SlideShare a Scribd company logo
๑
ชาดก
ชาดกคือ เรื่องราวในอดีตชาติของพระโพธิสัตว์ก่อนที่จะมาเกิดในชาติสุดท้ายและได้ ตรัสรู้เป็นพระสัมพุทธเจ้า
เรื่องราวของชาติหนึ่งๆก็เรียกว่าชาดกหนึ่งๆรวมทั้งสิ้น547เรื่อง(ซึ่งน่าจะเป็น 550 เรื่อง แต่เดิมและต่อมาหายไป3
เรื่องในภายหลัง)ชาดกอรรถกถาเริ่มต้นตรงที่กล่าวถึงทูเรนิทาน
คือพระพุทธเจ้าเริ่มทาความเพียรเพื่อหวังพุทธภูมิในชาติที่เกิดเป็นสุเมธดาบสแล้วกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีต 24
พระองค์ที่กล่าวพยากรณ์รับรองพระโพธิสัตว์ของเราว่าจะได้ตรัสรู้พระโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่25คือ
เจ้าชายสิทธัตถโคตมะนี้เอง
ความจริงเกี่ยวกับนิทานชาดกที่ควรรู้ก็คือเรื่องชาดกเป็นนิทานซึ่งรวบรวมมาจากที่ต่างๆกัน
ไม่ใช่เรื่องที่เกิดขึ้นในที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะฉะนั้นจะเหมาเอาว่าเป็นพุทธวัจนะล้วนๆที่พระพุทธเจ้าทรงบรรยายไว้ด้วย
พระองค์เองก็ไม่อาจจะกล่าวได้เช่นนั้นถ้าจะเรียกว่าเป็นชุมนุมนิทานโบราณที่นามาใช้เพื่อบรรยายหลักธรรมในแง่ต่างๆ
ประกอบด้วยการบาเพ็ญบารมี10ประการได้
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อพระราชทานพระบรมราชาธิบายเรื่องชาดกในแง่ความเป็นมาและอื่นๆ
แล้วทรงสรุปคุณค่าของหนังสือชาดกไว้ว่า
ข้อซึ่งกล่าวมาแล้วข้างต้นนั้นเป็นคาแนะนาให้ท่านทั้งหลายอ่านหนังสือเรื่องชาดกนี้
ตามคาซึ่งข้าพเจ้าเรียกว่าแลดูด้วยตั้งวงกว้างฯแต่แท้จริงเรื่องชาดกนี้เป็นเรื่องนิทานโบราณซึ่งนักปราชญ์ทั้งหลายได้นาสืบๆ
กันมาตั้งแต่2500 ปีขึ้นไปหา 3000 ปี ก็เป็นเรื่องที่ควรอยู่ซึ่งเราจะอ่านฯ
ธรรมดาผู้ซึ่งมีความพอใจในความรู้วิชาหนังสือและเรื่องทั่วไปในโลกย่อมถือว่าหนังสือซึ่งเขียนไว้แต่โบราณเช่นนี้
เป็นหนังสือสาคัญที่จะส่องให้ความประพฤติความเป็นอยู่และประเพณีของประเทศซึ่งแต่งเรื่องนิทานนั้นเป็นอย่างไร
เป็นอุปการะที่จะแต่งเรื่องตานานทั้งปวงโดยทางเทียบเคียงให้รู้คติของคนโบราณในประเทศนั้นๆ
ถึงแม้แต่เพียงเรื่องปรารภซึ่งเรารู้อยู่ว่าเป็นพระอาจารย์ผู้รวบรวมคัมภีร์
ชาดกได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อจะให้เห็นเหตุผลประกอบท้องเรื่องนิทานก็ดีแต่เรื่องราวเหล่านั้นย่อมมาจากความจริง
ซึ่งเป็นไปอยู่ในเวลาซึ่งพระพุทธเจ้ายังดารงพระชนม์อยู่เป็นเครื่องอุปการะใหญ่
ซึ่งจะให้เรื่องราวของประเทศและประชาชนซึ่งอยู่ในประเทศนั้นทั้งความประพฤติของพระสาวกทั้งหลาย
ตลอดถึงพระองค์พระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเล่าเรื่องเป็นท่อนๆในสมัยหนึ่งๆ
ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงประพฤติพระอิริยาบถและตรัสสั่งสอนอย่างไร
เช่นหนังสือซึ่งเขาคัดข้อที่ผู้มีชื่อเสียงในปัจจุบันหรืออดีตซึ่งไม่ช้านาน
ได้กระทาการหรือได้กล่าววาจาอันเป็นข้อควรสังเกตหรือควรจาและน่าพอใจอ่านมารวบรวมขึ้นไว้ด้วยฉะบับหนึ่งต่างหาก
ซึ่งผู้รู้ภาษาต่างประเทศคงจะได้พบเห็นอ่านโดยมากถ้าจะพยายามกล่าวเป็นคาไทยก็เห็นว่าตรงกับคาที่เรียกว่าอภินิหาร
ซึ่งมีผู้เคยแต่งอยู่บ้างฯความสังเกตอันนี้อาจทาให้เข้าใจในพุทธประวัติแจ่มแจ้งขึ้นฯ
แท้จริงหนังสือพุทธประวัตินั้นก็ได้เก็บเรื่องราวจากพระคัมภีร์ต่างๆมารวบรวมเรียบเรียงขึ้นเหมือนอย่างผู้จะแต่งพงศาวดาร
ก็ต้องอ่านหนังสือราชการและหนังสือหลักฐานอันมีอยู่ในกาลสมัยที่ตัวจะแต่งนั้นทั่วถึงแล้ว
จึงยกข้อที่ควรเรียบเรียงเป็นเรื่องในข้อซึ่งควรจะกล่าวฯแต่ผู้ซึ่งจะอ่านหนังสือโบราณเช่นนี้
จาจะต้องสังเกตกาลสมัยของหนังสือนั้นให้รู้ว่าหนังสือนี้ได้แต่งขึ้นในประเทศใดประเทศนั้นมีภูมิฐานอย่างไร
ความประพฤติของมนุษย์ในประเทศนั้นเป็นอยู่ในกาลนั้นอย่างไรความมุ่งหมายของผู้ซึ่งคิดเห็นว่า
เป็นการที่ตนจะทาประโยชน์ให้แก่ประชุมชนเป็นอันมากอย่างไรแล้วจะได้ทาการไปด้วยอาการอย่างไรสาเร็จได้อย่างไรฯ
ผู้อ่านต้องตั้งใจเหมือนตนได้เกิดขึ้นในขณะนั้นอ่านด้วยน้าใจที่รู้สึกประโยชน์ใช่ประโยชน์ในเวลานั้น
ซึ่งจะเกิดความรื่นรมย์ในใจในขณะที่อ่านนั้นและจะเข้าใจแจ่มแจ้งตลอดฯเมื่ออ่านตลอดข้อความแล้ว
จะใช้วิจารณปัญญาอย่างหนึ่งอย่างใดสาหรับวินิจฉัยในภายหลังก็ตามเมื่อเข้าใจชัดเจนแล้วก็จะถูกต้องตามความที่เป็นจริงฯ
๒
ข้าพเจ้าขอแนะนาผู้ซึ่งตั้งใจจะอ่านหนังสือชาดกนี้ให้อ่านด้วยวิธีซึ่งข้าพเจ้าเรียกในเบื้องต้นว่าตั้งวงพิจารณากว้าง
ดังได้อธิบายมาแล้วนี้ฯ
ความหมาย – ประเภทชาดก
ชาดกแปลว่าประวัติการทาความดีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่มีมาในชาติก่อนๆ
คาว่าชาตกหรือชาดก แปลว่าผู้เกิดมีรากคามาจากธาตุ(Root)ว่าชนฺ แปลว่า “เกิด”แปลง ชนฺ ธาตุเป็นชาลง ต
ปัจจัยในกิริยากิตก์ ตปัจจัยตัวนี้กาหนดให้แปลว่า “แล้ว”มีรูปคาเป็น“ชาต”แปลว่าเกิดแล้วเสร็จแล้วให้ลงก
ปัจจัยต่อท้ายอีกสาเร็จรูปเป็น“ชาดก”อ่านออกเสียงตามบาลีสันสกฤตว่า“ชา-ตะ-กะ”แปลว่าผู้เกิดแล้ว
เมื่อนาคานี้มาใช้ในภาษาไทยเราออกเสียงเป็นชาดกโดยแปลงต เป็น ด และให้ ก เป็นตัวสะกดในแม่กก
ในความหมายคือเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิดถือเอากาเนิดในชาติต่างๆ
ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้างแต่ก็ได้พยายามทาความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา
จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้ายกล่าวอีกอย่างหนึ่งจะถือว่าเรื่องชาดก
เป็นวิวัฒนาการแห่งการบาเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ้าตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ในอรรถกถาแสดงด้วยว่า
ผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้าแต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่องเพราะฉะนั้น
สาระสาคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้นๆ
นัยยะหนึ่งชาดกจึงหมายถึงเรื่องราวของพระพุทธเจ้าเมื่อครั้งที่เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์
พระองค์เสวยพระชาติต่างๆเป็นมนุษย์บ้างอมนุษย์บ้างเทวดาบ้างสัตว์บ้าง
เมื่อพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ผู้ใดจะทรงยกชาดกซึ่งเป็นนิทานอิงธรรมมาเล่าเป็นบุคคลาธิษฐาน
คือเป็นวิธีการสอนแบบยกเอาเรื่องราวนิทานมาประกอบเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายแทนที่จะสอนธรรมะกันตรงๆ
นิทาน ตามพจนานุกรมมาจาก(มค.นิทาน) น. เหตุ ; เรื่องเดิม; คาเล่าเรื่อง,เรื่องนิยาย
นิทานแปลว่าเหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล,มูลเค้า,เรื่องเดิม,สมุฏฐาน
ชาดกแปลว่าผู้เกิด คือเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิดถือเอากาเนิดในชาติต่างๆ
ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้างแต่ก็ได้พยายามทาความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา
จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย
กล่าวอีกอย่างหนึ่งจะถือว่าเรื่องชาดกเป็นวิวัฒนาการแห่งการบาเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ้า
ตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้
ดร.สมิตธิพลเนตรนิมิตรให้รายละเอียดเกี่ยวกับชาดกไว้ว่า
ชาดกมีความหมายที่ใช้กันทั่วไป๒อย่าง
(๑) หมายถึงเกิดเช่น “ปรับอาบัติทุกกฏภิกษุผู้แสวงหามีดและขวานเพื่อจะตัดต้นไม้และเถาวัลย์ที่เกิดณที่นั้น” (ตตฺถ
ชาตกกฏฺฐลตาเฉทนตฺถวาสิผรส)หรือ“ที่ขึ้นอยู่ที่นั้น ได้แก่ ที่เกิดบนหม้อดินที่ฝังไว้นาน”(ตตฺถชาตกนฺติจิรนิหิตายกุมฺภิยา
อุปริ ชาตก)
(๒)หมายถึงการบาเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระโพธิสัตว์ก่อนตรัสรู้ (ชาต ภูตอตีต ภควโตจริย,ต กียติกถียติ
เอเตนาติชาตก) ชาดกเป็นพระพุทธพจน์ประเภทที่ไม่ใช่พระสูตรเป็นคาสอนที่มีอิทธิพลต่อวิธีสอนธรรมในยุคต่อมา
เป็นการสอนอย่างเล่านิทานเหมาะกับผู้ฟังทุกระดับเป็นเทคนิคที่คงประสิทธิผลต่อผู้ฟังมาทุกยุคสมัย
เพราะผู้สอนมีความรู้หลายด้านรู้วิธีนาเสนอมีวาทศิลป
์ เชื่อมโยงให้คนฟังมองเห็นภาพลักษณ์ชวนให้น่าติดตาม
นิทานชาดก มิใช่เรื่องที่แต่งขึ้นเพื่อสอนคุณธรรมแต่นิทานชาดก คือ เรื่องในอดีตชาติของ พระพุทธเจ้า
ที่พระองค์ทรงแสดงแก่พระภิกษุในโอกาสต่างๆบางครั้งก็เพื่อแสดงภูมิหลังของผู้ที่พระองค์ต้องการแสดงธรรมให้ฟัง
บางครั้งก็เพื่ออธิบายเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
ชาดก เป็นเรื่องที่มีมาก่อนพุทธกาล เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพระโพธิสัตว์
๓
ชาดกมี2 ประเภท คือ
1. นิบาตชาดก เป็นชาดกในพระไตรปิฎกมี500เรื่อง แบ่งออกเป็นหมวดๆ ตามจานวนคาถา
นับตั้งแต่ 1 คาถาถึง80คาถา
ชาดกที่มี1 คาถาเรียกว่าเอกนิบาต
ชาดกที่มี2 คาถาเรียกว่า ทุกนิบาต
ชาดกที่มี 3 คาถาเรียกว่าตักนิบาต
ชาดกที่มี 4 คาถาเรียกว่า จตุคนิบาต
ชาดกที่มี 5 คาถาเรียกว่า ปัญจกนิบาต
ชาดกที่มีเกิน80 คาถาขึ้นไปเรียกว่า มหานิบาตชาดก ซึ่งมี 10 เรื่อง เรียก ทศชาติ หรือ พระเจ้าสิบชาติ
2. ปัญญาสชาติชาดก คาว่าปัญญาสชาดก(ปัน-ยาด-สะ-ชา-ดก) ประกอบด้วยคาว่าปัญญาสแปลว่าห้าสิบกับคาว่า
ชาดกซึ่งหมายถึงเรื่องราวชีวิตของพระโพธิสัตว์หรือพระพุทธเจ้าในอดีตชาติก่อนที่จะทรงบังเกิดเป็นพระพุทธเจ้า ๕๐เรื่อง
เขียนเป็นภาษาบาลีเป็นชีวิตของพระโพธิสัตว์ในพระชาติต่างๆที่ได้บาเพ็ญบารมีคือทาความดีด้วยประการต่างๆ
อย่างแน่วแน่เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นและบาเพ็ญเพียรเพื่อให้พ้นความทุกข์ยากต่าง
ๆ การบาเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์เป็นตัวอย่างให้พุทธศาสนิกชนได้ทาตามคิดตามยึดถือตาม
เพื่อให้เข้าใจความจริงเกี่ยวกับชีวิต
และพยายามหาวิธีพ้นจากความทุกข์ได้อย่างถูกต้องตามทานองคลองธรรม ปัญญาสชาติชาดก ที่แต่งขึ้นจากนิทานพื้นเมือง
นี้ ไม่มีในพระไตรปิฎก หรือเรียกว่า ชาดกนอกนิบาตมีจานวน50 เรื่อง พระภิกษุชาวเชียงใหม่แต่งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ.
2000-2200 เป็นภาษามคธ โดยเลียนแบบนิบาตชาดก ครั้นเมื่อ พ.ศ.2443-
2448 พระบรมวงศ์เธอกรมพระสมมตอมรพันธ์ ดารงตาแหน่งองค์สภานายก หอพระสมุดสาหรับพระนคร ได้ทรงแปลเป็นภา
ษาไทย เรื่องปัญญาสชาดกจึงแพร่หลาย
องค์ประกอบของชาดก
ชาดกทุกเรื่องจะมีองค์ประกอบ3ประเภท คือ
1. ปรารภเรื่อง คือบทนาเรื่องหรือ อุบัติเหตุ จะกล่าวถึงมูลเหตุหรือที่มาของชาดกเรื่องนั้น เช่น มหาเวสสันดรชาดก
2. อดีตนิทาน หรือ ชาดก หมายถึงเรื่องราวนิทานที่พระพุทธองค์ตรัสเล่า
3.
ประชุมชาดก ประมวลชาดก เป็นเนื้อความสุดท้ายของชาดกกล่าวถึงบุคคลในชาดก คือผู้ใดที่กลับชาติเป็นใครบ้างในปัจจุบั
น
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ สุตตันตปิฎกที่ ๑๙ขุททกนิกายชาดก ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่๒๗เป็นภาคแรกของชาดกได้กล่าวถึงคาสอนทางพระพุทธศาสนาอันมีลักษณะเป็นนิทานสุภาษิต
แต่ในตัวพระไตรปิฎกไม่มีเล่าเรื่องไว้ มีแต่คาสุภาษิตรวมทั้งคาโต้ตอบในนิทานเรื่องละเอียดมีเล่าไว้ในอรรถกถา
คือหนังสือที่แต่งขึ้นอธิบายพระไตรปิฎกอีกต่อหนึ่ง
คาว่า ชาตกหรือ ชาดกแปลว่า ผู้เกิด คือเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิดถือเอากาเนิดในชาติต่างๆ
ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้างแต่ก็ได้พยายามทาความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา
จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย
กล่าวอีกอย่างหนึ่งจะถือว่าเรื่องชาดกเป็นวิวัฒนาการแห่งการบาเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ้า
ตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้
ในอรรถกถาแสดงด้วยว่าผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้าแต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่อง
เพราะฉะนั้นสาระสาคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้นๆ
๔
อนึ่ง เป็นที่ทราบกันว่าชาดกทั้งหมดมี๕๕๐เรื่อง แต่เท่าที่ได้ลองนับดูแล้วปรากฏว่าในเล่มที่๒๗มี ๕๒๕ เรื่อง,ในเล่มที่ ๒๘
มี ๒๒เรื่อง รวมทั้งสิ้นจึงเป็น๕๔๗ เรื่อง ขาดไป๓เรื่อง แต่การขาดไปนั้นน่าจะเป็นด้วยในบางเรื่องมีนิทานซ้อนนิทาน
และไม่ได้นับเรื่องซ้อนแยกออกไปก็เป็นได้ อย่างไรก็ตามจานวนที่นับได้ จัดว่าใกล้เคียงมาก
นิทานชาดกหรือชาดกเป็นเรื่องเกี่ยวกับการบาเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์แสดงถึงความเป็นมาในพระชาติต่างๆ
ที่ได้เกิดมาสร้างบารมีเอาไว้เพื่อการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าเราเรียกว่าพระเจ้า ๕๐๐ชาติปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎกเล่มที่
๒๗ ,๒๘ มีทั้งหมด ๕๔๗ เรื่อง อาจมีทั้งเรื่องที่ซ้ากันบ้างแต่คาถาจะต่างกัน
หรือบางเรื่องที่ยกมาเพียงคาถาเดียวจากเรื่องที่มีหลายๆคาถา
นิทานชาดกนั้นมีคัมภีร์หลักอยู่๒ส่วนคือ คัมภีร์พระสุตตันตปิฏกและคัมภีร์อรรถกถาขยายความเรื่องอีก๑๐เล่ม
นอกนั้นอาจปรากฏในพระวินัยปิฏกและพระสูตรส่วนอื่นๆหรือมีปรากฏในคัมภีร์อรรถกภาธรรมบทบ้าง
นิทานชาดกในอรรถกถามีโครงสร้าง๕ส่วนคือ
๑.ปัจจุบันนิทาน กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นในสมัยพระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ประทับอยู่ที่ไหนทรงปรารภใคร
๒. อดีตนิทาน เป็นเรื่องชาดกโดยตรงเรื่องที่เคยมีมาในอดีตบางเรื่องเป็นเรื่องทางประวัติศาสตร์ของชนชาติต่างๆ
ในชมพูทวีปบางเรื่องเป็นนิทานท้องถิ่นบางเรื่องเป็นนิทานเทียบสุภาษิตเช่นคนพูดกับสัตว์สัตว์พูดกับสัตว์เป็นต้น
๓. คาถาเป็นพุทธพจน์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎกบางเรื่องเป็นพุทธพจน์โดยตรงบางเรื่องเป็นฤาษีภาษิต
บางเรื่องเป็นเทวดาภาษิตแต่ถือเป็นพุทธพจน์เพราะเป็นคาที่นามาตรัสเล่าใหม่
๔. เวยยากรณภาษิตเป็นการอธิบายธรรมที่ปรากฏในชาดกนั้นๆเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น
๕. สโมธานเป็นการสรุปชาดกให้เห็นว่าผู้ปรากฏในชาดกนั้นๆเป็นใครเคยทาอะไรไว้
แต่ในที่นี้ได้กาหนดโครงสร้างนิทานชาดกไว้เพียง๔ตอน คือ
ตอนที่หนึ่ง เป็นบทนาเรื่องทาให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ใดปรารภใครถึงได้ตรัสนิทานเรื่องนี้
ตอนที่สอง เป็นอดีตนิทานชาดกที่พระพุทธองค์ทรงนามาสาธก
ตอนที่สาม เป็นคาถาประจาเรื่องนั้นๆซึ่งมีทั้งเป็นคาถาของพระพุทธเจ้าเทวดาบัณฑิตพระโพธิสัตว์และสัตว์ในเรื่องและ
