SlideShare a Scribd company logo
AEC Prompt
4
140
2,815
1,032
218
5,607
3,022
924
1,923
245
2,592
347
8,881
131
2,704
1,018
73
4,207
2,247
862
1,568
218
1,910
376
10,866
6,833
9,251
0
2,000
4,000
6,000
8,000
10,000
12,000
อาหารแชแข็ง
อาหารแปรรูป
สิ่งทอ
เครื่องใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส
อัญมณี และเครื่องประดับ
ยานยนตและชิ้นสวน
เคมีภัณฑ
ผลิตภัณฑยาง
ผลิตภัณฑจากพลาสติก
ผลิตภัณฑจากไม
เหล็กและผลิตภัณฑจากเหล็ก
อโลหะ
อุตสาหกรรมอื่นๆ
ลานเหรียญสหรัฐฯ
2551 2552
ภาพที่ 4 มูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรมของไทยไปตลาดอาเซียน (9)
ที่มา : Global Trade Atlas
2. ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน
ตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียนที่
เปรียบเทียบกับประเทศคูแขงที่เปนอาเซียนดวยกัน พบวาบางสินคาประเทศไทยมี
ตําแหนงตลาดที่สูงกวาคูแขง แตในบางสินคาก็มีตําแหนงตลาดที่ต่ํากวาคูแขง ซึ่ง
รายละเอียดตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมตางๆ มีดังนี้
2.1 อุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง
(1) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยในตลาด
อาเซียนและตลาดโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของ
ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคา
การสงออกไปตลาดโลกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออก
กลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอยละ 6.0 และ 5.4 ตามลําดับ และสําหรับมูลคา
การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
5
พบวาในป 2548 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังประเทศ
มาเลเซียมากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 35.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน
สัดสวนรอยละ 47.0 รองลงมาคือ สิงคโปร และเวียดนาม ซึ่งมีมูลคาการสงออก
เทากับ 29.9 และ 9.0 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการ
สงออกในป 2552 พบวาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยใน
ตลาดอาเซียนพบวาตลาดที่ไทยสงออกมากที่สุดเปลี่ยนเปนประเทศเวียดนาม โดย
มีมูลคาการสงออกเทากับ 64.9 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 49.5
ในขณะที่ประเทศมาเลเซียและสิงคโปรกลายเปนตลาดที่ไทยสงออกเปนอันดับ 2
และอันดับ 3 ตามลําดับ โดยในป 2552 มูลคาที่ไทยสงออกยังประเทศมาเลเซีย
และสิงคโปรเทากับ 35.0 และ 22.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 26.7 และ
16.8 (ตารางที่ 2)
ตารางที่ 2 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 -75.9 89.7 204.8 -36.9 41.5 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1
กัมพูชา 0.2 0.4 0.4 3.4 0.3 -49.7 63.5 2.6 730.1 -90.5 0.3 0.5 0.3 2.4 0.2
มาเลเซีย 35.9 40.2 67.2 47.5 35.0 -7.1 11.8 67.3 -29.4 -26.2 47.0 47.3 46.8 34.0 26.7
พมา 0.1 0.1 1.0 1.1 5.2 -87.8 32.6 584.7 16.9 356.0 0.1 0.2 0.7 0.8 4.0
ฟลลิปนส 0.5 0.4 0.5 0.6 0.4 -48.9 -4.5 17.6 7.3 -27.2 0.6 0.5 0.4 0.4 0.3
สิงคโปร 29.9 26.2 26.1 24.4 22.1 -16.3 -12.5 -0.2 -6.8 -9.3 39.1 30.8 18.2 17.5 16.8
เวียดนาม 9.0 17.1 47.4 59.8 64.9 162.0 89.9 176.4 26.2 8.6 11.8 20.1 32.9 42.8 49.5
อินโดนีเซีย 0.3 0.1 0.4 0.5 1.2 -93.1 -76.8 467.3 9.4 154.3 0.4 0.1 0.3 0.3 0.9
ลาว 0.4 0.4 0.6 2.3 1.9 -12.8 6.3 41.4 283.1 -16.3 0.5 0.5 0.4 1.7 1.5
อาเซียนรวม 76.4 85.0 143.8 139.6 131.2 -10.5 11.2 69.1 -2.9 -6.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 1,876.6 2,126.9 2,553.5 2,577.6 2,438.2 7.4 13.3 20.1 0.9 -5.4 - - - - -
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
AEC Prompt
6
