก้ไขข้อมูล และการลบข้อมูล รูปที่ 3.29 แสดงหน้าการจัดการข้อมูลการเกิดไฟป่า
  • 47. 37 3.7.7 หน้ากรอกข้อมูลการเกิดไฟป่า เจ้าหน้าที่จะทาการกรอกข้อมูลการเกิดไฟป่าที่เกิด ในแต่ละครั้งลงในแบบ ฟป.1 ดังรูปที่ 3.30 รูปที่ 3.30 แสดงหน้ากรอกข้อมูลการเกิดไฟป่า 3.7.8 หน้าจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์ จะมีการกรอกข้อมูลและเพิ่มข้อมูล แก้ไขและลบ ได้เพื่อเป็นข่าวประชาสัมพันธ์ให้ผู้เข้าชมรับชม รูปที่ 3.31 แสดงหน้าจัดการข้อมูลประชาสัมพันธ์
  • 48. 38 3.7.9 หน้ากรอกข้อมูลประชาสัมพันธ์ เจ้าหน้าที่จะทาการกรอกข้อมูลโดยคลิกตรงดิน สอก็จะสามารถเพิ่มทั้งหัวข้อข่าว รายละเอียดข่าวและรูปภาพตามที่ต้องการตามแบบฟอร์ม ดังรูปที่ 3.32 รูปที่ 3.32 แสดงหน้าการกรอกข้อมูลประชาสัมพันธ์ 3.7.10 หน้าแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์ หากเจ้าหน้าที่ต้องการแก้ไขข้อมูลข่าวประชาสัม พันธ์สามารถคลิกตรงเครื่องหมายรูปค้อนและเข้ามาแก้ไขข้อมูลที่หน้าแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์ ดังรูปที่ 3.33 รูปที่ 3.33 แสดงหน้าการแก้ไขข้อมูลประชาสัมพันธ์