ตอนที่สี่ ตอนสุดท้ายเป็นคติประจาใจที่ไม่มีในอรรถกถาที่ผู้เขียนได้จัดทาขึ้นใหม่
เพื่อให้ครบองค์ของนิทานที่เรามักจะหยอดคาลงท้ายด้วยคาว่านิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่าอะไรเสมอ
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ สุตตันตปิฎกที่ ๒๐ขุททกนิกาย ชาดกภาค ๒
ในพระไตรปิฎกเล่มที่๒๗เป็นเล่มที่รวมเรื่องชาดกที่เล็กๆน้อยๆรวมกันถึง๕๒๕เรื่อง แต่ในพระไตรปิฎกเล่มที่๒๘นี้มีเพียง
๒๒ เรื่อง เพราะเป็นเรื่องยาวๆทั้งนั้นโดย ๑๒เรื่องแรกเป็นเรื่องที่มีคาฉันท์ส่วน๑๐เรื่องหลัง
คือเรื่องที่เรียกว่ามหานิบาตชาดกแปลว่าชาดกที่ชุมนุมเรื่องใหญ่ หรือที่โบราณเรียกว่า ทศชาติ
...
รายชื่อชาดกเรื่องต่าง ๆ
นิบาตชาดก
เป็นเรื่องชาดกที่ปรากฏในพระไตรปิฎกภาษาบาลีในส่วนพระสุตตันตปิฎกขุททกนิกายชาดกมีทั้งหมด547เรื่อง
ปรากฏในเล่มที่27 มี 525 เรื่อง ในเล่มที่ 28 มี 22 เรื่อง รวมทั้งสิ้นจึงเป็น547 เรื่อง ซึ่งจาแนกในแต่ละหมวดแต่ละเรื่องได้ คือ
 เล่มที่ 27 อปัณณกวรรคหมวดว่าด้วยการปฏิบัติไม่ผิด10เรื่อง
 1.ปัณณิกชาดก2.วัณณุปถชาดก3.เสริววาณิชชาดก4.จูฬเสฏฐิชาดก5.ตัณฑุลนาฬิชาดก6.เทวธัมมชาดก7
.กัฏฐหาริชาดก8.คามณิชาดก9.มฆเทวชาดก10.สุขวิหาริชาดก
๕
 เล่มที่ 27 สีลวรรคหมวดว่าด้วยศีล10เรื่อง
 1.ลักขณชาดก2.นิโครธมิคชาดก3.กัณฑิชาดก4.วาตมิคชาดก5.ขราทิยชาดก6.ติปัลลัตถมิคชาดก7.มาลุต
ชาดก8.มตกภัตตชาดก9.อายาจิตภัตตชาดก10.นฬปานชาดก
 เล่มที่ 27 กุรุงควรรคหมวดว่าด้วยกวาง10เรื่อง
 1.กุรุงคมิคชาดก2.กุกกุรชาดก3.โภชาชานียชาดก4.อาชัญญชาดก5.ติตถชาดก6.มหิฬามุขชาดก7.อภิณห
ชาดก8.นันทิวิสาลชาดก9.กัณหชาดก10.มุนิกชาดก
 เล่มที่ 27 กุลาวกวรรคหมวดว่าด้วยลูกนกครุฑ10เรื่อง
 1.กุลาวกชาดก2.นัจจชาดก3.สัมโมทมานชาดก4.มัจฉชาดก5.วัฏฏกชาดก6.สกุณชาดก7.ติตติรชาดก8.พ
กชาดก9.นันทชาดก10.ขทิรังคารชาดก
 อัตถกามวรรคหมวดว่าด้วยผู้ใคร่ประโยชน์10เรื่อง
ทศชาติชาดก
1. เตมิยชาดก
2. ชนกชาดก
3. สุวรรณสามชาดก
4. เนมิราชชาดก
5. มโหสถชาดก
6. ภูริทัตชาดก
7. จันทชาดก
8. นารทชาดก
9. วิธูรชาดก
10. มหาเวสสันดรชาดก
ปัญญาสชาดก50 เรื่อง
ปัญญาสชาดกเป็นชาดกที่ไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกไม่ปรากฏชัดเจนถึงชื่อผู้แต่งหรือปีที่แต่งแต่ก็มีผู้สันนิษฐาน
และทราบเพียงแต่ว่าผู้แต่งคือภิกษุชาวเชียงใหม่ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าดิศวรกุมาร
กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าน่าจะแต่งขึ้นระหว่างพ.ศ.๒๐๐๐- ๒๒๐๐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ลิขิต
ลิขิตานนท์คาดว่าน่าจะแต่งขึ้นประมาณพ.ศ.๒๐๓๘- ๒๐๖๘แต่ศาสตราจารย์ดร.นิยะดา
สาริกภูติให้ข้อมูลเสริมต่อชาดกชุดนี้ว่าน่าจะเก่ากว่านั้นเพราะมีหลักฐานเป็นศิลาจารึกหลักหนึ่งของพม่าซึ่งจารึกเมื่อจ.ศ.
๖๒๗(พ.ศ. ๑๘๐๘) ตั้งอยู่ที่วัดKusa-samutiหมู่บ้าน
Pwasawปัญญาสชาดกแต่งเลียนแบบชาตกัฏฐกถาเพื่อเป็นการสอนศาสนาโดยใช้ชาดกและแต่งเป็นชาดกนอกนิบาต ๕๐
เรื่อง ผนวกกับปัจฉิมภาคอีก๑๑เรื่อง ดังนี้
1. สมุททโฆสชาดกเป็นที่มาของสมุทรโฆษคาฉันท์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
2. สุธนชาดกมีผู้นาไปแต่งเป็นบทละครนอกในสมัยกรุงศรีอยุธยา
3. สุธนุชาดก
4. รัตนปโชตชาดก
5. สิริวิบุลกิตติชาดก
๖
6. วิบุลราชชาดกเป็นเรื่องที่หลวงศรีปรีชา(เซ่ง)
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศนาไปแต่งเป็นโครงเรื่องของกลอนกลบทชนิดต่างๆ
เรียกรวมว่ากลบทศิริวิบุลกิตติ
7. สิริจุฑามณิชาดก
8. จันทราชชาดก
9. สุภมิตตชาดก
10. สิริธรชาดก
11. ทุลกบัณฑิตชาดก
12. อาทิตชาดก
13. ทุกัมมานิกชาดก
14. มหาสุรเสนชาดก
15. สุวรรณกุมารชาดก
16. กนกวรรณราชชาดก
17. วิริยบัณฑิตชาดก
18. ธรรมโสณฑกชาดก
19. สุทัสนชาดก
20. วัฏกังคุลีราชชาดก
21. โบราณกบิลราชชาดก
22. ธรรมิกบัณฑิตราชชาดก
23. จาคทานชาดก
24. ธรรมราชชาดก
25. นรชีวชาดก
26. สุรูปชาดก
27. มหาปทุมชาดก
28. ภัณฑาคารชาดก
29. พหลาคาวีชาดกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงนาไปเป็นต้นเรื่องของละครนอกเรื่องคาวี
และเรื่องพหลคาวีชาดกนี้
พระมหาราชครูในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชก็ได้นาไปแต่งเป็นเรื่องเสือโคคาฉันท์ด้วย
30. เสตบัณฑิตชาดก
31. ปุปผชาดก
32. พาราณสิราชชาดก
33. พรหมโฆสราชชาดก
34. เทวรุกขกุมารชาดก
35. สลภชาดก
36. สิทธิสารชาดก
37. นรชีวกฐินชาดก
๗
38. อติเทวราชชาดก
39. ปาจิตตกุมารชาดก
40. สรรพสิทธิกุมารชาดกเป็นต้นเรื่องที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กรมพระปรมานุชิตชิโนรสนาไปเป็นพระนิพนธ์เรื่องสรรพสิทธิคาฉันท์
41. สังขปัตตชาดก
42. จันทเสนชาดก
43. สุวรรณกัจฉปชาดก
44. สิโสรชาดก
45. วรวงสชาดก
46. อรินทมชาดก
47. รถเสนชาดก
48. สุวรรณสิรสาชาดก
49. วนาวนชาดก
50. พากุลชาดก
ปัจฉิมภาคชาดก11 เรื่อง
1. โสนันทชาดก
2. สีหนาทชาดก
3. สุวรรณสังขชาดกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงนาไปแปลงและทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทละครนอกเรื่อ
งสังข์ทอง
4. สุรัพภชาดก
5. สุวรรณกัจฉปชาดก
6. เทวันธชาดก
7. สุบินชาดก
8. สุวรรณวงศชาดก
9. วรนุชชาดก
10. สิรสาชาดก
11. จันทคาธชาดก
อิทธิพลชาดกต่อสังคม
 อิทธิพลด้านคาสอน
 อิทธิพลด้านจิตรกรรม
 อิทธิพลด้านวรรณคดี/ภาษา
 อิทธิพลด้านความเชื่อ
มหานิบาตชาดก พระเจ้าสิบชาติ
๘
ทศชาติชาดก
เ ต มี ย์ ช า ด ก - ( พระเตมีย์ใบ้ )
พระราชาพระองค์หนึ่งทรงพระนามว่าพระเจ้ากาสิกราชครองเมืองชื่อว่าพาราณสีมีพระมเหสีพระนามว่าจันทรเทวี
พระราชาไม่มีพระราชโอรสที่จะครองเมืองต่อจากพระองค์จึงโปรดให้ พระนางจันทรเทวีทาพิธีขอพระโอรสจากเทพเจ้า
พระนางจันทรเทวีจึงทรงอธิษฐานว่า
"ข้าพเจ้าได้รักษาศีลบริสุทธิ์ตลอดมาขอให้บุญกุศลนี้บันดาลให้ข้าพเจ้ามีโอรสเถิด"ด้วยอานุภาพแห่งศีลบริสุทธิ์
พระนางจันทรเทวีทรงครรภ์และประสูติพระโอรสสมดังความปราถนาพระโอรสมีรูปโฉมงดงามยิ่งนักทั้งพระราชาพระมเหสี
และประชาชนทั้งหลายมีความยินดีเป็นที่สุดพระราชาจึงตั้งพระนามโอรสว่าเตมีย์แปลว่าเป็นที่ยินดีของคนทั้งหลาย
บรรดาพราหมณ์ผู้รู้วิชาทานายลักษณะบุคคลได้กราบทูลพระราชาว่าพระโอรสองค์นี้มีลักษณะประเสริฐเมื่อเติบโตขึ้น
จะได้เป็นพระราชาธิราชของมหาทวีปทั้งสี่พระราชาทรงยินดีเป็นอย่างยิ่ง และทรงเลือกแม่นมที่มีลักษณะดีเลิศตามตารา
จานวน 64 คนเป็นผู้ปรนนิบัติเลี้ยงดูพระเตมีย์กุมารวันหนึ่งพระราชาทรงอุ้มพระเตมีย์ไว้บนตักขณะที่กาลัง
พิพากษาโทษผู้ร้าย4คนพระราชาตรัสสั่งให้เอาหวายที่มีหนามแหลมคมมาเฆี่ยนผู้ร้ายคนหนึ่งแล้วส่งไปขังคุก
ให้เอาฉมวกแทงศีรษะผู้ร้ายคนที่สามและให้ใช้หลาวเสียบผู้ร้ายคนสุดท้าย
พระเตมีย์ซึ่งอยู่บนตักพระบิดาได้ยินคาพิพากษาดังนั้นก็มีความตกใจหวาดกลัวทรงคิดว่า
"ถ้าเราโตขึ้นได้เป็นพระราชาเราก็คงต้องตัดสินโทษผู้ร้ายบ้างและคงต้องทาบาปเช่นเดียวกันนี้เมื่อเราตายไป
ก็จะต้องตกนรกอย่างแน่นอน"
เนื่องจากพระเตมีย์เป็นผู้มีบุญจึงราลึกชาติได้และทรงทราบว่าในชาติก่อนได้เคยเป็นพระราชาครองเมืองและได้ตัดสินโทษ
ผู้ร้ายอย่างเดียวกันนี้เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์จึงต้องตกนรกอยู่ถึง 7,000ปี ได้รับความทุกข์ทรมาณเป็นอันมาก
พระเตมีย์ทรงมีความหวาดกลัวอย่างยิ่งทรงราพึงว่า
๙
"ทาอย่างไรหนอ เราจึงจะไม่ต้องทาบาปและไม่ต้องตกนรกอีก"
ขณะนั้นเทพธิดาที่รักษาเศวตฉัตรได้ยินคาราพึงของพระเตมีย์จึงปรากฏกายให้พระองค์เห็นและแนะนาพระเตมีย์ว่า
"หากพระองค์ทรงหวั่นที่จะกระทาบาปทรงหวั่นเกรงว่าจะตกนรกก็จงทาเป็นหูหนวกเป็นใบ้ และเป็นง่อยเปลี้ย
อย่าให้ชนทั้งหลายรู้ว่าพระองค์เป็นคนฉลาดเป็นคนมีบุญพระองค์จะต้องมีความอดทน
ไม่ว่าจะได้รับความเดือดร้อนอย่างใดก็ต้องแข็งพระทัยต้องทรงต่อสู้ กับพระทัยตนเองให้จงได้
อย่ายอมให้สิ่งหนึ่งสิ่งใดมาชักจูงใจพระองค์ไปจากหนทางที่พระองค์ตั้งพระทัยไว้"
พระเตมีย์กุมารได้ยินเทพธิดาว่าดังนั้นก็ดีพระทัยเป็นอย่างยิ่งจึงทรงตั้งจิตอธิษฐานว่า
"ต่อไปนี้เราจะทาตนเป็นคนใบ้หูหนวกและง่อยเปลี้ยไม่ว่าจะมีเรื่องอันใดเกิดขึ้นเราก็จะไม่ละความตั้งใจเป็นอันขาด"
นับแต่นั้นมา พระเตมีย์ก็ทาพระองค์เป็นคนหูหนวกเป็นใบ้ และเป็นง่อยไม่ร้อง ไม่พูด ไม่หัวเราะและไม่เคลื่อนไหว
ร่างกายเลยพระราชาและพระมเหสีทรงมีความวิตกกังวลในอาการของพระโอรสตรัสสั่งให้พี่เลี้ยงและแม่นมทดลอง
ด้วยอุบายต่างๆเช่นให้อดนม พระเตมีย์ก็ทรงอดทนไม่ร้องไห้ ไม่แสดงความหิวโหยครั้นพระราชาให้พี่เลี้ยงเอาขนมล่อ
พระเตมีย์ก็ไม่สนพระทัยนิ่งเฉยตลอดเวลาพระราชาทรงมีความหวังว่าพระโอรสคงไม่ได้หูหนวกเป็นใบ้และง่อยเปลี้ยจริง
จึงโปรดให้ทดลองด้วยวิธีต่างๆเป็นลาดับเมื่ออายุ 2 ขวบเอาผลไม้มาล่อพระกุมารก็ไม่สนพระทัยอายุ4ขวบ
เอาของเสวยรสอร่อยมาล่อพระกุมารก็ไม่สนพระทัยอายุ 5ขวบพระราชาให้เอาไฟมาขู่พระเตมีย์ก็ไม่แสดงความตกใจกลัว
อายุ 6 ขวบเอาช้างมาขู่อายุ 7 ขวบเอางูมาขู่ พระเตมีย์ก็ไม่หวาดกลัวไม่ถอยหนีเหมือนเด็กอื่นๆ
พระราชาทรงทดลองด้วยวิธีการต่างๆเรื่อยมาจนพระเตมีย์อายุได้ 16พรรษาก็ไม่ได้ผลพระเตมีย์ยังทรงทาเป็นหูหนวก
ทาเป็นใบ้ และไม่เคลื่อนไหวเลยตลอดเวลา 16ปี
ในที่สุด พระราชาก็ให้หาบรรดาพราหมณ์และที่ปรึกษาทั้งหลายมาและตรัสถามว่า
"พวกเจ้าเคยทานายว่าลูกเราจะเป็นผู้มีบุญเป็นพระราชาผู้ยิ่งใหญ่ เมื่อลูกเรามีอาการเหมือนคนหูหนวกเป็นใบ้ และเป็น
ง่อยเช่นนี้เราจะทาอย่างไรดี"
พราหมณ์และที่ปรึกษาพากันกราบทูลว่า
"เมื่อตอนที่ประสูตินั้นพระโอรสมีลักษณะเป็นผู้มีบุญแต่บัดนี้เมื่อได้กลับกลายเป็นคนหูหนวกเป็นใบ้เป็นง่อย
ก็กลายเป็นกาลกิณีจะทาให้บ้านเมืองและประชาชนเดือดร้อนขอให้พระองค์สั่งให้นาพระโอรสไปฝังที่ป่าช้าเถิดพะย่ะค่ะ
จะได้สิ้นอันตราย"
พระราชาได้ยินดังนั้นก็ทรงเศร้าพระทัยด้วยความรักพระโอรสแต่ก็ไม่อาจแก้ไขอย่างไรได้ เพราะเป็นห่วงบ้านเมืองและ
ประชาชนจึงต้องทรงทาตามคากราบของพราหมณ์และที่ปรึกษาทั้งหลายพระนางจันทเทวีทรงทราบว่าพระราชาให้นา
พระโอรสไปฝังที่ป่าช้าก็ทรงร้องไห้คร่าครวญว่า
"พ่อเตมีย์ลูกรักของแม่ แม่รู้ว่าลูกไม่ใช่คนง่อยเปลี้ยไม่ใช่คนหูหนวกไม่ใช่คนใบ้ ลูกอย่าทาอย่างนี้เลยแม่เศร้าโศกมา
ตลอดเวลา16ปีแล้ว ถ้าลูกถูกนาไปฝังแม่คงเศร้าโศกจนถึงตายได้นะลูกรัก"
พระเตมีย์ได้ยินดังนั้นก็ทรงสงสารพระมารดาเป็นอันมากทรงสานึกในพระคุณของพระมารดา
แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงราลึกว่าพระองค์ตั้งพระทัยไว้ว่าจะไม่ทาการใดที่จะทาให้ต้องไปสู่นรกอีก
จะไม่ทรงยอมละความตั้งใจที่จะทาเป็นใบ้หูหนวกและเป็นง่อย จะไม่ยอมให้สิ่งใดมาชักจูงใจพระองค์
ไปจากหนทางที่ทรงวางไว้แล้วนั้นเป็นอันขาด
พระราชาจึงตรัสสั่งให้นายสารถีชื่อสุนันทะนาพระเตมีย์ขึ้นรถเทียมม้าพาไปที่ป่าช้าผีดิบ
ให้ขุดหลุมแล้วเอาพระเตมีย์โยนลงไปในหลุมเอาดินกลบเสียให้ตาย
นายสุนันทะจึงทรงอุ้มพระเตมีย์ขึ้นรถเทียมม้าพาไปที่ป่าช้าผีดิบเมื่อไปถึงป่าช้านายสุนันทะก็เตรียมขุดหลุมจะฝังพระเตมีย์
พระเตมีย์กุมารประทับอยู่บนราชรถทรงราพึงว่า
๑๐
"บัดนี้เราพ้นจากความทุกข์ว่าจะต้องเป็นพระราชาพ้นความทุกข์ว่าจะต้องทาบาปเราได้อดทนมาตลอดเวลา 16ปี
ไม่เคยเคลื่อนไหวร่างกายเลยเราจะลองดูว่าเรายังคงเคลื่อนไหวได้หรือไม่มีกาลังร่างกายสมบูรณ์หรือไม่"
ราพึงแล้วพระเตมีย์ก็เสด็จลงจากราชรถทรงเคลื่อนไหวร่างกายทดลองเดินไปมาก็ทราบว่ายังคงมีกาลังร่างกาย
สมบูรณ์เหมือนคนปกติจึงทดลองยกราชรถก็ปรากฏว่าทรงมีกาลังยกราชรถขึ้นกวัดแกว่งได้อย่างง่ายดายจึงทรงเดินไปหา
นายสุนันทะที่กาลังก้มหน้าก้มตาขุดหลุมอยู่พระเตมีย์ตรัสถามนายสุนันทะว่า
"ท่านเร่งรีบขุดหลุมไปทาไม"
นายสุนันทะตอบคาถามโดยไม่ได้เงยหน้าขึ้นดูว่า
"เราขุดหลุมจะฝังพระโอรสของพระราชาเพราะพระโอรสเป็นง่อยเป็นใบ้และหูหนวกพระราชาตรัสสั่งให้ฝังเสีย
จะได้ไม่เป็นอันตรายแก่บ้านเมือง"
พระเตมีย์จึงตรัสว่า
"เราไม่ได้เป็นใบ้ ไม่ได้หูหนวกและไม่ง่อยเปลี้ยจงเงยขึ้นดูเราเถิดถ้าท่านฝังเราเสียท่านก็จะประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นธรรม"
นายสารถีเงยขึ้นดูเห็นพระเตมีย์ก็จาไม่ได้ จึงถามว่า
"ท่านเป็นใคร ท่านมีรูปร่างงามราวกับเทวดาท่านเป็นเทวดาหรือหรือว่าเป็นมนุษย์ท่านเป็นลูกใครทาอย่างไร
เราจึงจะรู้จักท่าน"
พระเตมีย์ตอบว่า
"เราคือเตมีย์กุมารโอรสพระราชาผู้เป็นนายของท่านถ้าท่านฝังเราเสียท่านก็จะได้ชื่อว่าทาสิ่งที่ไม่เป็นธรรม
พระราชาเปรียบเหมือนต้นไม้ ตัวเราเปรียบเหมือนกิ่งไม้ ท่านได้อาศัยร่มเงาไม้ ถ้าท่านฝังเราเสียท่านก็ได้ชื่อว่า
ทาสิ่งที่ไม่เป็นธรรมนายสารถียังไม่เชื่อว่าเป็นพระกุมารที่ตนพามาพระเตมีย์ทรงประสงค์จะให้นายสารถีเชื่อจึงตรัสอธิบาย
ให้เห็นว่าหากนายสารถีจะฝังพระองค์ก็ได้ชื่อว่าทาร้ายมิตรทรงอธิบายว่า"ผู้ไม่ทาร้ายมิตรจะไปที่ไดก็มีคนคบหามาก
จะไม่อดอยากไปที่ใดก็มีผู้สรรเสริญบูชาโจรจะไม่ข่มเหงพระราชาไม่ดูหมิ่นจะเอาชนะศัตรูทั้งปวงได้ ผู้ไม่ทาร้ายมิตร
เมื่อมาถึงบ้านเรือนของตนหมู่ญาติและประชาชนจะพากันชื่นชมยกย่องผู้ไม่ทาร้ายมิตรย่อมได้รับการสักการะ
เพราะเมื่อสักการะท่านแล้วย่อมได้รับการสักการะตอบเมื่อเคารพบูชาท่านแล้วย่อมได้รับการเคารพตอบผู้ไม่ทาร้ายมิตร
ย่อมรุ่งเรืองเหมือนกองไฟรุ่งโรจน์ดังเทวดาเป็นผู้มีมิ่งขวัญสิริมงคลประจาตนอยู่เสมอผู้ไม่ทาร้ายมิตรจะทาการใดก็สาเร็จผล
โคจะมีลูกมากหว่านพืชลงในนาก็จะงอกงามแม้จะพลัดตกเหวตกจากภูเขาตกจากต้นไม้ ก็จะไม่เป็นอันตราย
ผู้ไม่ทาร้ายมิตรศัตรูไม่อาจข่มเหงได้ เพราะเป็นผู้มีมิตรมากเปรียบเหมือนต้นไทรใหญ่ที่มีรากติดต่อพัวพัน
ลมแรงก็ไม่อาจทาร้ายได้ "
นายสารถีได้ยินพระเตมีย์ตรัสยิ่งเกิดความสงสัยจึงเดินมาดูที่ราชรถก็ไม่เห็นพระกุมารที่ตนพามาครั้นเดิน
กลับมาพินิจพิจารณาพระเตมีย์อีกครั้งก็จาได้ จึงทูลว่า "ข้าพเจ้าจะพาพระองค์กลับวังขอเชิญเสด็จกลับไปครองพระนครเถิด"
พระเตมีย์ตรัสตอบว่า
" เราไม่กลับไปวังอีกแล้วเราได้ตัดขาดจากความยินดีในสมบัติทั้งหลายเราได้ตั้งความอดทนมาเป็นเวลาถึง 16ปี
อันราชสมบัติ ทั้ง พระนครและความสุขความรื่นเริงต่างๆเป็นของน่าเพลิดเพลิน
แต่าเราไม่ปรารถนาจะหลงอยู่ในความเพลิดเพลินนั้นไม่ปรารถนาจะกระทาบาปอีกเราจะไม่ก่อเวรให้เกิดขึ้นอีกแล้ว
บัดนี้เราพ้นจากภาระนั้นแล้วเพราะพระบิดาพระมารดาปล่อยเราให้พ้นจากราชสมบัติมาแล้วเราพ้นจากความหลงใหล
ในกิเลสทั้งหลายเราจะขอบวชอยู่ในป่านี้แต่ลาพังเราต่อสู้ได้ชัยชนะในจิตใจของเราแล้ว"