(2) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศตางๆ ใน
อาเซียนไปยังตลาดอาเซียน
จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยและ
ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มีมูล
การสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย โดย
ในป 2551 อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมแชแข็งเทากับ 390.0
ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.7 สวนประเทศไทยมีการสงออก
อุตสาหกรรมแชแข็งเปนอันดับ 2 รองจากอินโดนีเซียโดยในป 2548 และป 2549
ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งเทากับ 115.2 และ 111.4 ลานเหรียญ
สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 14.6 และ 14.0 ตามลําดับ และประเทศที่มีการ
สงออกอุตสาหกรรมแชแข็งในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 คือประเทศเวียดนาม
โดยเวียดนามมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็ง ในป 2548 และ 2549 เทากับ
และ 87.9 และ 111.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 11.2 และ 14.0
ตามลําดับ แตในชวงป 2550 - 2552 พบวาประเทศเวียดนามกลายเปนประเทศที่
มีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับ 2 และ
สําหรับการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนของประเทศไทย
พบวาในป 2550 นั้นไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาด
อาเซียนเปนอันดับที่ 3 โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 114.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ
คิดเปนสัดสวนรอยละ 12.6 และอีกทั้งในชวงป 2551 และ 2552 พบวาประเทศ
ไทยมีมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปในตลาดอาเซียนตกไป
เปนอันดับที่ 5 (ตารางที่ 3)
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
7
ตารางที่ 3 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน1
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 0.1 0.2 0.0 0.0 0.1 -62.6 111.8 -76.7 -55.9 517.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
กัมพูชา 1.0 1.5 1.3 0.8 0.5 -19.4 55.3 -12.4 -39.9 4.2 0.1 0.2 0.1 0.1 0.1
มาเลเซีย 77.2 76.4 93.4 128.1 87.8 -9.6 -1.0 22.2 37.1 -4.8 9.8 9.6 10.3 13.7 13.6
พมา 101.8 105.5 96.5 121.2 89.9 5.1 3.6 -8.5 25.5 -1.8 12.9 13.2 10.7 12.9 13.9
ฟลลิปนส 14.7 33.2 30.1 42.3 36.5 -23.5 125.0 -9.2 40.3 3.6 1.9 4.2 3.3 4.5 5.7
สิงคโปร 18.6 28.9 12.2 15.7 7.3 -62.0 55.1 -57.9 28.5 -43.5 2.4 3.6 1.3 1.7 1.1
ไทย 115.2 111.4 114.0 102.2 67.9 -17.9 -3.3 2.3 -10.3 -13.3 14.6 14.0 12.6 10.9 10.5
เวียดนาม 87.9 111.1 141.4 135.5 104.8 -33.8 26.4 27.2 -4.2 -1.8 11.2 14.0 15.6 14.5 16.2
อินโดนีเซีย 370.5 328.2 414.8 390.0 251.4 6.6 -11.4 26.4 -6.0 -13.1 47.1 41.2 45.9 41.7 38.9
ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 735.5 47.2 -89.8 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
อาเซียนรวม 787.1 796.4 903.8 935.8 646.3 -9.8 1.2 13.5 3.5 -8.6 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 3,284.03,494.14,182.55,060.93411.3 6.6 6.4 19.7 21.0 -10.5 - - - - -
หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจาก
ประเทศในอาเซียนและโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทย
จากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา
อุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น
อยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง
ของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคา
การนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งจากตลาดโลกเทากับ 1,891.3 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 18.6 สวนทางดานมูลคาการ
นําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดอาเซียน พบวา ในป
1
การสงออกไปยังตลาดอาเซียน 5 ซึ่งไดแก ประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลลิปนส
AEC Prompt
8
2549 มูลคาการนําเขาอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนหดตัว
ลดลงจากป 2548 คิดเปนรอยละ 8.4 ตอมาในป 2550 การนําเขาของอุตสาหกรรม
มีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นจากป 2549 ที่มีมูลคาเทากับ 303.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ
เปน 358.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 18.1
และสําหรับในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทย
จากตลาดอาเซียนมีแนวโนมที่จะปรับตัวลดลงจากป 2551 โดยหดตัวลงจากป
2551 เทากับรอยละ 15.8 โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งจาก
ตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งในป 2552 มีมูลคาการนําเขา
เทากับ 140.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.7 รองลงมาคือ พมา
และเวียดนาม มีมูลคาการนําเขาเทากับ 72.4 และ52.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 4)
ตารางที่ 4 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก1
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
กัมพูชา 0.9 1.5 1.3 0.7 0.7 -18.6 57.1 -12.7 -42.6 -1.9 0.3 0.5 0.4 0.2 0.2
มาเลเซีย 14.0 11.5 12.6 37.0 29.6 -14.7 -17.5 9.0 194.2 -20.1 4.2 3.8 3.5 9.3 8.8
พมา 55.8 54.2 50.0 74.7 72.4 -1.4 -2.8 -7.8 49.3 -3.1 16.8 17.8 13.9 18.7 21.5
ฟลลิปนส 8.4 26.1 20.4 31.4 36.0 -43.9 210.5 -21.9 53.8 14.8 2.5 8.6 5.7 7.9 10.7
สิงคโปร 2.3 10.6 1.1 6.3 5.0 -28.7 359.7 -89.3 462.3 -20.9 0.7 3.5 0.3 1.6 1.5
เวียดนาม 28.7 28.4 38.3 46.9 52.2 65.2 -1.3 35.0 22.4 11.4 8.7 9.3 10.7 11.7 15.5
อินโดนีเซีย 221.5 171.6 235.1 202.1 140.2 11.9 -22.5 37.0 -14.0 -30.6 66.8 56.5 65.5 50.6 41.7
ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 735.5 47.2 -72.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
อาเซียนรวม 331.6 303.9 358.8 399.1 336.1 7.8 -8.4 18.1 11.2 -15.8 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 1,364.1 1,491.2 1,791.0 2,323.3 1,891.3 14.8 9.3 20.1 29.7 -18.6 - - - - -
ที่มา : คํานวณคํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
9
(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยและประเทศ
ในอาเซียน
เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศ
ไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนขาด
ดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซึ่ง
ประเทศที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไดแกประเทศ
อินโดนีเซีย พมา ฟลลิปนส ไทย และกัมพูชา โดยขาดดุลเทากับ 139 67.2 35.6
22.5 และ 0.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ สวนประเทศ บรูไน มาเลเซีย
สิงคโปร เวียดนาม ลาว เกินดุลการคา (ตารางที่ 5)
ตารางที่ 5 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
โลก 512.5 635.7 762.5 254.3 546.9 -8.3 24.0 20.0 -66.7 115.1
บรูไน 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 -75.9 89.6 204.9 -36.9 41.5
กัมพูชา -0.7 -1.1 -0.9 2.7 -0.4 4.1 54.8 -18.4 -403.8 -115.1
มาเลเซีย 22.0 28.6 54.6 10.4 5.5 -1.5 30.4 90.8 -80.9 -47.8
พมา -55.7 -54.1 -49.0 -73.5 -67.2 -0.1 -2.8 -9.3 50.0 -8.6
ฟลลิปนส -7.9 -25.7 -19.9 -30.8 -35.6 -43.5 223.2 -22.6 55.1 15.6
สิงคโปร 27.6 15.6 25.0 18.0 17.1 -15.1 -43.4 60.0 -27.9 -5.3
ไทย -1.4 -21.9 -22.4 -26.3 -22.5 -75.1 1411.1 2.4 17.3 -14.5
เวียดนาม -19.7 -11.2 9.1 12.9 12.7 41.3 -43.1 -180.7 42.2 -1.3