เมื่อตรัสดังนั้นพระเตมีย์กุมารมีความชื่นชมยินดีอย่างยิ่งราพึงกับพระองค์เองว่า
"ผู้ที่ไม่ใจเร็วด่วนได้ ผู้ที่มีความอดทนย่อมได้รับผลสาเร็จด้วยดี"
นายสุนันทะสารถีได้ฟังก็เกิดความยินดีทูลพระเตมีย์ว่าจะขอบวชอยู่กับพระเตมีย์ในป่าแต่พระองค์เห็นว่า
หากนายสารถีไม่กลับไปเมืองจะเกิดความสงสัยว่าพระองค์หายไปไหนทั้งนายสารถี ราชรถเครื่องประดับทั้งปวงก็สูญหายไป
๑๑
ควรที่นายสารถีจะนาสิ่งของทั้งหลายกับไปพระราชวังทูลเรื่องราวให้พระราชาทรงทราบเสียก่อนแล้วจึงค่อยกลับมา
บวชเมื่อหมดภาระ นายสุนันทะจึงกลับไปกราบทูลพระราชาว่าพระเตมีย์กุมารมิได้วิกลวิการ แต่ทรงมีรูปโฉมงดงามและ
ตรัสได้ไพเราะเหตุที่แสร้งทาเป็นคนพิการก็เพราะไม่ปรารถนาจะครองราชสมบัติไม่ปรารถนาจะก่อเวรทาบาปอีกต่อไป
เมื่อพระราชาและพระมเหสีได้ทรงทราบก็ทรงปลื้มปิติยินดีโปรดให้จัดกระบวนไปรับพระเตมีย์กลับจากป่าขณะนั้น
พระเตมีย์ทรงผนวชแล้วประทับอยู่ในบรรณศาลาซึ่งเทวดาเนรมิตไว้ให้ เมื่อพระบิดาพระมารดาเสด็จไปถึง
พระเตมีย์จึงเสด็จมาต้อนรับทักทายปราศรัยกันด้วยความยินดีพระราชาเห็นพระโอรสผนวชเป็นฤาษีเสวยใบไม้ลวก
เป็นอาหารและประทับอยู่ลาพังในป่าจึงตรัสถามว่าเหตุใดจึงยังมีผิวพรรณผ่องใสร่างกายแข็งแรงพระเตมีย์ตรัส
ตอบพระบิดาว่า"อาตมามีร่างกายแข็งแรงผิวพรรณผ่องใสเพราะไม่ต้องเศร้าโศกถึงอดีตไม่ต้องรอคอยอนาคต
อาตมาใช้ชีวิตให้เป็นไปตามที่สมควรในปัจจุบันคนพาลนั้นย่อมซูบซีดเพราะมัวโศกเศร้าถึงอดีตเพราะมัวรอคอยอนาคต"
พระราชาตรัสตอบว่า
"ลูกยังหนุ่มยังแน่นแข็งแรงจะมามัวอยู่ทาอะไรในป่ากลับไปบ้านเมืองเถิดกลับไปครองราชสมบัติมีโอรสธิดา
เมื่อชราแล้วจึงค่อยมาบวช"
พระเตมีย์ตรัสตอบว่า"การบวชของคนหนุ่มย่อมเป็นที่สรรเสริญใครเล่าจะนอนใจได้ว่ายังเป็นหนุ่มยังอยู่ไกลจากความตาย
อายุคนนั้นสั้นนักเหมือนอายุของปลาในเวลาที่น้าน้อย"
พระราชาตรัสขอให้พระเตมีย์กลับไปครองราชสมบัติทรงกล่าวชักชวนให้นึกถึงความสุขสบายต่างๆ
พระเตมีย์จึงตรัสตอบว่า"วันคืนมีแต่จะล่วงเลยไปผู้คนมีแต่จะแก่ เจ็บและตายจะเอาสมบัติไปทาอะไรทรัพย์สมบัติและ
ความสุขทั้งหลายเอาชนะความตายไม่ได้ อาตมาพ้นจากความผูกพันทั้งหลายแล้วไม่ต้องการทรัพย์สมบัติอีกแล้ว"
เมื่อพระราชาได้ยินดังนั้นจึงเห็นประโยชน์อันใหญ่ยิ่งในการออกบวชทรงประสงค์ที่จะละทิ้งราชสมบัติออกบวชพระมเหสี
และเสนาข้าราชบริพารทั้งปวงรวมทั้งบรรดาประชาชนทั้งหลายในเมืองพาราณสีก็พร้อมใจกันออกบวช
บาเพ็ญเพียรโดยทั่วหน้ากันเมื่อตายไปก็ได้ไปเกิดในสวรรค์พ้นจากความผูกพันในโลกมนุษย์ทั้งนี้เป็นด้วยพระเตมีย์กุมาร
ทรงมีความอดทนมีความตั้งใจอันมั่นคงแน่วแน่ในการที่ไม่ก่อเวรทาบาปทรงมุ่งมั่นอดทน จนประสบผลสาเร็จดังที่หวัง
เหมือนดังที่ทรงราพึงว่า
" ผู้ที่ไม่ใจเร็วด่วนได้ ผู้ที่มีความอดทนย่อมได้รับผลสาเร็จด้วยดี"
คติธรรม : บาเพ็ญเนกขัมมบารมี
"เมื่อมีประสงค์ในสิ่งใดก็สมควรมุ่งมั่นตั้งใจกระทาตามความมุ่งหมายนั้นอย่างหนักแน่นอดทนอย่างเพียรพยายามเป็นที่สุด
และความพากเพียรอันเด็ดเดี่ยวแน่วแน่นั้นย่อมนาบุคคลนั้นไปสู่ความสาเร็จอันยิ่งใหญ่อย่างแท้จริง"
๑๒
ช น ก ช า ด ก - ( พระมหาชนก)
ณ เมืองมิถิลาแห่งรัฐวิเทหะพระเจ้าแผ่นดินทรงพระนามว่าพระเจ้ามหาชนกทรงมีพระโอรสสององค์คือเจ้าอริฏฐชนก
และ เจ้าโปลชนกเจ้าอริฏฐชนกทรงเป็นอุปราชส่วนเจ้าโปลชนกทรงเป็นเสนาบดีเมื่อพระราชบิดาสวรรคต
เจ้าอริฏฐชนกผู้เป็นอุปราชก็ได้ครองบ้านเมืองต่อมาเจ้าโปลชนกทรงเป็นอุปราช
ทรงเอาใจใส่ดูแลบ้านเมืองช่วยเหลือพระเชษฐาอย่างดียิ่งมีอามาตย์คนหนึ่งไม่พอใจพระเจ้าโปลชนกจึงหาอุบายให้
พระราชาอริฏฐชนกระแวงพระอนุชาโดยทูลพระราชาว่าเจ้าโปลชนกคิดขบถจะปลงพระชนม์พระราชาพระราชาทรงเชื่อคา
อามาตย์จึงให้จับเจ้าโปลชนกไปขังไว้ เจ้าโปลชนกเสด็จหนีไปจากที่คุมขังได้หลบไปอยู่ที่ชายแดนเมืองมิถิลาเจ้าโปลชนก
ทรงคิดว่าเมื่อครั้งที่ยังเป็นอุปราชนั้นมิได้เคยคิดร้ายต่อพระราชาผู้เป็นพี่เลยแต่ก็ยังถูกระแวงจนต้องหนีมา
ถ้าพระราชาทรงรู้ว่าอยู่ที่ไหนก็คงให้ทหารมาจับไปอีกจนได้ บัดนี้ผู้คนมากมายที่ชายแดนที่เห็นใจ
และพร้อมที่จะเข้าเป็นพวกด้วยควรที่จะรวบรวมผู้คนไปโจมตีเมืองมิถิลาเสียก่อนจึงจะดีกว่า
เมื่อคิดดังนั้นแล้วเจ้าโปลชนกก็พาสมัครพรรคพวกยกเป็นกองทัพไปล้อมเมืองมิถิลาบรรดาทหารแห่งเมืองมิถิลาพากัน
เข้ากับเจ้าโปลชนกอีกเป็นจานวนมากเพราะเห็นว่าเจ้าโปลชนกเป็นผู้ซื่อสัตย์และมีความสามารถแต่กลับถูกพระราชาระแวง
และจับไปขังไว้โดยไม่ยุติธรรมครั้นเมื่อเจ้าโปลชนกมีผู้คนไพร่พลเข้าสมทบด้วยเป็นจานวนมากมายเช่นนี้
พระเจ้าอริฏฐชนกทรงเห็นว่าไม่มีทางจะเอาชนะได้ จึงตรัสสั่งพระมเหสีซึ่งกาลังทรงครรภ์แก่ ให้ทรงหลบหนีเอาตัวรอด
ส่วนพระองค์เองทรงออกทาสงครามและสิ้นพระชนม์ในสนามรบเจ้าโปลชนกจึงทรงได้เป็นกษัตริย์ครองเมืองมิถิลาสืบต่อมา
ฝ่ายพระมเหสีของพระเจ้าอริฏฐชนกเสด็จหนีออกจากเมืองมาตั้งพระทัยจะเสด็จไปอยู่เมืองกาลจัมปากะ
แต่กาลังทรงครรภ์แก่ เดินทางไม่ไหวด้วยเดชานุภาพแห่งพระโพธิสัตว์ซึ่งอยู่ในพระครรภ์พระอินทร์จึงเสด็จมาช่วย
ทรงแปลงกายเป็นชายชราขับเกวียนมาที่ศาลาที่พระนางพักอยู่และถามขึ้นว่า
"มีใครจะไปเมืองกาลจัมปากะบ้าง"พระนางดีพระทัยรีบตอบว่า"ลุงจ๋าฉันจะไปจ๊ะ"พระอินทร์แปลงจึงรับพระนางขึ้นเกวียน
พาเดินทางไปเมืองกาลจัมปากะด้วยอานุภาพเทวดาแม้ระยะทางไกลถึง 60โยชน์
เกวียนนั้นก็เดินทางไปถึงเมืองในชั่ววันเดียวพระมเหสีเสด็จไปนั่งพักอยู่ในศาลาแห่งหนึ่งในเมืองนั้น
๑๓
บังเอิญมีพราหมณ์ทิศาปาโมกข์ผู้หนึ่งเดินผ่านมาเห็นพระนางเข้าก็เกิดความเอ็นดูสงสารจึงเข้าไปไต่ถาม
พระนางก็ตอบว่าหนีมาจากเมืองมิถิลาและไม่มีญาติพี่น้องอยู่ที่เมืองนี้เลยพราหมาณ์ทิศาปาโมกข์จึงรับพระนางไปอยู่ด้วย
ที่บ้านของตนอุปการะเลี้ยงดูพระนางเหมือนเป็นน้องสาวไม่นานนักพระนางก็ประสูติพระโอรสทรงตั้งพระนามว่า
มหาชนกกุมารซึ่งเป็นพระนามของพระอัยกาของพระกุมารมหาชนกกุมารทรงเติบโตขึ้นในเมืองกาลจัมปากะ
มีเพื่อนเล่นเด็กๆวัยเดียวกันเป็นจานวนมากวันหนึ่งมหาชนกกุมารโกรธกับเพื่อนเล่นจึงลากเด็กคนนั้นไปด้วยกาลังมหาศาล
เด็กก็ร้องไห้บอกกับคนอื่นๆว่าลูกหญิงม่ายรังแกเอามหาชนกกุมารได้ยินก็แปลกพระทัยจึงไปถามพระมารดาว่า
"ทาไมเพื่อนๆพูด ว่าลูกเป็นลูกแม่ม่ายพ่อของลูกไปไหน"พระมารดาตอบว่า"ก็ท่านพราหมณ์ทิศาปาโมกข์นั่นแหล่ะเป็น
พ่อของลูก"เมื่อมหาชนกกุมารไปบอกเพื่อนเล่นทั้งหลายเด็กเหล่านั้นก็หัวเราะเยาะบอกว่า"ไม่จริง
ท่านอาจารย์ทิศาปาโมกข์ไม่ใช่พ่อของเจ้า"มหาชนกก็กลับมาทูลพระมารดาอ้อนวอนให้บอกความจริงพระมารดาขัดไม่ได้
จึงตรัสเล่าเรื่องทั้งหมดให้พระโอรสทรงทราบ
เมื่อพระกุมารทราบว่าพระองค์ทรงมีความเป็นมาอย่างไร
ก็ทรงตั้งพระทัยว่าจะร่าเรียนวิชาการเพื่อให้มีความรู้ความสามารถจะได้เสด็จไปเอาราชสมบัติเมืองมิถิลาคืนมา
ครั้นมหาชนกกุมารร่าเรียนวิชาในสานักพราหมณ์จนเติบใหญ่ พระชนม์ได้ 16พรรษาจึงทูลพระมารดาว่า"หม่อมฉันจะเดินทาง
ไปค้าขายเมื่อมีทรัพย์สินมากพอแล้วจะได้คิดอ่านเอาบ้านเมืองคืนมา"พระมารดาทรงนาเอาทรัพย์สินมีค่ามาจากมิถิลา3
สิ่ง คือแก้วมณี แก้วมุกดาและแก้ววิเชียรอันมีราคามหาศาลจึงประทานแก้วนั้นให้พระมหาชนกเพื่อนาไปซื้อสินค้า
พระมหาชนกทรงจัดซื้อสินค้าบรรทุกลงเรือร่วมไปกับพ่อค้าชาวสุวรรณภูมิในระหว่างทางเกิดพายุใหญ่ โหมกระหน่า
คลื่นซัดจนเรือจวนจะแตกบรรดาพ่อค้าและลูกเรือพากันตระหนกตกใจบวงสรวงอ้อน วอนเทพยดาขอให้รอดชีวิต
ฝ่ายมหาชนกกุมารเมื่อทรงทราบว่าเรือจะจมแน่แล้วก็เสวยอาหารจนอิ่มหนาทรงนาผ้ามาชุบน้ามันจนชุ่ม
แล้วนุ่งผ้านั้นอย่างแน่นหนาครั้นเมื่อเรือจมลงเหล่าพ่อค้ากลาสีเรือทั้งปวงก็จมน้ากลายเป็นอาหารของสัตว์น้าไปหมด
แต่พระมหาชนกทรงมีกาลังจากอาหารที่เสวยมีผ้าชุบน้ามันช่วยไล่สัตว์น้าและช่วยให้ลอยตัวอยู่ในน้าได้ดีจึงทรงแหวกว่าย
อยู่ในทะเลได้นานถึง7วันฝ่ายนางมณีเมขลาเทพธิดาผู้รักษามหาสมุทรเห็นพระมหาชนกว่ายน้าอยู่เช่นนั้นจึงลองพระทัย
พระมหาชนก"ใครหนอว่ายน้าอยู่ได้ถึง7วันทั้งๆ ที่มองไม่เห็นฝั่ง จะทนว่ายไปทาไมกัน"พระมหาชนกทรงตอบว่า
"ความเพียรย่อมมีประโยชน์แม้จะมองไม่เห็นฝั่งเราก็จะว่ายไปจนกว่าจะถึงฝั่งเข้าสักวันหนึ่ง"นางมณีเมขลากล่าวว่า
"มหาสมุทรนี้กว้างใหญ่นักท่านจะพยายามว่ายสักเท่าไรก็คงไม่ถึงฝั่งท่านคงจะตายเสียก่อนเป็นแน่"
พระมหาชนกตรัสตอบว่า"คนที่ทาความเพียรนั้นแม้จะต้องตายไปในขณะกาลังทาความเพียรพยายามอยู่
ก็จะไม่มีผู้ใดมาตาหนิติเตียนได้ เพราะได้ทาหน้าที่เต็มกาลังแล้ว"นางมณีเมขลาถามต่อว่า
"การทาความพยายามโดยมองไม่เห็นทางบรรลุเป้าหมายนั้นมีแต่ความยากลาบากอาจถึงตายได้
จะต้องเพียรพยายามไปทาไมกัน"พระมหาชนกตรัสตอบว่า"แม้จะรู้ว่าสิ่งที่เรากาลังกระทานั้นอาจไม่สาเร็จก็ตาม
ถ้าไม่เพียรพยายามแต่กลับหมดมานะเสียแต่ต้นมือย่อมได้รับผลร้ายของความเกียจคร้านอย่างแน่นอนย่อมไม่มีวัน
บรรลุถึงเป้าหมายที่ต้องการบุคคลควรตั้งความเพียรพยายามแม้การนั้นอาจไม่สาเร็จก็ตามเพราะเรามีความพยายาม
ไม่ละความตั้งใจเราจึงยังมีชีวิตอยู่ได้ ในทะเลนี้เมื่อคนอื่นได้ตายกันไปหมดแล้วเราจะพยายามสุดกาลัง
เพื่อไปให้ถึงฝั่งให้จงได้"นางมณีเมขลาได้ยินดังนั้นก็เอ่ยสรรเสริญความเพียรของมหาชนกกุมาร
และช่วยอุ้มพามหาชนกกุมารไปจนถึงฝั่งเมืองมิถิลาวางพระองค์ไว้ที่ศาลาในสวนแห่งหนึ่ง
ในเมืองมิถิลาพระราชาโปลชนกไม่มีพระโอรสทรงมีแต่พระธิดาผู้ฉลาดเฉลียวเป็นอย่างยิ่งพระนามว่าเจ้าหญิงสิวลี
ครั้นเมื่อพระองค์ประชวรหนักใกล้จะสวรรคตบรรดาเสนาทั้งปวงจึงทูลถามขึ้นว่าเมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์แล้วราชสมบัติ
ควรจะตกเป็นของผู้ใดในเมื่อไม่ทรงมีพระโอรสพระเจ้าโปลชนกตรัสสั่งเสนาว่า"ท่านทั้งหลายจงมอบ
ราชสมบัติให้แก่ผู้มีความสามารถดังต่อไปนี้ประการแรกเป็นผู้ที่ทาให้พระราชธิดาของเราพอพระทัยได้ ประการที่สอง
สามารถรู้ว่าด้านไหนเป็นด้านหัวนอนของบัลลังก์รูปสี่เหลี่ยมประการที่สามสามารถยกธนูใหญ่ ซึ่งต้องใช้แรงคนธรรมดา
๑๔
ถึงพันคนจึงจะยกขึ้นได้ ประการที่สี่สามารถชี้บอกขุมทรัพย์มหาศาลทั้ง13แห่งได้"แล้วจึงตรัสบอกปัญหาของขุมทรัพย์ทั้ง13
แห่ง แก่เหล่าอามาตย์เช่นขุมทรัพย์ที่ดวงอาทิตย์ขึ้นขุมทรัพย์ที่ดวงอาทิตย์ตกขุมทรัพย์ที่อยู่ภายในขุมทรัพย์ที่อยู่ภายนอก
ขุมทรัพย์ที่ไม่ใช่ภายในและภายนอกขุมทรัพย์ที่ปลายไม้ ขุมทรัพย์ที่ปลายงาขุมทรัพย์ที่ปลายหางเป็นต้น
เมื่อพระราชาสิ้นพระชนม์บรรดาเสนาบดีทหารพลเรือนและประชาราษฎร์ทั้งหลายต่างพยายามที่จะเป็นผู้สืบราชสมบัติ
แต่ก็ไม่มีผู้ใดสามารถทาให้เจ้าหญิงสีวลีพอพระทัยได้ เพราะล้วนแต่พยายามเอาพระทัยเจ้าหญิงมากเกินไป
จนเสียลักษณะของผู้ที่จะปกครองบ้านเมืองไม่มีผู้ใดสามารถยกมหาธนูใหญ่ได้ ไม่มีผู้ใดรู้ทิศหัวนอนของบัลลังก์สี่เหลี่ยม
และไม่มีผู้ใดไขปริศนาขุมทรัพย์ได้
ในที่สุดบรรดาเสนาข้าราชบริพารจึงควรตั้งพิธีเสี่ยงราชรถเพื่อหาตัวบุคคลผู้มีบุญญาธิการสมควรครองเมือง
บุษยราชรถเสี่ยงทายนั้นก็แล่นออกจากพระราชวังตรงไปที่สวนแล้วหยุดอยู่หน้าศาลาที่พระมหาชนกทรงนอนอยู่
ปุโรหิตที่ตามราชรถจึงให้ประโคมดนตรีขึ้นพระมหาชนกได้ยินเสียงประโคมจึงลืมพระเนตรขึ้นเห็นราชรถก็ทรงดาริว่า
คงเป็นราชรถเสี่ยงทายพระราชาผู้มีบุญเป็นแน่แต่ก็มิได้แสดงอาการอย่างใดกลับบรรทมต่อไปปุโรหิตเห็นดังนั้นก็คิดว่า
บุรุษผู้นี้เป็นผู้มีสติปัญญาไม่ตื่นเต้นตกใจกับสิ่งใดโดยง่ายจึงเข้าไปตรวจดูพระบาทพระมหาชนกเห็นลักษณะต้องตาม
คาโบราณว่าเป็นผู้มีบุญจึงให้ประโคมดนตรีขึ้นอีกครั้งแล้วเข้าไปทูลอัญเชิญพระมหาชนกให้ทรงเป็นพระราชาเมืองมิถิลา
พระมหาชนกตรัสถามว่าพระราชาไปไหนเสียปุโรหิตก็กราบทูลว่าพระราชาสวรรคตไม่มีพระโอรสมี
แต่พระธิดาคือเจ้าหญิงสิวลีแต่องค์เดียวพระมหาชนกจึงทรงรับเป็นกษัตริย์ครองมิถิลาฝ่ายเจ้าหญิงสิวลีได้ทรงทราบว่า
พระมหาชนกได้ราชสมบัติก็ประสงค์จะทดลองว่าพระมหาชนกสมควรเป็นกษัตริย์หรือไม่
จึงให้ราชบุรุษไปทูลเชิญเสด็จมาที่ปราสาทของพระองค์พระมหาชนกก็เฉยเสียมิได้ไปตามคาทูลเจ้าหญิงให้คนไปทูลถึง 3
ครั้ง พระมหาชนกก็ไม่สนพระทัยจนถึงเวลาหนึ่งก็ เสด็จไปที่ปราสาทของเจ้าหญิงเองโดยไม่ทรงบอกล่วงหน้า
เจ้าหญิงตกพระทัยรีบเสด็จมาต้อนรับเชิญไปประทับบนบัลลังก์
พระมหาชนกจึงตรัสถามอามาตย์ว่าพระราชาที่สิ้นพระชนม์ตรัสสั่งอะไรไว้บ้างอามาตย์ก็ทูลตอบ
พระมหาชนกจึงตรัสสั่งว่าข้อที่1 "ที่ว่าทาให้เจ้าหญิงพอพระทัยเจ้าหญิงได้
แสดงแล้วว่าพอพระทัยเราจึงได้เสด็จมาต้อนรับเรา"ข้อที่ 2 เรื่องปริศนาทิศหัวนอนบัลลังก์นั้นพระมหาชนกทรง
คิดอยู่ครู่หนึ่งแล้วถอดเข็มทองคาที่กลัดผ้าโพกพระเศียรออกส่งให้เจ้าหญิงให้วางเข็มทองคาไว้ เจ้าหญิงทรงรับเข็มไปวางไว้
บนบัลลังก์สี่เหลี่ยมพระมหาชนกจึงทรงชี้บอกว่าตรงที่เข็มวางอยู่นั้นแหละคือทิศหัวนอนของบัลลังก์ โดยสังเกตจากการที่
เจ้าหญิงทรงวางเข็มทองคาจากพระเศียรไว้ ข้อที่3 นั้นก็ตรัสสั่งให้นามหาธนูมาทรงยกขึ้นและน้าวอย่างง่ายดายข้อที่ 4
เมื่ออามาตย์กราบทูลถึงปัญหาของขุมทรัพย์ทั้ง13แห่ง พระมหาชนกทรงคิดอยู่ครู่หนึ่งแล้วก็ ตรัสบอกคาแก้ปริศนา
ขุมทรัพย์ทั้ง13 แห่งได้หมด เมื่อสั่งให้คนไปขุดดู ก็พบขุมทรัพย์ตามที่ตรัสบอกไว้ทุกแห่งผู้คนจึงพากันสรรเสริญปัญญาของ
พระมหาชนกกันทั่วทุกแห่งหนพระมหาชนกโปรดให้เชิญพระมารดาและพราหมณ์ ทิศาปาโมกข์จากเมืองกาลจัมปากะ
ทรงอุปถัมภ์ บารุงให้สุขสบายตลอดมาจากนั้นทรงสร้างโรงทานใหญ่ 6ทิศในเมืองมิถิลาทรงบริจาคมหาทานเป็นประจา
เมืองมิถิลาจึงมีแต่ความผาสุกสมบูรณ์ เพราะพระราชาทรงอยู่ในทศพิธราชธรรมต่อมาพระนางสิวลีประสูติพระโอรส
ทรงนามว่าทีฆาวุกุมารเมื่อเจริญวัยขึ้นพระบิดาโปรดให้ดารงตาแหน่งอุปราชอยู่มาวันหนึ่ง
พระราชามหาชนกเสด็จอุทยานทอดพระเนตรเห็นมะม่วงต้นหนึ่งกิ่งหักใบไม้ร่วงอีกต้นมีใบแน่นหนาร่มเย็นเขียวชอุ่ม
จึงตรัสถามอามาตย์กราบทูลว่าต้นมะม่วงที่มีกิ่งหักนั้นเป็นเพราะรสมีผลอร่อยผู้คนจึงพากันสอยบ้าง
เด็ดกิ่งและขว้างปาเพื่อเอาบ้างจนมีสภาพเช่นนั้นส่วนอีกต้นไม่มีผลจึงไม่มีคนสนใจใบและกิ่งจึงสมบูรณ์เรียบร้อยดี
พระราชาได้ฟังก็ทรงคิดว่าราชสมบัติเปรียบเหมือนต้นไม้มีผลอาจถูกทาลายแม้ไม่ถูกทาลายก็ต้องคอยระแวดระวังรักษา
เกิดความกังวลเราจะทาตนเป็นผู้ ไม่มีกังวลเหมือนต้นไม้ไม่มีผลเราจะออกบรรพชาสละราชสมบัติเสียมิให้เกิดกังวล
พระราชาเสด็จกลับมาปราสาทปลงพระเกศาพระมัสสุครองผ้ากาสาวพัสตร์ ครองอัฏฐบริขารครบถ้วน
แล้วเสด็จออกจากมหาปราสาทไปครั้นพระนางสิวลีทรงทราบก็รีบติดตามมาทรงอ้อนวอนให้ พระราชาเสด็จกลับ
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx
ชาดก.docx