อินโดนีเซีย -221.2 -171.5 -234.7 -201.6 -139.0 14.5 -22.4 36.8 -14.1 -31.0
ลาว 0.4 0.4 0.6 2.3 1.9 -11.9 5.6 36.7 292.7 -15.4
อาเซียนรวม -256.6 -240.7 -237.4 -285.9 -227.4 12.5 -6.2 -1.4 20.4 -20.4
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
AEC Prompt
10
(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยในตลาด
อาเซียน
ปจจุบันประเทศกําลังพัฒนาไดใหความสําคัญกับการสงออกอาหารแชแข็ง
โดยเฉพาะประเทศในกลุมอาเซียน เชน อินโดนีเซีย ไทย และ เวียดนาม โดยถา
พิจารณาการสงออกของประเทศเหลานี้ในตลาดอาเซียนพบวาอินโดนีเซียถือวา
เปนผูสงออกรายใหญในภูมิภาค เนื่องจากสามารถสงออกสินคาไดมากที่สุด โดย
ในป 2548 มีสวนแบงตลาดรอยละ 48.6 ตอมาในป 2549 สวนแบงตลาดลดลงอยู
ที่รอยละ 42.8 จากนั้นเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 46.1 ในป 2550 แตในป 2551 ปรับ
ลดลงมาอยูที่รอยละ 41.4 จากการที่สวนแบงตลาดของอินโดนีเซียลดลงในป
2551 นี้ เปนผลมาจากอินโดนีเซียเพิ่มการสงออกอาหารแชแข็งไปยังตลาดสหรัฐ
มากขึ้นโดยเฉพาะกุงสดแชแข็ง สําหรับประเทศไทยมีสวนแบงอาหารแชแข็งไปยัง
ตลาดอาเซียนในสัดสวนที่นอยเมื่อเทียบกับผูสงออกรายใหญอยางอินโดนีเซีย
โดยในป 2551 มีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 10.8 ลดลงเมื่อเทียบกับป 2550 ซึ่งมี
สวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 12.7 ดังแสดงในตารางที่ 6 และภาพที่ 5
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
11
หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.
ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส
ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)
ภาพที่ 5 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกอาหารแชแข็งในตลาดอาเซียน
2.2 อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
(1) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยในตลาด
อาเซียนและตลาดโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศ
ไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคาการ
สงออกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่หด
ตัวลงเทากับรอยละ 3.9 และ 2.9 ตามลําดับ และสําหรับมูลคาการสงออกของ
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป
2548 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรูปไปยังประเทศอินโดนีเซีย
มากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 369.0 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวน
รอยละ 22.6 รองลงมาคือ มาเลเซีย และฟลลิปนส ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ
AEC Prompt
12
361.5 และ 202.4 ตามลําดับ ตอมาในป 2549 พบวาประเทศมาเลเซียกลายเปน
ประเทศที่ไทยมีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปมากที่สุด โดยมีมูลคาการ
สงออกเทากับ 376.6 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 22.5 ทําให
อินโดนีเซียกลายเปนตลาดที่ไทยมีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรูปเปนอันดับ
ที่ 2 กัมพูชาเปนอันดับที่ 3 และฟลลิปนสเปนอันดับที่ 4 ซึ่งมีมูลคาการสงออก
เทากับ 376.6 262.8 และ194.3 อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการ
สงออกในป 2550 - 2552 พบวาประเทศอินโดนีเซียเปนตลาดที่ไทยมีการสงออก
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปมากที่สุด และในป 2552 กัมพูชาเปนตลาดที่ไทย
สงออกมากที่สุดเปนอันดับ 2 มาเลเซียเปนอันดับ 3 พมาเปนอันดับที่ 4 (ตารางที่
6)
ตารางที่ 6 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 6.6 7.8 9.7 9.7 9.3 25.6 17.1 25.1 -0.1 -3.8 0.4 0.5 0.4 0.3 0.3
กัมพูชา 197.7 262.8 286.7 368.9 445.1 35.3 32.9 9.1 28.7 20.6 12.1 15.7 11.8 13.1 16.5