More Related Content

More from PingladaPingladaz

ThaiMusic5.doc.docx
ThaiMusic5.doc.docxThaiMusic5.doc.docx
ThaiMusic5.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic1.doc.docx
ThaiMusic1.doc.docxThaiMusic1.doc.docx
ThaiMusic1.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic9.doc.docx
ThaiMusic9.doc.docxThaiMusic9.doc.docx
ThaiMusic9.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic11.doc.docx
ThaiMusic11.doc.docxThaiMusic11.doc.docx
ThaiMusic11.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic10.doc.docx
ThaiMusic10.doc.docxThaiMusic10.doc.docx
ThaiMusic10.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic2.doc.docx
ThaiMusic2.doc.docxThaiMusic2.doc.docx
ThaiMusic2.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic3.doc.docx
ThaiMusic3.doc.docxThaiMusic3.doc.docx
ThaiMusic3.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic4.doc.docx
ThaiMusic4.doc.docxThaiMusic4.doc.docx
ThaiMusic4.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic6.doc.docx
ThaiMusic6.doc.docxThaiMusic6.doc.docx
ThaiMusic6.doc.docx
PingladaPingladaz
 
ThaiMusic12.doc.docx
ThaiMusic12.doc.docxThaiMusic12.doc.docx
ThaiMusic12.doc.docx
PingladaPingladaz
 
mu103-3.pdf
mu103-3.pdfmu103-3.pdf
mu103-3.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-12.pdf
mu103-12.pdfmu103-12.pdf
mu103-12.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-2.pdf
mu103-2.pdfmu103-2.pdf
mu103-2.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-8.pdf
mu103-8.pdfmu103-8.pdf
mu103-8.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-1.pdf
mu103-1.pdfmu103-1.pdf
mu103-1.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-10.pdf
mu103-10.pdfmu103-10.pdf
mu103-10.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-9.pdf
mu103-9.pdfmu103-9.pdf
mu103-9.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-6.pdf
mu103-6.pdfmu103-6.pdf
mu103-6.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-11.pdf
mu103-11.pdfmu103-11.pdf
mu103-11.pdf
PingladaPingladaz
 
mu103-4.pdf
mu103-4.pdfmu103-4.pdf
mu103-4.pdf
PingladaPingladaz
 

More from PingladaPingladaz (20)

ThaiMusic5.doc.docx
ThaiMusic5.doc.docxThaiMusic5.doc.docx
ThaiMusic5.doc.docx
 
ThaiMusic1.doc.docx
ThaiMusic1.doc.docxThaiMusic1.doc.docx
ThaiMusic1.doc.docx
 
ThaiMusic9.doc.docx
ThaiMusic9.doc.docxThaiMusic9.doc.docx
ThaiMusic9.doc.docx
 
ThaiMusic11.doc.docx
ThaiMusic11.doc.docxThaiMusic11.doc.docx
ThaiMusic11.doc.docx
 