มาเลเซีย 361.5 376.6 521.4 482.2 364.7 -7.9 4.2 38.4 -7.5 -24.4 22.1 22.5 21.4 17.1 13.5
พมา 145.6 119.8 192.8 312.8 345.8 -6.7 -17.7 61.0 62.2 10.6 8.9 7.2 7.9 11.1 12.8
ฟลลิปนส 202.4 194.3 249.1 302.1 309.3 21.7 -4.0 28.2 21.3 2.4 12.4 11.6 10.2 10.7 11.4
สิงคโปร 138.2 160.0 267.4 286.2 262.9 -1.8 15.8 67.1 7.0 -8.1 8.5 9.6 11.0 10.2 9.7
เวียดนาม 117.0 154.4 220.5 255.1 278.9 67.6 32.0 42.7 15.7 9.3 7.2 9.2 9.0 9.1 10.3
อินโดนีเซีย 369.0 289.5 549.1 613.1 488.4 16.4 -21.6 89.7 11.7 -20.3 22.6 17.3 22.5 21.8 18.1
ลาว 95.0 108.5 143.2 184.4 199.4 30.6 14.2 32.0 28.8 8.2 5.8 6.5 5.9 6.6 7.4
อาเซียนรวม 1,633.0 1,673.7 2,439.9 2,814.6 2,703.9 11.4 2.5 45.8 15.4 -3.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 7,889.1 9,171.0 1,1613.0 13,626.0 13,226.2 11.3 16.2 26.6 17.3 -2.9 - - - - -
หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
13
(2) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศตางๆ ใน
อาเซียนไปยังตลาดอาเซียน
จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย
และประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มี
มูลการสงออกอุตสาหกรรมแปรรูปไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย
โดยในป 2552 อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
เทากับ 1,733.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 36.4 สวนประเทศ
มาเลเซียมีการสงออกอุตสาหกรรมแปรรูปรองเปนอันดับ 2 รองจากอินโดนีเซีย
โดยมาเลเซียมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปเทากับ 1,236.5 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.0 และประเทศที่มีการสงออก
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 ไดแกประเทศไทยซึ่งในป
2552 มีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปเทากับ 918.8 ลานเหรียญ
สหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 19.3 (ตารางที่ 3)
AEC Prompt
14
ตารางที่ 7 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 0.3 0.3 0.1 0.0 0.0 187.0 25.6 -71.7 -64.9 -5.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
กัมพูชา 3.3 2.7 1.9 1.6 7.9 57.4 -17.9 -30.5 -13.5 424.1 0.1 0.1 0.0 0.0 0.2
มาเลเซีย 1,099.5 1,234.6 1,662.9 2,077.4 1,236.5 3.6 12.3 34.7 24.9 -24.4 27.0 27.5 26.9 26.9 26.0
พมา 44.5 54.1 62.6 63.4 67.6 7.4 21.7 15.7 1.2 30.8 1.1 1.2 1.0 0.8 1.4
ฟลิปปนส 222.2 213.3 255.0 294.3 141.6 4.9 -4.0 19.5 15.4 -39.0 5.5 4.8 4.1 3.8 3.0
สิงคโปร 438.1 501.3 575.5 688.8 440.6 25.4 14.4 14.8 19.7 -15.3 10.8 11.2 9.3 8.9 9.3
ไทย 1,050.6 933.8 1,528.0 1,542.6 918.9 8.1 -11.1 63.6 1.0 -24.1 25.8 20.8 24.8 20.0 19.3
เวียดนาม 108.1 135.1 269.3 312.3 210.2 38.8 25.0 99.4 16.0 -12.0 2.7 3.0 4.4 4.0 4.4
อินโดนีเซีย 1,098.7 1,408.6 1,811.8 2,735.5 1,733.4 -13.3 28.2 28.6 51.0 -19.7 27.0 31.4 29.4 35.4 36.4
ลาว 0.7 1.0 4.0 2.3 2.4 0.3 0.0 311.5 -41.1 31.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0
อาเซียนรวม 4,065.7 4,484.7 6,171.0 7,718.2 4,759.0 2.1 10.3 37.6 25.1 -21.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 13,557.115,259.519,989.124,549.915,477.0 8.7 12.6 31.0 22.8 -17.8 - - - - -
หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจาก
ประเทศในอาเซียนและโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย
จากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา
อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น
อยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
ของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคา
การนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดโลกเทากับ 3,569.5 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 15.8 สวนทางดานมูลคาการ
นําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากตลาดอาเซียน พบวา ในป
2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดอาเซียน
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
15
เทากับ 611.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 11.8 โดย
ประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก
ประเทศมาเลเซีย ซึ่งในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 203.8 ลานเหรียญ
สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 33.4 รองลงมาคือ อินโดนีเซียและสิงคโปร มีมูลคา
การนําเขาเทากับ 166.8 และ 109.2 คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.3 และ 17.9
ตามลําดับ (ตารางที่ 8)
ตารางที่ 8 มูลการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -81.1 -100.0 0.0 -96.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
กัมพูชา 1.6 0.7 1.0 1.2 1.9 212.7 -55.4 39.1 23.9 54.7 0.4 0.2 0.2 0.2 0.3
มาเลเซีย 121.6 138.1 207.1 261.8 203.8 -8.9 13.6 50.0 26.4 -22.1 33.5 34.4 39.6 37.8 33.4
พมา 9.2 5.6 7.5 10.4 15.2 -4.1 -38.8 33.4 38.4 47.1 2.5 1.4 1.4 1.5 2.5
ฟลลิปนส 46.2 44.4 49.4 75.3 63.5 10.0 -3.9 11.2 52.5 -15.6 12.7 11.1 9.4 10.9 10.4
สิงคโปร 72.7 94.5 113.2 126.9 109.2 35.0 30.0 19.8 12.0 -13.9 20.0 23.6 21.6 18.3 17.9
เวียดนาม 14.7 15.2 21.0 61.5 47.5 20.0 3.0 38.0 193.4 -22.6 4.1 3.8 4.0 8.9 7.8
อินโดนีเซีย 96.5 101.8 123.6 153.6 166.8 35.8 5.5 21.4 24.3 8.6 26.6 25.4 23.6 22.2 27.3
ลาว 0.4 0.8 0.8 2.0 3.0 -0.5 111.0 2.5 135.8 51.7 0.1 0.2 0.2 0.3 0.5
อาเซียนรวม 362.8 401.1 523.5 692.5 611.0 12.3 10.6 30.5 32.3 -11.8 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 2247.3 2477.8 3253.1 4240.0 3569.5 14.3 10.3 31.3 30.3 -15.8 - - - - -
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยและประเทศ
ในอาเซียน
เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศ
ไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ตั้งแตป 2548 – 2552 ในภาพรวมเกือบทุก
ประเทศในอาเซียนเกินดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปอยางตอเนื่อง มี
AEC Prompt
16
เพียงประเทศไทยประเทศเดียวที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
โดยขาดดุลในป 2552 ขาดดุลเทากับ 20.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ (ตารางที่ 9)
ตารางที่ 9 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
โลก 5,641.8 6,693.1 8,359.9 9,386.0 9,656.8 10.2 18.6 24.9 12.3 2.9
บรูไน 6.6 7.8 9.7 9.7 9.3 25.6 17.1 25.2 -0.2 -3.7
กัมพูชา 196.2 262.1 285.8 367.7 443.3 34.7 33.6 9.0 28.7 20.5
มาเลเซีย 239.9 238.5 314.3 220.4 160.9 -7.4 -0.6 31.8 -29.9 -27.0
พมา 136.4 114.2 185.3 302.4 330.6 -6.9 -16.3 62.3 63.2 9.3
ฟลลิปนส 156.2 149.9 199.8 226.9 245.8 25.6 -4.0 33.3 13.6 8.4
สิงคโปร 65.5 65.5 154.1 159.3 153.7 -24.6 -0.1 135.4 3.4 -3.5
ไทย -2.9 -0.9 -7.1 -22.4 -20.5 -51.5 -69.4 687.8 216.3 -8.6
เวียดนาม 102.2 139.3 199.5 193.6 231.4 77.8 36.2 43.3 -2.9 19.5
อินโดนีเซีย 272.6 187.7 425.5 459.5 321.6 10.8 -31.1 126.7 8.0 -30.0
ลาว 94.6 107.6 142.3 182.4 196.4 30.8 13.8 32.2 28.1 7.7
อาเซียนรวม 1,267.3 1,271.7 1,909.3 2,099.6 2,072.5 11.4 0.3 50.1 10.0 -1.3
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
5 ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยใน
ตลาดอาเซียน
การสงออกอาหารแปรรูปไปตลาดอาเซียนนั้นถือวาอินโดนีเซียเปนผูครอง