ThaiMusic10.doc.docx
ThaiMusic10.doc.docxThaiMusic10.doc.docx
ThaiMusic10.doc.docx
 
ThaiMusic2.doc.docx
ThaiMusic2.doc.docxThaiMusic2.doc.docx
ThaiMusic2.doc.docx
 
ThaiMusic3.doc.docx
ThaiMusic3.doc.docxThaiMusic3.doc.docx
ThaiMusic3.doc.docx
 
ThaiMusic4.doc.docx
ThaiMusic4.doc.docxThaiMusic4.doc.docx
ThaiMusic4.doc.docx
 
ThaiMusic6.doc.docx
ThaiMusic6.doc.docxThaiMusic6.doc.docx
ThaiMusic6.doc.docx
 
ThaiMusic12.doc.docx
ThaiMusic12.doc.docxThaiMusic12.doc.docx
ThaiMusic12.doc.docx
 
mu103-3.pdf
mu103-3.pdfmu103-3.pdf
mu103-3.pdf
 
mu103-12.pdf
mu103-12.pdfmu103-12.pdf
mu103-12.pdf
 
mu103-2.pdf
mu103-2.pdfmu103-2.pdf
mu103-2.pdf
 
mu103-8.pdf
mu103-8.pdfmu103-8.pdf
mu103-8.pdf
 
mu103-1.pdf
mu103-1.pdfmu103-1.pdf
mu103-1.pdf
 
mu103-10.pdf
mu103-10.pdfmu103-10.pdf
mu103-10.pdf
 
mu103-9.pdf
mu103-9.pdfmu103-9.pdf
mu103-9.pdf
 
mu103-6.pdf
mu103-6.pdfmu103-6.pdf
mu103-6.pdf
 
mu103-11.pdf
mu103-11.pdfmu103-11.pdf
mu103-11.pdf
 
mu103-4.pdf
mu103-4.pdfmu103-4.pdf
mu103-4.pdf
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

ชาดก.docx

  • 1. ๑ ชาดก ชาดกคือ เรื่องราวในอดีตชาติของพระโพธิสัตว์ก่อนที่จะมาเกิดในชาติสุดท้ายและได้ ตรัสรู้เป็นพระสัมพุทธเจ้า เรื่องราวของชาติหนึ่งๆก็เรียกว่าชาดกหนึ่งๆรวมทั้งสิ้น547เรื่อง(ซึ่งน่าจะเป็น 550 เรื่อง แต่เดิมและต่อมาหายไป3 เรื่องในภายหลัง)ชาดกอรรถกถาเริ่มต้นตรงที่กล่าวถึงทูเรนิทาน คือพระพุทธเจ้าเริ่มทาความเพียรเพื่อหวังพุทธภูมิในชาติที่เกิดเป็นสุเมธดาบสแล้วกล่าวถึงพระพุทธเจ้าในอดีต 24 พระองค์ที่กล่าวพยากรณ์รับรองพระโพธิสัตว์ของเราว่าจะได้ตรัสรู้พระโพธิญาณเป็นพระพุทธเจ้าองค์ที่25คือ เจ้าชายสิทธัตถโคตมะนี้เอง ความจริงเกี่ยวกับนิทานชาดกที่ควรรู้ก็คือเรื่องชาดกเป็นนิทานซึ่งรวบรวมมาจากที่ต่างๆกัน ไม่ใช่เรื่องที่เกิดขึ้นในที่ใดที่หนึ่งโดยเฉพาะฉะนั้นจะเหมาเอาว่าเป็นพุทธวัจนะล้วนๆที่พระพุทธเจ้าทรงบรรยายไว้ด้วย พระองค์เองก็ไม่อาจจะกล่าวได้เช่นนั้นถ้าจะเรียกว่าเป็นชุมนุมนิทานโบราณที่นามาใช้เพื่อบรรยายหลักธรรมในแง่ต่างๆ ประกอบด้วยการบาเพ็ญบารมี10ประการได้ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อพระราชทานพระบรมราชาธิบายเรื่องชาดกในแง่ความเป็นมาและอื่นๆ แล้วทรงสรุปคุณค่าของหนังสือชาดกไว้ว่า ข้อซึ่งกล่าวมาแล้วข้างต้นนั้นเป็นคาแนะนาให้ท่านทั้งหลายอ่านหนังสือเรื่องชาดกนี้ ตามคาซึ่งข้าพเจ้าเรียกว่าแลดูด้วยตั้งวงกว้างฯแต่แท้จริงเรื่องชาดกนี้เป็นเรื่องนิทานโบราณซึ่งนักปราชญ์ทั้งหลายได้นาสืบๆ กันมาตั้งแต่2500 ปีขึ้นไปหา 3000 ปี ก็เป็นเรื่องที่ควรอยู่ซึ่งเราจะอ่านฯ ธรรมดาผู้ซึ่งมีความพอใจในความรู้วิชาหนังสือและเรื่องทั่วไปในโลกย่อมถือว่าหนังสือซึ่งเขียนไว้แต่โบราณเช่นนี้ เป็นหนังสือสาคัญที่จะส่องให้ความประพฤติความเป็นอยู่และประเพณีของประเทศซึ่งแต่งเรื่องนิทานนั้นเป็นอย่างไร เป็นอุปการะที่จะแต่งเรื่องตานานทั้งปวงโดยทางเทียบเคียงให้รู้คติของคนโบราณในประเทศนั้นๆ ถึงแม้แต่เพียงเรื่องปรารภซึ่งเรารู้อยู่ว่าเป็นพระอาจารย์ผู้รวบรวมคัมภีร์ ชาดกได้เรียบเรียงขึ้นเพื่อจะให้เห็นเหตุผลประกอบท้องเรื่องนิทานก็ดีแต่เรื่องราวเหล่านั้นย่อมมาจากความจริง ซึ่งเป็นไปอยู่ในเวลาซึ่งพระพุทธเจ้ายังดารงพระชนม์อยู่เป็นเครื่องอุปการะใหญ่ ซึ่งจะให้เรื่องราวของประเทศและประชาชนซึ่งอยู่ในประเทศนั้นทั้งความประพฤติของพระสาวกทั้งหลาย ตลอดถึงพระองค์พระพุทธเจ้าเหมือนหนึ่งเล่าเรื่องเป็นท่อนๆในสมัยหนึ่งๆ ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงประพฤติพระอิริยาบถและตรัสสั่งสอนอย่างไร เช่นหนังสือซึ่งเขาคัดข้อที่ผู้มีชื่อเสียงในปัจจุบันหรืออดีตซึ่งไม่ช้านาน ได้กระทาการหรือได้กล่าววาจาอันเป็นข้อควรสังเกตหรือควรจาและน่าพอใจอ่านมารวบรวมขึ้นไว้ด้วยฉะบับหนึ่งต่างหาก ซึ่งผู้รู้ภาษาต่างประเทศคงจะได้พบเห็นอ่านโดยมากถ้าจะพยายามกล่าวเป็นคาไทยก็เห็นว่าตรงกับคาที่เรียกว่าอภินิหาร ซึ่งมีผู้เคยแต่งอยู่บ้างฯความสังเกตอันนี้อาจทาให้เข้าใจในพุทธประวัติแจ่มแจ้งขึ้นฯ แท้จริงหนังสือพุทธประวัตินั้นก็ได้เก็บเรื่องราวจากพระคัมภีร์ต่างๆมารวบรวมเรียบเรียงขึ้นเหมือนอย่างผู้จะแต่งพงศาวดาร ก็ต้องอ่านหนังสือราชการและหนังสือหลักฐานอันมีอยู่ในกาลสมัยที่ตัวจะแต่งนั้นทั่วถึงแล้ว จึงยกข้อที่ควรเรียบเรียงเป็นเรื่องในข้อซึ่งควรจะกล่าวฯแต่ผู้ซึ่งจะอ่านหนังสือโบราณเช่นนี้ จาจะต้องสังเกตกาลสมัยของหนังสือนั้นให้รู้ว่าหนังสือนี้ได้แต่งขึ้นในประเทศใดประเทศนั้นมีภูมิฐานอย่างไร ความประพฤติของมนุษย์ในประเทศนั้นเป็นอยู่ในกาลนั้นอย่างไรความมุ่งหมายของผู้ซึ่งคิดเห็นว่า เป็นการที่ตนจะทาประโยชน์ให้แก่ประชุมชนเป็นอันมากอย่างไรแล้วจะได้ทาการไปด้วยอาการอย่างไรสาเร็จได้อย่างไรฯ ผู้อ่านต้องตั้งใจเหมือนตนได้เกิดขึ้นในขณะนั้นอ่านด้วยน้าใจที่รู้สึกประโยชน์ใช่ประโยชน์ในเวลานั้น ซึ่งจะเกิดความรื่นรมย์ในใจในขณะที่อ่านนั้นและจะเข้าใจแจ่มแจ้งตลอดฯเมื่ออ่านตลอดข้อความแล้ว จะใช้วิจารณปัญญาอย่างหนึ่งอย่างใดสาหรับวินิจฉัยในภายหลังก็ตามเมื่อเข้าใจชัดเจนแล้วก็จะถูกต้องตามความที่เป็นจริงฯ
  • 2. ๒ ข้าพเจ้าขอแนะนาผู้ซึ่งตั้งใจจะอ่านหนังสือชาดกนี้ให้อ่านด้วยวิธีซึ่งข้าพเจ้าเรียกในเบื้องต้นว่าตั้งวงพิจารณากว้าง ดังได้อธิบายมาแล้วนี้ฯ ความหมาย – ประเภทชาดก ชาดกแปลว่าประวัติการทาความดีของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่มีมาในชาติก่อนๆ คาว่าชาตกหรือชาดก แปลว่าผู้เกิดมีรากคามาจากธาตุ(Root)ว่าชนฺ แปลว่า “เกิด”แปลง ชนฺ ธาตุเป็นชาลง ต ปัจจัยในกิริยากิตก์ ตปัจจัยตัวนี้กาหนดให้แปลว่า “แล้ว”มีรูปคาเป็น“ชาต”แปลว่าเกิดแล้วเสร็จแล้วให้ลงก ปัจจัยต่อท้ายอีกสาเร็จรูปเป็น“ชาดก”อ่านออกเสียงตามบาลีสันสกฤตว่า“ชา-ตะ-กะ”แปลว่าผู้เกิดแล้ว เมื่อนาคานี้มาใช้ในภาษาไทยเราออกเสียงเป็นชาดกโดยแปลงต เป็น ด และให้ ก เป็นตัวสะกดในแม่กก ในความหมายคือเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิดถือเอากาเนิดในชาติต่างๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้างแต่ก็ได้พยายามทาความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้ายกล่าวอีกอย่างหนึ่งจะถือว่าเรื่องชาดก เป็นวิวัฒนาการแห่งการบาเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ้าตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ในอรรถกถาแสดงด้วยว่า ผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้าแต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่องเพราะฉะนั้น สาระสาคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้นๆ นัยยะหนึ่งชาดกจึงหมายถึงเรื่องราวของพระพุทธเจ้าเมื่อครั้งที่เสวยพระชาติเป็นพระโพธิสัตว์ พระองค์เสวยพระชาติต่างๆเป็นมนุษย์บ้างอมนุษย์บ้างเทวดาบ้างสัตว์บ้าง เมื่อพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ผู้ใดจะทรงยกชาดกซึ่งเป็นนิทานอิงธรรมมาเล่าเป็นบุคคลาธิษฐาน คือเป็นวิธีการสอนแบบยกเอาเรื่องราวนิทานมาประกอบเพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจง่ายแทนที่จะสอนธรรมะกันตรงๆ นิทาน ตามพจนานุกรมมาจาก(มค.นิทาน) น. เหตุ ; เรื่องเดิม; คาเล่าเรื่อง,เรื่องนิยาย นิทานแปลว่าเหตุเป็นเครื่องมอบให้ซึ่งผล,มูลเค้า,เรื่องเดิม,สมุฏฐาน ชาดกแปลว่าผู้เกิด คือเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิดถือเอากาเนิดในชาติต่างๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้างแต่ก็ได้พยายามทาความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่งจะถือว่าเรื่องชาดกเป็นวิวัฒนาการแห่งการบาเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ้า ตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ดร.สมิตธิพลเนตรนิมิตรให้รายละเอียดเกี่ยวกับชาดกไว้ว่า ชาดกมีความหมายที่ใช้กันทั่วไป๒อย่าง (๑) หมายถึงเกิดเช่น “ปรับอาบัติทุกกฏภิกษุผู้แสวงหามีดและขวานเพื่อจะตัดต้นไม้และเถาวัลย์ที่เกิดณที่นั้น” (ตตฺถ ชาตกกฏฺฐลตาเฉทนตฺถวาสิผรส)หรือ“ที่ขึ้นอยู่ที่นั้น ได้แก่ ที่เกิดบนหม้อดินที่ฝังไว้นาน”(ตตฺถชาตกนฺติจิรนิหิตายกุมฺภิยา อุปริ ชาตก) (๒)หมายถึงการบาเพ็ญบารมีในอดีตชาติของพระโพธิสัตว์ก่อนตรัสรู้ (ชาต ภูตอตีต ภควโตจริย,ต กียติกถียติ เอเตนาติชาตก) ชาดกเป็นพระพุทธพจน์ประเภทที่ไม่ใช่พระสูตรเป็นคาสอนที่มีอิทธิพลต่อวิธีสอนธรรมในยุคต่อมา เป็นการสอนอย่างเล่านิทานเหมาะกับผู้ฟังทุกระดับเป็นเทคนิคที่คงประสิทธิผลต่อผู้ฟังมาทุกยุคสมัย เพราะผู้สอนมีความรู้หลายด้านรู้วิธีนาเสนอมีวาทศิลป ์ เชื่อมโยงให้คนฟังมองเห็นภาพลักษณ์ชวนให้น่าติดตาม นิทานชาดก มิใช่เรื่องที่แต่งขึ้นเพื่อสอนคุณธรรมแต่นิทานชาดก คือ เรื่องในอดีตชาติของ พระพุทธเจ้า ที่พระองค์ทรงแสดงแก่พระภิกษุในโอกาสต่างๆบางครั้งก็เพื่อแสดงภูมิหลังของผู้ที่พระองค์ต้องการแสดงธรรมให้ฟัง บางครั้งก็เพื่ออธิบายเหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น ชาดก เป็นเรื่องที่มีมาก่อนพุทธกาล เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพระโพธิสัตว์
  • 3. ๓ ชาดกมี2 ประเภท คือ 1. นิบาตชาดก เป็นชาดกในพระไตรปิฎกมี500เรื่อง แบ่งออกเป็นหมวดๆ ตามจานวนคาถา นับตั้งแต่ 1 คาถาถึง80คาถา ชาดกที่มี1 คาถาเรียกว่าเอกนิบาต ชาดกที่มี2 คาถาเรียกว่า ทุกนิบาต ชาดกที่มี 3 คาถาเรียกว่าตักนิบาต ชาดกที่มี 4 คาถาเรียกว่า จตุคนิบาต ชาดกที่มี 5 คาถาเรียกว่า ปัญจกนิบาต ชาดกที่มีเกิน80 คาถาขึ้นไปเรียกว่า มหานิบาตชาดก ซึ่งมี 10 เรื่อง เรียก ทศชาติ หรือ พระเจ้าสิบชาติ 2. ปัญญาสชาติชาดก คาว่าปัญญาสชาดก(ปัน-ยาด-สะ-ชา-ดก) ประกอบด้วยคาว่าปัญญาสแปลว่าห้าสิบกับคาว่า ชาดกซึ่งหมายถึงเรื่องราวชีวิตของพระโพธิสัตว์หรือพระพุทธเจ้าในอดีตชาติก่อนที่จะทรงบังเกิดเป็นพระพุทธเจ้า ๕๐เรื่อง เขียนเป็นภาษาบาลีเป็นชีวิตของพระโพธิสัตว์ในพระชาติต่างๆที่ได้บาเพ็ญบารมีคือทาความดีด้วยประการต่างๆ อย่างแน่วแน่เพื่อช่วยเหลือผู้อื่นและบาเพ็ญเพียรเพื่อให้พ้นความทุกข์ยากต่าง ๆ การบาเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์เป็นตัวอย่างให้พุทธศาสนิกชนได้ทาตามคิดตามยึดถือตาม เพื่อให้เข้าใจความจริงเกี่ยวกับชีวิต และพยายามหาวิธีพ้นจากความทุกข์ได้อย่างถูกต้องตามทานองคลองธรรม ปัญญาสชาติชาดก ที่แต่งขึ้นจากนิทานพื้นเมือง นี้ ไม่มีในพระไตรปิฎก หรือเรียกว่า ชาดกนอกนิบาตมีจานวน50 เรื่อง พระภิกษุชาวเชียงใหม่แต่งขึ้นเมื่อประมาณ พ.ศ. 2000-2200 เป็นภาษามคธ โดยเลียนแบบนิบาตชาดก ครั้นเมื่อ พ.ศ.2443- 2448 พระบรมวงศ์เธอกรมพระสมมตอมรพันธ์ ดารงตาแหน่งองค์สภานายก หอพระสมุดสาหรับพระนคร ได้ทรงแปลเป็นภา ษาไทย เรื่องปัญญาสชาดกจึงแพร่หลาย องค์ประกอบของชาดก ชาดกทุกเรื่องจะมีองค์ประกอบ3ประเภท คือ 1. ปรารภเรื่อง คือบทนาเรื่องหรือ อุบัติเหตุ จะกล่าวถึงมูลเหตุหรือที่มาของชาดกเรื่องนั้น เช่น มหาเวสสันดรชาดก 2. อดีตนิทาน หรือ ชาดก หมายถึงเรื่องราวนิทานที่พระพุทธองค์ตรัสเล่า 3. ประชุมชาดก ประมวลชาดก เป็นเนื้อความสุดท้ายของชาดกกล่าวถึงบุคคลในชาดก คือผู้ใดที่กลับชาติเป็นใครบ้างในปัจจุบั น พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ สุตตันตปิฎกที่ ๑๙ขุททกนิกายชาดก ภาค ๑ พระไตรปิฎกเล่มที่๒๗เป็นภาคแรกของชาดกได้กล่าวถึงคาสอนทางพระพุทธศาสนาอันมีลักษณะเป็นนิทานสุภาษิต แต่ในตัวพระไตรปิฎกไม่มีเล่าเรื่องไว้ มีแต่คาสุภาษิตรวมทั้งคาโต้ตอบในนิทานเรื่องละเอียดมีเล่าไว้ในอรรถกถา คือหนังสือที่แต่งขึ้นอธิบายพระไตรปิฎกอีกต่อหนึ่ง คาว่า ชาตกหรือ ชาดกแปลว่า ผู้เกิด คือเล่าถึงการที่พระพุทธเจ้าทรงเวียนว่ายตายเกิดถือเอากาเนิดในชาติต่างๆ ได้พบปะผจญกับเหตุการณ์ดีบ้างชั่วบ้างแต่ก็ได้พยายามทาความดีติดต่อกันมากบ้างน้อยบ้างตลอดมา จนเป็นพระพุทธเจ้าในชาติสุดท้าย กล่าวอีกอย่างหนึ่งจะถือว่าเรื่องชาดกเป็นวิวัฒนาการแห่งการบาเพ็ญคุณงามความดีของพระพุทธเจ้า ตั้งแต่ยังเป็นพระโพธิสัตว์อยู่ก็ได้ ในอรรถกถาแสดงด้วยว่าผู้นั้นผู้นี้กลับชาติมาเกิดเป็นใครในสมัยพระพุทธเจ้าแต่ในบาลีพระไตรปิฎกกล่าวถึงเพียงบางเรื่อง เพราะฉะนั้นสาระสาคัญจึงอยู่ที่คุณงามความดีและอยู่ที่คติธรรมในนิทานนั้นๆ
  • 4. ๔ อนึ่ง เป็นที่ทราบกันว่าชาดกทั้งหมดมี๕๕๐เรื่อง แต่เท่าที่ได้ลองนับดูแล้วปรากฏว่าในเล่มที่๒๗มี ๕๒๕ เรื่อง,ในเล่มที่ ๒๘ มี ๒๒เรื่อง รวมทั้งสิ้นจึงเป็น๕๔๗ เรื่อง ขาดไป๓เรื่อง แต่การขาดไปนั้นน่าจะเป็นด้วยในบางเรื่องมีนิทานซ้อนนิทาน และไม่ได้นับเรื่องซ้อนแยกออกไปก็เป็นได้ อย่างไรก็ตามจานวนที่นับได้ จัดว่าใกล้เคียงมาก นิทานชาดกหรือชาดกเป็นเรื่องเกี่ยวกับการบาเพ็ญบารมีของพระโพธิสัตว์แสดงถึงความเป็นมาในพระชาติต่างๆ ที่ได้เกิดมาสร้างบารมีเอาไว้เพื่อการตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าเราเรียกว่าพระเจ้า ๕๐๐ชาติปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ ,๒๘ มีทั้งหมด ๕๔๗ เรื่อง อาจมีทั้งเรื่องที่ซ้ากันบ้างแต่คาถาจะต่างกัน หรือบางเรื่องที่ยกมาเพียงคาถาเดียวจากเรื่องที่มีหลายๆคาถา นิทานชาดกนั้นมีคัมภีร์หลักอยู่๒ส่วนคือ คัมภีร์พระสุตตันตปิฏกและคัมภีร์อรรถกถาขยายความเรื่องอีก๑๐เล่ม นอกนั้นอาจปรากฏในพระวินัยปิฏกและพระสูตรส่วนอื่นๆหรือมีปรากฏในคัมภีร์อรรถกภาธรรมบทบ้าง นิทานชาดกในอรรถกถามีโครงสร้าง๕ส่วนคือ ๑.ปัจจุบันนิทาน กล่าวถึงเรื่องที่เกิดขึ้นในสมัยพระพุทธเจ้ายังทรงพระชนม์อยู่ประทับอยู่ที่ไหนทรงปรารภใคร ๒. อดีตนิทาน เป็นเรื่องชาดกโดยตรงเรื่องที่เคยมีมาในอดีตบางเรื่องเป็นเรื่องทางประวัติศาสตร์ของชนชาติต่างๆ ในชมพูทวีปบางเรื่องเป็นนิทานท้องถิ่นบางเรื่องเป็นนิทานเทียบสุภาษิตเช่นคนพูดกับสัตว์สัตว์พูดกับสัตว์เป็นต้น ๓. คาถาเป็นพุทธพจน์ที่ปรากฏในพระไตรปิฎกบางเรื่องเป็นพุทธพจน์โดยตรงบางเรื่องเป็นฤาษีภาษิต บางเรื่องเป็นเทวดาภาษิตแต่ถือเป็นพุทธพจน์เพราะเป็นคาที่นามาตรัสเล่าใหม่ ๔. เวยยากรณภาษิตเป็นการอธิบายธรรมที่ปรากฏในชาดกนั้นๆเพื่อให้เข้าใจง่ายขึ้น ๕. สโมธานเป็นการสรุปชาดกให้เห็นว่าผู้ปรากฏในชาดกนั้นๆเป็นใครเคยทาอะไรไว้ แต่ในที่นี้ได้กาหนดโครงสร้างนิทานชาดกไว้เพียง๔ตอน คือ ตอนที่หนึ่ง เป็นบทนาเรื่องทาให้ทราบว่าพระพุทธเจ้าประทับอยู่ที่ใดปรารภใครถึงได้ตรัสนิทานเรื่องนี้ ตอนที่สอง เป็นอดีตนิทานชาดกที่พระพุทธองค์ทรงนามาสาธก ตอนที่สาม เป็นคาถาประจาเรื่องนั้นๆซึ่งมีทั้งเป็นคาถาของพระพุทธเจ้าเทวดาบัณฑิตพระโพธิสัตว์และสัตว์ในเรื่องและ ตอนที่สี่ ตอนสุดท้ายเป็นคติประจาใจที่ไม่มีในอรรถกถาที่ผู้เขียนได้จัดทาขึ้นใหม่ เพื่อให้ครบองค์ของนิทานที่เรามักจะหยอดคาลงท้ายด้วยคาว่านิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่าอะไรเสมอ พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ สุตตันตปิฎกที่ ๒๐ขุททกนิกาย ชาดกภาค ๒ ในพระไตรปิฎกเล่มที่๒๗เป็นเล่มที่รวมเรื่องชาดกที่เล็กๆน้อยๆรวมกันถึง๕๒๕เรื่อง แต่ในพระไตรปิฎกเล่มที่๒๘นี้มีเพียง ๒๒ เรื่อง เพราะเป็นเรื่องยาวๆทั้งนั้นโดย ๑๒เรื่องแรกเป็นเรื่องที่มีคาฉันท์ส่วน๑๐เรื่องหลัง คือเรื่องที่เรียกว่ามหานิบาตชาดกแปลว่าชาดกที่ชุมนุมเรื่องใหญ่ หรือที่โบราณเรียกว่า ทศชาติ ... รายชื่อชาดกเรื่องต่าง ๆ นิบาตชาดก เป็นเรื่องชาดกที่ปรากฏในพระไตรปิฎกภาษาบาลีในส่วนพระสุตตันตปิฎกขุททกนิกายชาดกมีทั้งหมด547เรื่อง ปรากฏในเล่มที่27 มี 525 เรื่อง ในเล่มที่ 28 มี 22 เรื่อง รวมทั้งสิ้นจึงเป็น547 เรื่อง ซึ่งจาแนกในแต่ละหมวดแต่ละเรื่องได้ คือ  เล่มที่ 27 อปัณณกวรรคหมวดว่าด้วยการปฏิบัติไม่ผิด10เรื่อง  1.ปัณณิกชาดก2.วัณณุปถชาดก3.เสริววาณิชชาดก4.จูฬเสฏฐิชาดก5.ตัณฑุลนาฬิชาดก6.เทวธัมมชาดก7 .กัฏฐหาริชาดก8.คามณิชาดก9.มฆเทวชาดก10.สุขวิหาริชาดก
  • 5. ๕  เล่มที่ 27 สีลวรรคหมวดว่าด้วยศีล10เรื่อง  1.ลักขณชาดก2.นิโครธมิคชาดก3.กัณฑิชาดก4.วาตมิคชาดก5.ขราทิยชาดก6.ติปัลลัตถมิคชาดก7.มาลุต ชาดก8.มตกภัตตชาดก9.อายาจิตภัตตชาดก10.นฬปานชาดก  เล่มที่ 27 กุรุงควรรคหมวดว่าด้วยกวาง10เรื่อง  1.กุรุงคมิคชาดก2.กุกกุรชาดก3.โภชาชานียชาดก4.อาชัญญชาดก5.ติตถชาดก6.มหิฬามุขชาดก7.อภิณห ชาดก8.นันทิวิสาลชาดก9.กัณหชาดก10.มุนิกชาดก  เล่มที่ 27 กุลาวกวรรคหมวดว่าด้วยลูกนกครุฑ10เรื่อง  1.กุลาวกชาดก2.นัจจชาดก3.สัมโมทมานชาดก4.มัจฉชาดก5.วัฏฏกชาดก6.สกุณชาดก7.ติตติรชาดก8.พ กชาดก9.นันทชาดก10.ขทิรังคารชาดก  อัตถกามวรรคหมวดว่าด้วยผู้ใคร่ประโยชน์10เรื่อง ทศชาติชาดก 1. เตมิยชาดก 2. ชนกชาดก 3. สุวรรณสามชาดก 4. เนมิราชชาดก 5. มโหสถชาดก 6. ภูริทัตชาดก 7. จันทชาดก 8. นารทชาดก 9. วิธูรชาดก 10. มหาเวสสันดรชาดก ปัญญาสชาดก50 เรื่อง ปัญญาสชาดกเป็นชาดกที่ไม่ปรากฏในพระไตรปิฎกไม่ปรากฏชัดเจนถึงชื่อผู้แต่งหรือปีที่แต่งแต่ก็มีผู้สันนิษฐาน และทราบเพียงแต่ว่าผู้แต่งคือภิกษุชาวเชียงใหม่ซึ่งสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอพระองค์เจ้าดิศวรกุมาร กรมพระยาดารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่าน่าจะแต่งขึ้นระหว่างพ.ศ.๒๐๐๐- ๒๒๐๐ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ดร.ลิขิต ลิขิตานนท์คาดว่าน่าจะแต่งขึ้นประมาณพ.ศ.๒๐๓๘- ๒๐๖๘แต่ศาสตราจารย์ดร.นิยะดา สาริกภูติให้ข้อมูลเสริมต่อชาดกชุดนี้ว่าน่าจะเก่ากว่านั้นเพราะมีหลักฐานเป็นศิลาจารึกหลักหนึ่งของพม่าซึ่งจารึกเมื่อจ.ศ. ๖๒๗(พ.ศ. ๑๘๐๘) ตั้งอยู่ที่วัดKusa-samutiหมู่บ้าน Pwasawปัญญาสชาดกแต่งเลียนแบบชาตกัฏฐกถาเพื่อเป็นการสอนศาสนาโดยใช้ชาดกและแต่งเป็นชาดกนอกนิบาต ๕๐ เรื่อง ผนวกกับปัจฉิมภาคอีก๑๑เรื่อง ดังนี้ 1. สมุททโฆสชาดกเป็นที่มาของสมุทรโฆษคาฉันท์ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช 2. สุธนชาดกมีผู้นาไปแต่งเป็นบทละครนอกในสมัยกรุงศรีอยุธยา 3. สุธนุชาดก 4. รัตนปโชตชาดก 5. สิริวิบุลกิตติชาดก
  • 6. ๖ 6. วิบุลราชชาดกเป็นเรื่องที่หลวงศรีปรีชา(เซ่ง) ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศนาไปแต่งเป็นโครงเรื่องของกลอนกลบทชนิดต่างๆ เรียกรวมว่ากลบทศิริวิบุลกิตติ 7. สิริจุฑามณิชาดก 8. จันทราชชาดก 9. สุภมิตตชาดก 10. สิริธรชาดก 11. ทุลกบัณฑิตชาดก 12. อาทิตชาดก 13. ทุกัมมานิกชาดก 14. มหาสุรเสนชาดก 15. สุวรรณกุมารชาดก 16. กนกวรรณราชชาดก 17. วิริยบัณฑิตชาดก 18. ธรรมโสณฑกชาดก 19. สุทัสนชาดก 20. วัฏกังคุลีราชชาดก 21. โบราณกบิลราชชาดก 22. ธรรมิกบัณฑิตราชชาดก 23. จาคทานชาดก 24. ธรรมราชชาดก 25. นรชีวชาดก 26. สุรูปชาดก 27. มหาปทุมชาดก 28. ภัณฑาคารชาดก 29. พหลาคาวีชาดกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงนาไปเป็นต้นเรื่องของละครนอกเรื่องคาวี และเรื่องพหลคาวีชาดกนี้ พระมหาราชครูในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชก็ได้นาไปแต่งเป็นเรื่องเสือโคคาฉันท์ด้วย 30. เสตบัณฑิตชาดก 31. ปุปผชาดก 32. พาราณสิราชชาดก 33. พรหมโฆสราชชาดก 34. เทวรุกขกุมารชาดก 35. สลภชาดก 36. สิทธิสารชาดก 37. นรชีวกฐินชาดก
  • 7. ๗ 38. อติเทวราชชาดก 39. ปาจิตตกุมารชาดก 40. สรรพสิทธิกุมารชาดกเป็นต้นเรื่องที่สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรสนาไปเป็นพระนิพนธ์เรื่องสรรพสิทธิคาฉันท์ 41. สังขปัตตชาดก 42. จันทเสนชาดก 43. สุวรรณกัจฉปชาดก 44. สิโสรชาดก 45. วรวงสชาดก 46. อรินทมชาดก 47. รถเสนชาดก 48. สุวรรณสิรสาชาดก 49. วนาวนชาดก 50. พากุลชาดก ปัจฉิมภาคชาดก11 เรื่อง 1. โสนันทชาดก 2. สีหนาทชาดก 3. สุวรรณสังขชาดกพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงนาไปแปลงและทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทละครนอกเรื่อ งสังข์ทอง 4. สุรัพภชาดก 5. สุวรรณกัจฉปชาดก 6. เทวันธชาดก 7. สุบินชาดก 8. สุวรรณวงศชาดก 9. วรนุชชาดก 10. สิรสาชาดก 11. จันทคาธชาดก อิทธิพลชาดกต่อสังคม  อิทธิพลด้านคาสอน  อิทธิพลด้านจิตรกรรม  อิทธิพลด้านวรรณคดี/ภาษา  อิทธิพลด้านความเชื่อ มหานิบาตชาดก พระเจ้าสิบชาติ
  • 8. ๘ ทศชาติชาดก เ ต มี ย์ ช า ด ก - ( พระเตมีย์ใบ้ ) พระราชาพระองค์หนึ่งทรงพระนามว่าพระเจ้ากาสิกราชครองเมืองชื่อว่าพาราณสีมีพระมเหสีพระนามว่าจันทรเทวี พระราชาไม่มีพระราชโอรสที่จะครองเมืองต่อจากพระองค์จึงโปรดให้ พระนางจันทรเทวีทาพิธีขอพระโอรสจากเทพเจ้า พระนางจันทรเทวีจึงทรงอธิษฐานว่า "ข้าพเจ้าได้รักษาศีลบริสุทธิ์ตลอดมาขอให้บุญกุศลนี้บันดาลให้ข้าพเจ้ามีโอรสเถิด"ด้วยอานุภาพแห่งศีลบริสุทธิ์ พระนางจันทรเทวีทรงครรภ์และประสูติพระโอรสสมดังความปราถนาพระโอรสมีรูปโฉมงดงามยิ่งนักทั้งพระราชาพระมเหสี และประชาชนทั้งหลายมีความยินดีเป็นที่สุดพระราชาจึงตั้งพระนามโอรสว่าเตมีย์แปลว่าเป็นที่ยินดีของคนทั้งหลาย บรรดาพราหมณ์ผู้รู้วิชาทานายลักษณะบุคคลได้กราบทูลพระราชาว่าพระโอรสองค์นี้มีลักษณะประเสริฐเมื่อเติบโตขึ้น จะได้เป็นพระราชาธิราชของมหาทวีปทั้งสี่พระราชาทรงยินดีเป็นอย่างยิ่ง และทรงเลือกแม่นมที่มีลักษณะดีเลิศตามตารา จานวน 64 คนเป็นผู้ปรนนิบัติเลี้ยงดูพระเตมีย์กุมารวันหนึ่งพระราชาทรงอุ้มพระเตมีย์ไว้บนตักขณะที่กาลัง พิพากษาโทษผู้ร้าย4คนพระราชาตรัสสั่งให้เอาหวายที่มีหนามแหลมคมมาเฆี่ยนผู้ร้ายคนหนึ่งแล้วส่งไปขังคุก ให้เอาฉมวกแทงศีรษะผู้ร้ายคนที่สามและให้ใช้หลาวเสียบผู้ร้ายคนสุดท้าย พระเตมีย์ซึ่งอยู่บนตักพระบิดาได้ยินคาพิพากษาดังนั้นก็มีความตกใจหวาดกลัวทรงคิดว่า "ถ้าเราโตขึ้นได้เป็นพระราชาเราก็คงต้องตัดสินโทษผู้ร้ายบ้างและคงต้องทาบาปเช่นเดียวกันนี้เมื่อเราตายไป ก็จะต้องตกนรกอย่างแน่นอน" เนื่องจากพระเตมีย์เป็นผู้มีบุญจึงราลึกชาติได้และทรงทราบว่าในชาติก่อนได้เคยเป็นพระราชาครองเมืองและได้ตัดสินโทษ ผู้ร้ายอย่างเดียวกันนี้เมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์จึงต้องตกนรกอยู่ถึง 7,000ปี ได้รับความทุกข์ทรมาณเป็นอันมาก พระเตมีย์ทรงมีความหวาดกลัวอย่างยิ่งทรงราพึงว่า
  • 9. ๙ "ทาอย่างไรหนอ เราจึงจะไม่ต้องทาบาปและไม่ต้องตกนรกอีก" ขณะนั้นเทพธิดาที่รักษาเศวตฉัตรได้ยินคาราพึงของพระเตมีย์จึงปรากฏกายให้พระองค์เห็นและแนะนาพระเตมีย์ว่า "หากพระองค์ทรงหวั่นที่จะกระทาบาปทรงหวั่นเกรงว่าจะตกนรกก็จงทาเป็นหูหนวกเป็นใบ้ และเป็นง่อยเปลี้ย อย่าให้ชนทั้งหลายรู้ว่าพระองค์เป็นคนฉลาดเป็นคนมีบุญพระองค์จะต้องมีความอดทน ไม่ว่าจะได้รับความเดือดร้อนอย่างใดก็ต้องแข็งพระทัยต้องทรงต่อสู้ กับพระทัยตนเองให้จงได้ อย่ายอมให้สิ่งหนึ่งสิ่งใดมาชักจูงใจพระองค์ไปจากหนทางที่พระองค์ตั้งพระทัยไว้" พระเตมีย์กุมารได้ยินเทพธิดาว่าดังนั้นก็ดีพระทัยเป็นอย่างยิ่งจึงทรงตั้งจิตอธิษฐานว่า "ต่อไปนี้เราจะทาตนเป็นคนใบ้หูหนวกและง่อยเปลี้ยไม่ว่าจะมีเรื่องอันใดเกิดขึ้นเราก็จะไม่ละความตั้งใจเป็นอันขาด" นับแต่นั้นมา พระเตมีย์ก็ทาพระองค์เป็นคนหูหนวกเป็นใบ้ และเป็นง่อยไม่ร้อง ไม่พูด ไม่หัวเราะและไม่เคลื่อนไหว ร่างกายเลยพระราชาและพระมเหสีทรงมีความวิตกกังวลในอาการของพระโอรสตรัสสั่งให้พี่เลี้ยงและแม่นมทดลอง ด้วยอุบายต่างๆเช่นให้อดนม พระเตมีย์ก็ทรงอดทนไม่ร้องไห้ ไม่แสดงความหิวโหยครั้นพระราชาให้พี่เลี้ยงเอาขนมล่อ พระเตมีย์ก็ไม่สนพระทัยนิ่งเฉยตลอดเวลาพระราชาทรงมีความหวังว่าพระโอรสคงไม่ได้หูหนวกเป็นใบ้และง่อยเปลี้ยจริง จึงโปรดให้ทดลองด้วยวิธีต่างๆเป็นลาดับเมื่ออายุ 2 ขวบเอาผลไม้มาล่อพระกุมารก็ไม่สนพระทัยอายุ4ขวบ เอาของเสวยรสอร่อยมาล่อพระกุมารก็ไม่สนพระทัยอายุ 5ขวบพระราชาให้เอาไฟมาขู่พระเตมีย์ก็ไม่แสดงความตกใจกลัว อายุ 6 ขวบเอาช้างมาขู่อายุ 7 ขวบเอางูมาขู่ พระเตมีย์ก็ไม่หวาดกลัวไม่ถอยหนีเหมือนเด็กอื่นๆ พระราชาทรงทดลองด้วยวิธีการต่างๆเรื่อยมาจนพระเตมีย์อายุได้ 16พรรษาก็ไม่ได้ผลพระเตมีย์ยังทรงทาเป็นหูหนวก ทาเป็นใบ้ และไม่เคลื่อนไหวเลยตลอดเวลา 16ปี ในที่สุด พระราชาก็ให้หาบรรดาพราหมณ์และที่ปรึกษาทั้งหลายมาและตรัสถามว่า "พวกเจ้าเคยทานายว่าลูกเราจะเป็นผู้มีบุญเป็นพระราชาผู้ยิ่งใหญ่ เมื่อลูกเรามีอาการเหมือนคนหูหนวกเป็นใบ้ และเป็น ง่อยเช่นนี้เราจะทาอย่างไรดี" พราหมณ์และที่ปรึกษาพากันกราบทูลว่า "เมื่อตอนที่ประสูตินั้นพระโอรสมีลักษณะเป็นผู้มีบุญแต่บัดนี้เมื่อได้กลับกลายเป็นคนหูหนวกเป็นใบ้เป็นง่อย ก็กลายเป็นกาลกิณีจะทาให้บ้านเมืองและประชาชนเดือดร้อนขอให้พระองค์สั่งให้นาพระโอรสไปฝังที่ป่าช้าเถิดพะย่ะค่ะ จะได้สิ้นอันตราย" พระราชาได้ยินดังนั้นก็ทรงเศร้าพระทัยด้วยความรักพระโอรสแต่ก็ไม่อาจแก้ไขอย่างไรได้ เพราะเป็นห่วงบ้านเมืองและ ประชาชนจึงต้องทรงทาตามคากราบของพราหมณ์และที่ปรึกษาทั้งหลายพระนางจันทเทวีทรงทราบว่าพระราชาให้นา พระโอรสไปฝังที่ป่าช้าก็ทรงร้องไห้คร่าครวญว่า "พ่อเตมีย์ลูกรักของแม่ แม่รู้ว่าลูกไม่ใช่คนง่อยเปลี้ยไม่ใช่คนหูหนวกไม่ใช่คนใบ้ ลูกอย่าทาอย่างนี้เลยแม่เศร้าโศกมา ตลอดเวลา16ปีแล้ว ถ้าลูกถูกนาไปฝังแม่คงเศร้าโศกจนถึงตายได้นะลูกรัก" พระเตมีย์ได้ยินดังนั้นก็ทรงสงสารพระมารดาเป็นอันมากทรงสานึกในพระคุณของพระมารดา แต่ในขณะเดียวกันก็ทรงราลึกว่าพระองค์ตั้งพระทัยไว้ว่าจะไม่ทาการใดที่จะทาให้ต้องไปสู่นรกอีก จะไม่ทรงยอมละความตั้งใจที่จะทาเป็นใบ้หูหนวกและเป็นง่อย จะไม่ยอมให้สิ่งใดมาชักจูงใจพระองค์ ไปจากหนทางที่ทรงวางไว้แล้วนั้นเป็นอันขาด พระราชาจึงตรัสสั่งให้นายสารถีชื่อสุนันทะนาพระเตมีย์ขึ้นรถเทียมม้าพาไปที่ป่าช้าผีดิบ ให้ขุดหลุมแล้วเอาพระเตมีย์โยนลงไปในหลุมเอาดินกลบเสียให้ตาย นายสุนันทะจึงทรงอุ้มพระเตมีย์ขึ้นรถเทียมม้าพาไปที่ป่าช้าผีดิบเมื่อไปถึงป่าช้านายสุนันทะก็เตรียมขุดหลุมจะฝังพระเตมีย์ พระเตมีย์กุมารประทับอยู่บนราชรถทรงราพึงว่า
  • 10. ๑๐ "บัดนี้เราพ้นจากความทุกข์ว่าจะต้องเป็นพระราชาพ้นความทุกข์ว่าจะต้องทาบาปเราได้อดทนมาตลอดเวลา 16ปี ไม่เคยเคลื่อนไหวร่างกายเลยเราจะลองดูว่าเรายังคงเคลื่อนไหวได้หรือไม่มีกาลังร่างกายสมบูรณ์หรือไม่" ราพึงแล้วพระเตมีย์ก็เสด็จลงจากราชรถทรงเคลื่อนไหวร่างกายทดลองเดินไปมาก็ทราบว่ายังคงมีกาลังร่างกาย สมบูรณ์เหมือนคนปกติจึงทดลองยกราชรถก็ปรากฏว่าทรงมีกาลังยกราชรถขึ้นกวัดแกว่งได้อย่างง่ายดายจึงทรงเดินไปหา นายสุนันทะที่กาลังก้มหน้าก้มตาขุดหลุมอยู่พระเตมีย์ตรัสถามนายสุนันทะว่า "ท่านเร่งรีบขุดหลุมไปทาไม" นายสุนันทะตอบคาถามโดยไม่ได้เงยหน้าขึ้นดูว่า "เราขุดหลุมจะฝังพระโอรสของพระราชาเพราะพระโอรสเป็นง่อยเป็นใบ้และหูหนวกพระราชาตรัสสั่งให้ฝังเสีย จะได้ไม่เป็นอันตรายแก่บ้านเมือง" พระเตมีย์จึงตรัสว่า "เราไม่ได้เป็นใบ้ ไม่ได้หูหนวกและไม่ง่อยเปลี้ยจงเงยขึ้นดูเราเถิดถ้าท่านฝังเราเสียท่านก็จะประพฤติสิ่งที่ไม่เป็นธรรม" นายสารถีเงยขึ้นดูเห็นพระเตมีย์ก็จาไม่ได้ จึงถามว่า "ท่านเป็นใคร ท่านมีรูปร่างงามราวกับเทวดาท่านเป็นเทวดาหรือหรือว่าเป็นมนุษย์ท่านเป็นลูกใครทาอย่างไร เราจึงจะรู้จักท่าน" พระเตมีย์ตอบว่า "เราคือเตมีย์กุมารโอรสพระราชาผู้เป็นนายของท่านถ้าท่านฝังเราเสียท่านก็จะได้ชื่อว่าทาสิ่งที่ไม่เป็นธรรม พระราชาเปรียบเหมือนต้นไม้ ตัวเราเปรียบเหมือนกิ่งไม้ ท่านได้อาศัยร่มเงาไม้ ถ้าท่านฝังเราเสียท่านก็ได้ชื่อว่า ทาสิ่งที่ไม่เป็นธรรมนายสารถียังไม่เชื่อว่าเป็นพระกุมารที่ตนพามาพระเตมีย์ทรงประสงค์จะให้นายสารถีเชื่อจึงตรัสอธิบาย ให้เห็นว่าหากนายสารถีจะฝังพระองค์ก็ได้ชื่อว่าทาร้ายมิตรทรงอธิบายว่า"ผู้ไม่ทาร้ายมิตรจะไปที่ไดก็มีคนคบหามาก จะไม่อดอยากไปที่ใดก็มีผู้สรรเสริญบูชาโจรจะไม่ข่มเหงพระราชาไม่ดูหมิ่นจะเอาชนะศัตรูทั้งปวงได้ ผู้ไม่ทาร้ายมิตร เมื่อมาถึงบ้านเรือนของตนหมู่ญาติและประชาชนจะพากันชื่นชมยกย่องผู้ไม่ทาร้ายมิตรย่อมได้รับการสักการะ เพราะเมื่อสักการะท่านแล้วย่อมได้รับการสักการะตอบเมื่อเคารพบูชาท่านแล้วย่อมได้รับการเคารพตอบผู้ไม่ทาร้ายมิตร ย่อมรุ่งเรืองเหมือนกองไฟรุ่งโรจน์ดังเทวดาเป็นผู้มีมิ่งขวัญสิริมงคลประจาตนอยู่เสมอผู้ไม่ทาร้ายมิตรจะทาการใดก็สาเร็จผล โคจะมีลูกมากหว่านพืชลงในนาก็จะงอกงามแม้จะพลัดตกเหวตกจากภูเขาตกจากต้นไม้ ก็จะไม่เป็นอันตราย ผู้ไม่ทาร้ายมิตรศัตรูไม่อาจข่มเหงได้ เพราะเป็นผู้มีมิตรมากเปรียบเหมือนต้นไทรใหญ่ที่มีรากติดต่อพัวพัน ลมแรงก็ไม่อาจทาร้ายได้ " นายสารถีได้ยินพระเตมีย์ตรัสยิ่งเกิดความสงสัยจึงเดินมาดูที่ราชรถก็ไม่เห็นพระกุมารที่ตนพามาครั้นเดิน กลับมาพินิจพิจารณาพระเตมีย์อีกครั้งก็จาได้ จึงทูลว่า "ข้าพเจ้าจะพาพระองค์กลับวังขอเชิญเสด็จกลับไปครองพระนครเถิด" พระเตมีย์ตรัสตอบว่า " เราไม่กลับไปวังอีกแล้วเราได้ตัดขาดจากความยินดีในสมบัติทั้งหลายเราได้ตั้งความอดทนมาเป็นเวลาถึง 16ปี อันราชสมบัติ ทั้ง พระนครและความสุขความรื่นเริงต่างๆเป็นของน่าเพลิดเพลิน แต่าเราไม่ปรารถนาจะหลงอยู่ในความเพลิดเพลินนั้นไม่ปรารถนาจะกระทาบาปอีกเราจะไม่ก่อเวรให้เกิดขึ้นอีกแล้ว บัดนี้เราพ้นจากภาระนั้นแล้วเพราะพระบิดาพระมารดาปล่อยเราให้พ้นจากราชสมบัติมาแล้วเราพ้นจากความหลงใหล ในกิเลสทั้งหลายเราจะขอบวชอยู่ในป่านี้แต่ลาพังเราต่อสู้ได้ชัยชนะในจิตใจของเราแล้ว" เมื่อตรัสดังนั้นพระเตมีย์กุมารมีความชื่นชมยินดีอย่างยิ่งราพึงกับพระองค์เองว่า "ผู้ที่ไม่ใจเร็วด่วนได้ ผู้ที่มีความอดทนย่อมได้รับผลสาเร็จด้วยดี" นายสุนันทะสารถีได้ฟังก็เกิดความยินดีทูลพระเตมีย์ว่าจะขอบวชอยู่กับพระเตมีย์ในป่าแต่พระองค์เห็นว่า หากนายสารถีไม่กลับไปเมืองจะเกิดความสงสัยว่าพระองค์หายไปไหนทั้งนายสารถี ราชรถเครื่องประดับทั้งปวงก็สูญหายไป
  • 11. ๑๑ ควรที่นายสารถีจะนาสิ่งของทั้งหลายกับไปพระราชวังทูลเรื่องราวให้พระราชาทรงทราบเสียก่อนแล้วจึงค่อยกลับมา บวชเมื่อหมดภาระ นายสุนันทะจึงกลับไปกราบทูลพระราชาว่าพระเตมีย์กุมารมิได้วิกลวิการ แต่ทรงมีรูปโฉมงดงามและ ตรัสได้ไพเราะเหตุที่แสร้งทาเป็นคนพิการก็เพราะไม่ปรารถนาจะครองราชสมบัติไม่ปรารถนาจะก่อเวรทาบาปอีกต่อไป เมื่อพระราชาและพระมเหสีได้ทรงทราบก็ทรงปลื้มปิติยินดีโปรดให้จัดกระบวนไปรับพระเตมีย์กลับจากป่าขณะนั้น พระเตมีย์ทรงผนวชแล้วประทับอยู่ในบรรณศาลาซึ่งเทวดาเนรมิตไว้ให้ เมื่อพระบิดาพระมารดาเสด็จไปถึง พระเตมีย์จึงเสด็จมาต้อนรับทักทายปราศรัยกันด้วยความยินดีพระราชาเห็นพระโอรสผนวชเป็นฤาษีเสวยใบไม้ลวก เป็นอาหารและประทับอยู่ลาพังในป่าจึงตรัสถามว่าเหตุใดจึงยังมีผิวพรรณผ่องใสร่างกายแข็งแรงพระเตมีย์ตรัส ตอบพระบิดาว่า"อาตมามีร่างกายแข็งแรงผิวพรรณผ่องใสเพราะไม่ต้องเศร้าโศกถึงอดีตไม่ต้องรอคอยอนาคต อาตมาใช้ชีวิตให้เป็นไปตามที่สมควรในปัจจุบันคนพาลนั้นย่อมซูบซีดเพราะมัวโศกเศร้าถึงอดีตเพราะมัวรอคอยอนาคต" พระราชาตรัสตอบว่า "ลูกยังหนุ่มยังแน่นแข็งแรงจะมามัวอยู่ทาอะไรในป่ากลับไปบ้านเมืองเถิดกลับไปครองราชสมบัติมีโอรสธิดา เมื่อชราแล้วจึงค่อยมาบวช" พระเตมีย์ตรัสตอบว่า"การบวชของคนหนุ่มย่อมเป็นที่สรรเสริญใครเล่าจะนอนใจได้ว่ายังเป็นหนุ่มยังอยู่ไกลจากความตาย อายุคนนั้นสั้นนักเหมือนอายุของปลาในเวลาที่น้าน้อย" พระราชาตรัสขอให้พระเตมีย์กลับไปครองราชสมบัติทรงกล่าวชักชวนให้นึกถึงความสุขสบายต่างๆ พระเตมีย์จึงตรัสตอบว่า"วันคืนมีแต่จะล่วงเลยไปผู้คนมีแต่จะแก่ เจ็บและตายจะเอาสมบัติไปทาอะไรทรัพย์สมบัติและ ความสุขทั้งหลายเอาชนะความตายไม่ได้ อาตมาพ้นจากความผูกพันทั้งหลายแล้วไม่ต้องการทรัพย์สมบัติอีกแล้ว" เมื่อพระราชาได้ยินดังนั้นจึงเห็นประโยชน์อันใหญ่ยิ่งในการออกบวชทรงประสงค์ที่จะละทิ้งราชสมบัติออกบวชพระมเหสี และเสนาข้าราชบริพารทั้งปวงรวมทั้งบรรดาประชาชนทั้งหลายในเมืองพาราณสีก็พร้อมใจกันออกบวช บาเพ็ญเพียรโดยทั่วหน้ากันเมื่อตายไปก็ได้ไปเกิดในสวรรค์พ้นจากความผูกพันในโลกมนุษย์ทั้งนี้เป็นด้วยพระเตมีย์กุมาร ทรงมีความอดทนมีความตั้งใจอันมั่นคงแน่วแน่ในการที่ไม่ก่อเวรทาบาปทรงมุ่งมั่นอดทน จนประสบผลสาเร็จดังที่หวัง เหมือนดังที่ทรงราพึงว่า " ผู้ที่ไม่ใจเร็วด่วนได้ ผู้ที่มีความอดทนย่อมได้รับผลสาเร็จด้วยดี" คติธรรม : บาเพ็ญเนกขัมมบารมี "เมื่อมีประสงค์ในสิ่งใดก็สมควรมุ่งมั่นตั้งใจกระทาตามความมุ่งหมายนั้นอย่างหนักแน่นอดทนอย่างเพียรพยายามเป็นที่สุด และความพากเพียรอันเด็ดเดี่ยวแน่วแน่นั้นย่อมนาบุคคลนั้นไปสู่ความสาเร็จอันยิ่งใหญ่อย่างแท้จริง"
  • 12. ๑๒ ช น ก ช า ด ก - ( พระมหาชนก) ณ เมืองมิถิลาแห่งรัฐวิเทหะพระเจ้าแผ่นดินทรงพระนามว่าพระเจ้ามหาชนกทรงมีพระโอรสสององค์คือเจ้าอริฏฐชนก และ เจ้าโปลชนกเจ้าอริฏฐชนกทรงเป็นอุปราชส่วนเจ้าโปลชนกทรงเป็นเสนาบดีเมื่อพระราชบิดาสวรรคต เจ้าอริฏฐชนกผู้เป็นอุปราชก็ได้ครองบ้านเมืองต่อมาเจ้าโปลชนกทรงเป็นอุปราช ทรงเอาใจใส่ดูแลบ้านเมืองช่วยเหลือพระเชษฐาอย่างดียิ่งมีอามาตย์คนหนึ่งไม่พอใจพระเจ้าโปลชนกจึงหาอุบายให้ พระราชาอริฏฐชนกระแวงพระอนุชาโดยทูลพระราชาว่าเจ้าโปลชนกคิดขบถจะปลงพระชนม์พระราชาพระราชาทรงเชื่อคา อามาตย์จึงให้จับเจ้าโปลชนกไปขังไว้ เจ้าโปลชนกเสด็จหนีไปจากที่คุมขังได้หลบไปอยู่ที่ชายแดนเมืองมิถิลาเจ้าโปลชนก ทรงคิดว่าเมื่อครั้งที่ยังเป็นอุปราชนั้นมิได้เคยคิดร้ายต่อพระราชาผู้เป็นพี่เลยแต่ก็ยังถูกระแวงจนต้องหนีมา ถ้าพระราชาทรงรู้ว่าอยู่ที่ไหนก็คงให้ทหารมาจับไปอีกจนได้ บัดนี้ผู้คนมากมายที่ชายแดนที่เห็นใจ และพร้อมที่จะเข้าเป็นพวกด้วยควรที่จะรวบรวมผู้คนไปโจมตีเมืองมิถิลาเสียก่อนจึงจะดีกว่า เมื่อคิดดังนั้นแล้วเจ้าโปลชนกก็พาสมัครพรรคพวกยกเป็นกองทัพไปล้อมเมืองมิถิลาบรรดาทหารแห่งเมืองมิถิลาพากัน เข้ากับเจ้าโปลชนกอีกเป็นจานวนมากเพราะเห็นว่าเจ้าโปลชนกเป็นผู้ซื่อสัตย์และมีความสามารถแต่กลับถูกพระราชาระแวง และจับไปขังไว้โดยไม่ยุติธรรมครั้นเมื่อเจ้าโปลชนกมีผู้คนไพร่พลเข้าสมทบด้วยเป็นจานวนมากมายเช่นนี้ พระเจ้าอริฏฐชนกทรงเห็นว่าไม่มีทางจะเอาชนะได้ จึงตรัสสั่งพระมเหสีซึ่งกาลังทรงครรภ์แก่ ให้ทรงหลบหนีเอาตัวรอด ส่วนพระองค์เองทรงออกทาสงครามและสิ้นพระชนม์ในสนามรบเจ้าโปลชนกจึงทรงได้เป็นกษัตริย์ครองเมืองมิถิลาสืบต่อมา ฝ่ายพระมเหสีของพระเจ้าอริฏฐชนกเสด็จหนีออกจากเมืองมาตั้งพระทัยจะเสด็จไปอยู่เมืองกาลจัมปากะ แต่กาลังทรงครรภ์แก่ เดินทางไม่ไหวด้วยเดชานุภาพแห่งพระโพธิสัตว์ซึ่งอยู่ในพระครรภ์พระอินทร์จึงเสด็จมาช่วย ทรงแปลงกายเป็นชายชราขับเกวียนมาที่ศาลาที่พระนางพักอยู่และถามขึ้นว่า "มีใครจะไปเมืองกาลจัมปากะบ้าง"พระนางดีพระทัยรีบตอบว่า"ลุงจ๋าฉันจะไปจ๊ะ"พระอินทร์แปลงจึงรับพระนางขึ้นเกวียน พาเดินทางไปเมืองกาลจัมปากะด้วยอานุภาพเทวดาแม้ระยะทางไกลถึง 60โยชน์ เกวียนนั้นก็เดินทางไปถึงเมืองในชั่ววันเดียวพระมเหสีเสด็จไปนั่งพักอยู่ในศาลาแห่งหนึ่งในเมืองนั้น
  • 13. ๑๓ บังเอิญมีพราหมณ์ทิศาปาโมกข์ผู้หนึ่งเดินผ่านมาเห็นพระนางเข้าก็เกิดความเอ็นดูสงสารจึงเข้าไปไต่ถาม พระนางก็ตอบว่าหนีมาจากเมืองมิถิลาและไม่มีญาติพี่น้องอยู่ที่เมืองนี้เลยพราหมาณ์ทิศาปาโมกข์จึงรับพระนางไปอยู่ด้วย ที่บ้านของตนอุปการะเลี้ยงดูพระนางเหมือนเป็นน้องสาวไม่นานนักพระนางก็ประสูติพระโอรสทรงตั้งพระนามว่า มหาชนกกุมารซึ่งเป็นพระนามของพระอัยกาของพระกุมารมหาชนกกุมารทรงเติบโตขึ้นในเมืองกาลจัมปากะ มีเพื่อนเล่นเด็กๆวัยเดียวกันเป็นจานวนมากวันหนึ่งมหาชนกกุมารโกรธกับเพื่อนเล่นจึงลากเด็กคนนั้นไปด้วยกาลังมหาศาล เด็กก็ร้องไห้บอกกับคนอื่นๆว่าลูกหญิงม่ายรังแกเอามหาชนกกุมารได้ยินก็แปลกพระทัยจึงไปถามพระมารดาว่า "ทาไมเพื่อนๆพูด ว่าลูกเป็นลูกแม่ม่ายพ่อของลูกไปไหน"พระมารดาตอบว่า"ก็ท่านพราหมณ์ทิศาปาโมกข์นั่นแหล่ะเป็น พ่อของลูก"เมื่อมหาชนกกุมารไปบอกเพื่อนเล่นทั้งหลายเด็กเหล่านั้นก็หัวเราะเยาะบอกว่า"ไม่จริง ท่านอาจารย์ทิศาปาโมกข์ไม่ใช่พ่อของเจ้า"มหาชนกก็กลับมาทูลพระมารดาอ้อนวอนให้บอกความจริงพระมารดาขัดไม่ได้ จึงตรัสเล่าเรื่องทั้งหมดให้พระโอรสทรงทราบ เมื่อพระกุมารทราบว่าพระองค์ทรงมีความเป็นมาอย่างไร ก็ทรงตั้งพระทัยว่าจะร่าเรียนวิชาการเพื่อให้มีความรู้ความสามารถจะได้เสด็จไปเอาราชสมบัติเมืองมิถิลาคืนมา ครั้นมหาชนกกุมารร่าเรียนวิชาในสานักพราหมณ์จนเติบใหญ่ พระชนม์ได้ 16พรรษาจึงทูลพระมารดาว่า"หม่อมฉันจะเดินทาง ไปค้าขายเมื่อมีทรัพย์สินมากพอแล้วจะได้คิดอ่านเอาบ้านเมืองคืนมา"พระมารดาทรงนาเอาทรัพย์สินมีค่ามาจากมิถิลา3 สิ่ง คือแก้วมณี แก้วมุกดาและแก้ววิเชียรอันมีราคามหาศาลจึงประทานแก้วนั้นให้พระมหาชนกเพื่อนาไปซื้อสินค้า พระมหาชนกทรงจัดซื้อสินค้าบรรทุกลงเรือร่วมไปกับพ่อค้าชาวสุวรรณภูมิในระหว่างทางเกิดพายุใหญ่ โหมกระหน่า คลื่นซัดจนเรือจวนจะแตกบรรดาพ่อค้าและลูกเรือพากันตระหนกตกใจบวงสรวงอ้อน วอนเทพยดาขอให้รอดชีวิต ฝ่ายมหาชนกกุมารเมื่อทรงทราบว่าเรือจะจมแน่แล้วก็เสวยอาหารจนอิ่มหนาทรงนาผ้ามาชุบน้ามันจนชุ่ม แล้วนุ่งผ้านั้นอย่างแน่นหนาครั้นเมื่อเรือจมลงเหล่าพ่อค้ากลาสีเรือทั้งปวงก็จมน้ากลายเป็นอาหารของสัตว์น้าไปหมด แต่พระมหาชนกทรงมีกาลังจากอาหารที่เสวยมีผ้าชุบน้ามันช่วยไล่สัตว์น้าและช่วยให้ลอยตัวอยู่ในน้าได้ดีจึงทรงแหวกว่าย อยู่ในทะเลได้นานถึง7วันฝ่ายนางมณีเมขลาเทพธิดาผู้รักษามหาสมุทรเห็นพระมหาชนกว่ายน้าอยู่เช่นนั้นจึงลองพระทัย พระมหาชนก"ใครหนอว่ายน้าอยู่ได้ถึง7วันทั้งๆ ที่มองไม่เห็นฝั่ง จะทนว่ายไปทาไมกัน"พระมหาชนกทรงตอบว่า "ความเพียรย่อมมีประโยชน์แม้จะมองไม่เห็นฝั่งเราก็จะว่ายไปจนกว่าจะถึงฝั่งเข้าสักวันหนึ่ง"นางมณีเมขลากล่าวว่า "มหาสมุทรนี้กว้างใหญ่นักท่านจะพยายามว่ายสักเท่าไรก็คงไม่ถึงฝั่งท่านคงจะตายเสียก่อนเป็นแน่" พระมหาชนกตรัสตอบว่า"คนที่ทาความเพียรนั้นแม้จะต้องตายไปในขณะกาลังทาความเพียรพยายามอยู่ ก็จะไม่มีผู้ใดมาตาหนิติเตียนได้ เพราะได้ทาหน้าที่เต็มกาลังแล้ว"นางมณีเมขลาถามต่อว่า "การทาความพยายามโดยมองไม่เห็นทางบรรลุเป้าหมายนั้นมีแต่ความยากลาบากอาจถึงตายได้ จะต้องเพียรพยายามไปทาไมกัน"พระมหาชนกตรัสตอบว่า"แม้จะรู้ว่าสิ่งที่เรากาลังกระทานั้นอาจไม่สาเร็จก็ตาม ถ้าไม่เพียรพยายามแต่กลับหมดมานะเสียแต่ต้นมือย่อมได้รับผลร้ายของความเกียจคร้านอย่างแน่นอนย่อมไม่มีวัน บรรลุถึงเป้าหมายที่ต้องการบุคคลควรตั้งความเพียรพยายามแม้การนั้นอาจไม่สาเร็จก็ตามเพราะเรามีความพยายาม ไม่ละความตั้งใจเราจึงยังมีชีวิตอยู่ได้ ในทะเลนี้เมื่อคนอื่นได้ตายกันไปหมดแล้วเราจะพยายามสุดกาลัง เพื่อไปให้ถึงฝั่งให้จงได้"นางมณีเมขลาได้ยินดังนั้นก็เอ่ยสรรเสริญความเพียรของมหาชนกกุมาร และช่วยอุ้มพามหาชนกกุมารไปจนถึงฝั่งเมืองมิถิลาวางพระองค์ไว้ที่ศาลาในสวนแห่งหนึ่ง ในเมืองมิถิลาพระราชาโปลชนกไม่มีพระโอรสทรงมีแต่พระธิดาผู้ฉลาดเฉลียวเป็นอย่างยิ่งพระนามว่าเจ้าหญิงสิวลี ครั้นเมื่อพระองค์ประชวรหนักใกล้จะสวรรคตบรรดาเสนาทั้งปวงจึงทูลถามขึ้นว่าเมื่อพระองค์สิ้นพระชนม์แล้วราชสมบัติ ควรจะตกเป็นของผู้ใดในเมื่อไม่ทรงมีพระโอรสพระเจ้าโปลชนกตรัสสั่งเสนาว่า"ท่านทั้งหลายจงมอบ ราชสมบัติให้แก่ผู้มีความสามารถดังต่อไปนี้ประการแรกเป็นผู้ที่ทาให้พระราชธิดาของเราพอพระทัยได้ ประการที่สอง สามารถรู้ว่าด้านไหนเป็นด้านหัวนอนของบัลลังก์รูปสี่เหลี่ยมประการที่สามสามารถยกธนูใหญ่ ซึ่งต้องใช้แรงคนธรรมดา
  • 14. ๑๔ ถึงพันคนจึงจะยกขึ้นได้ ประการที่สี่สามารถชี้บอกขุมทรัพย์มหาศาลทั้ง13แห่งได้"แล้วจึงตรัสบอกปัญหาของขุมทรัพย์ทั้ง13 แห่ง แก่เหล่าอามาตย์เช่นขุมทรัพย์ที่ดวงอาทิตย์ขึ้นขุมทรัพย์ที่ดวงอาทิตย์ตกขุมทรัพย์ที่อยู่ภายในขุมทรัพย์ที่อยู่ภายนอก ขุมทรัพย์ที่ไม่ใช่ภายในและภายนอกขุมทรัพย์ที่ปลายไม้ ขุมทรัพย์ที่ปลายงาขุมทรัพย์ที่ปลายหางเป็นต้น เมื่อพระราชาสิ้นพระชนม์บรรดาเสนาบดีทหารพลเรือนและประชาราษฎร์ทั้งหลายต่างพยายามที่จะเป็นผู้สืบราชสมบัติ แต่ก็ไม่มีผู้ใดสามารถทาให้เจ้าหญิงสีวลีพอพระทัยได้ เพราะล้วนแต่พยายามเอาพระทัยเจ้าหญิงมากเกินไป จนเสียลักษณะของผู้ที่จะปกครองบ้านเมืองไม่มีผู้ใดสามารถยกมหาธนูใหญ่ได้ ไม่มีผู้ใดรู้ทิศหัวนอนของบัลลังก์สี่เหลี่ยม และไม่มีผู้ใดไขปริศนาขุมทรัพย์ได้ ในที่สุดบรรดาเสนาข้าราชบริพารจึงควรตั้งพิธีเสี่ยงราชรถเพื่อหาตัวบุคคลผู้มีบุญญาธิการสมควรครองเมือง บุษยราชรถเสี่ยงทายนั้นก็แล่นออกจากพระราชวังตรงไปที่สวนแล้วหยุดอยู่หน้าศาลาที่พระมหาชนกทรงนอนอยู่ ปุโรหิตที่ตามราชรถจึงให้ประโคมดนตรีขึ้นพระมหาชนกได้ยินเสียงประโคมจึงลืมพระเนตรขึ้นเห็นราชรถก็ทรงดาริว่า คงเป็นราชรถเสี่ยงทายพระราชาผู้มีบุญเป็นแน่แต่ก็มิได้แสดงอาการอย่างใดกลับบรรทมต่อไปปุโรหิตเห็นดังนั้นก็คิดว่า บุรุษผู้นี้เป็นผู้มีสติปัญญาไม่ตื่นเต้นตกใจกับสิ่งใดโดยง่ายจึงเข้าไปตรวจดูพระบาทพระมหาชนกเห็นลักษณะต้องตาม คาโบราณว่าเป็นผู้มีบุญจึงให้ประโคมดนตรีขึ้นอีกครั้งแล้วเข้าไปทูลอัญเชิญพระมหาชนกให้ทรงเป็นพระราชาเมืองมิถิลา พระมหาชนกตรัสถามว่าพระราชาไปไหนเสียปุโรหิตก็กราบทูลว่าพระราชาสวรรคตไม่มีพระโอรสมี แต่พระธิดาคือเจ้าหญิงสิวลีแต่องค์เดียวพระมหาชนกจึงทรงรับเป็นกษัตริย์ครองมิถิลาฝ่ายเจ้าหญิงสิวลีได้ทรงทราบว่า พระมหาชนกได้ราชสมบัติก็ประสงค์จะทดลองว่าพระมหาชนกสมควรเป็นกษัตริย์หรือไม่ จึงให้ราชบุรุษไปทูลเชิญเสด็จมาที่ปราสาทของพระองค์พระมหาชนกก็เฉยเสียมิได้ไปตามคาทูลเจ้าหญิงให้คนไปทูลถึง 3 ครั้ง พระมหาชนกก็ไม่สนพระทัยจนถึงเวลาหนึ่งก็ เสด็จไปที่ปราสาทของเจ้าหญิงเองโดยไม่ทรงบอกล่วงหน้า เจ้าหญิงตกพระทัยรีบเสด็จมาต้อนรับเชิญไปประทับบนบัลลังก์ พระมหาชนกจึงตรัสถามอามาตย์ว่าพระราชาที่สิ้นพระชนม์ตรัสสั่งอะไรไว้บ้างอามาตย์ก็ทูลตอบ พระมหาชนกจึงตรัสสั่งว่าข้อที่1 "ที่ว่าทาให้เจ้าหญิงพอพระทัยเจ้าหญิงได้ แสดงแล้วว่าพอพระทัยเราจึงได้เสด็จมาต้อนรับเรา"ข้อที่ 2 เรื่องปริศนาทิศหัวนอนบัลลังก์นั้นพระมหาชนกทรง คิดอยู่ครู่หนึ่งแล้วถอดเข็มทองคาที่กลัดผ้าโพกพระเศียรออกส่งให้เจ้าหญิงให้วางเข็มทองคาไว้ เจ้าหญิงทรงรับเข็มไปวางไว้ บนบัลลังก์สี่เหลี่ยมพระมหาชนกจึงทรงชี้บอกว่าตรงที่เข็มวางอยู่นั้นแหละคือทิศหัวนอนของบัลลังก์ โดยสังเกตจากการที่ เจ้าหญิงทรงวางเข็มทองคาจากพระเศียรไว้ ข้อที่3 นั้นก็ตรัสสั่งให้นามหาธนูมาทรงยกขึ้นและน้าวอย่างง่ายดายข้อที่ 4 เมื่ออามาตย์กราบทูลถึงปัญหาของขุมทรัพย์ทั้ง13แห่ง พระมหาชนกทรงคิดอยู่ครู่หนึ่งแล้วก็ ตรัสบอกคาแก้ปริศนา ขุมทรัพย์ทั้ง13 แห่งได้หมด เมื่อสั่งให้คนไปขุดดู ก็พบขุมทรัพย์ตามที่ตรัสบอกไว้ทุกแห่งผู้คนจึงพากันสรรเสริญปัญญาของ พระมหาชนกกันทั่วทุกแห่งหนพระมหาชนกโปรดให้เชิญพระมารดาและพราหมณ์ ทิศาปาโมกข์จากเมืองกาลจัมปากะ ทรงอุปถัมภ์ บารุงให้สุขสบายตลอดมาจากนั้นทรงสร้างโรงทานใหญ่ 6ทิศในเมืองมิถิลาทรงบริจาคมหาทานเป็นประจา เมืองมิถิลาจึงมีแต่ความผาสุกสมบูรณ์ เพราะพระราชาทรงอยู่ในทศพิธราชธรรมต่อมาพระนางสิวลีประสูติพระโอรส ทรงนามว่าทีฆาวุกุมารเมื่อเจริญวัยขึ้นพระบิดาโปรดให้ดารงตาแหน่งอุปราชอยู่มาวันหนึ่ง พระราชามหาชนกเสด็จอุทยานทอดพระเนตรเห็นมะม่วงต้นหนึ่งกิ่งหักใบไม้ร่วงอีกต้นมีใบแน่นหนาร่มเย็นเขียวชอุ่ม จึงตรัสถามอามาตย์กราบทูลว่าต้นมะม่วงที่มีกิ่งหักนั้นเป็นเพราะรสมีผลอร่อยผู้คนจึงพากันสอยบ้าง เด็ดกิ่งและขว้างปาเพื่อเอาบ้างจนมีสภาพเช่นนั้นส่วนอีกต้นไม่มีผลจึงไม่มีคนสนใจใบและกิ่งจึงสมบูรณ์เรียบร้อยดี พระราชาได้ฟังก็ทรงคิดว่าราชสมบัติเปรียบเหมือนต้นไม้มีผลอาจถูกทาลายแม้ไม่ถูกทาลายก็ต้องคอยระแวดระวังรักษา เกิดความกังวลเราจะทาตนเป็นผู้ ไม่มีกังวลเหมือนต้นไม้ไม่มีผลเราจะออกบรรพชาสละราชสมบัติเสียมิให้เกิดกังวล พระราชาเสด็จกลับมาปราสาทปลงพระเกศาพระมัสสุครองผ้ากาสาวพัสตร์ ครองอัฏฐบริขารครบถ้วน แล้วเสด็จออกจากมหาปราสาทไปครั้นพระนางสิวลีทรงทราบก็รีบติดตามมาทรงอ้อนวอนให้ พระราชาเสด็จกลับ