ตลาด เนื่องจากสามารถสงออกอาหารแปรรูปไดมากที่สุด ทําใหมีสวนแบงตลาด
อยูที่รอยละ 27.0-35.4 ในป 2548-2551 ซึ่งในป 2551 อินโดนีเซียสามารถครอง
สวนแบงตลาดไดมากถึงรอยละ 35.4 จากอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นเปนรอยละ
51.0 จากป 2550 สําหรับไทยถือวาเปนหนึ่งในไมกี่ประเทศของโลก ที่มีการสงออก
อาหารแปรรูปในคอนขางสูง และการสงออกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะตลาด
หลัก เชน สหรัฐ สภาพยุโรป และญี่ปุน แตเมื่อพิจารณาในตลาดอาเซียน พบวา
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
17
สวนแบงตลาดของไทยในป 2551 อยูที่ประมาณรอยละ 20.0 ซึ่งเปนอันดับ 3 ของ
กลุมอาเซียน รองจาก อินโดนีเซีย และมาเลเซีย อยางไรก็ตามพบวาสวนแบงตลาด
ในมี2551 เปนสวนแบงตลาดที่ต่ําสุดในรอบ 5 ปจากการหดตัวของมูลคาการ
สงออกรอยละ 1.0 เมื่อเทียบกับป 2550 ที่มีอัตราการขยายตัวอยูที่รอยละ 63.6
สําหรับรายละเอียดแสดงในภาพที่ 6
หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.
ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส
ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)
ภาพที่ 6 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกอาหารแปรรูปในตลาดอาเซียน
2.3 อุตสาหกรรมสิ่งทอ
(1) การสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาดอาเซียน
และตลาดโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยใน
ตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2552 มูลคาการสงออก
อุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยไปโลกมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ สวนแนวโนมการ
AEC Prompt
18
สงออกไปในตลาดอาเซียนในชวงป 2548-2552 มีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดย ในป
2552 ประเทศที่ไทยมีการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารสิ่งทอไปมากที่สุด คือ
เวียดนาม ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ 249.6 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวน
รอยละ 24.5 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ
172.5 และ 114.0 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 17.0 และ 11.2
ตามลําดับ (ตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 4.0 3.1 3.3 2.7 3.2 24.3 -22.6 8.7 -18.9 19.8 0.5 0.4 0.3 0.3 0.3
กัมพูชา 57.5 80.3 66.9 78.0 77.9 19.5 39.7 -16.7 16.6 -0.1 7.4 9.9 6.7 7.6 7.7
มาเลเซีย 116.1 112.0 130.5 135.5 114.0 13.2 -3.6 16.5 3.8 -15.9 15.0 13.8 13.1 13.1 11.2
พมา 61.2 67.2 82.6 98.0 107.6 29.3 9.7 23.0 18.6 9.8 7.9 8.3 8.3 9.5 10.6
ฟลลิปนส 109.4 96.8 115.3 102.8 97.2 21.0 -11.5 19.1 -10.9 -5.4 14.1 11.9 11.6 10.0 9.6
สิงคโปร 88.3 103.9 131.2 119.6 121.2 -10.2 17.6 26.3 -8.8 1.3 11.4 12.8 13.1 11.6 11.9
เวียดนาม 115.9 142.9 217.1 224.6 249.6 35.6 23.3 51.9 3.4 11.1 14.9 17.6 21.8 21.8 24.5
อินโดนีเซีย 151.9 136.7 172.4 183.3 172.5 20.5 -10.0 26.1 6.3 -5.9 19.6 16.8 17.3 17.8 17.0
ลาว 72.2 70.5 78.7 87.6 74.5 32.2 -2.4 11.6 11.3 -14.9 9.3 8.7 7.9 8.5 7.3
อาเซียนรวม 776.6 813.3 998.0 1,032.1 1,017.8 18.3 4.7 22.7 3.4 -1.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 6,718.7 6,963.8 7,547.9 7,288.7 6,498.0 4.7 3.6 8.4 -3.4 -10.8 - - - - -
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(2) การสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศตางๆ ในอาเซียนไป
ยังตลาดอาเซียน
จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและ
ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548-2551 พบวามีแนวโนมการ
สงออกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ โดยในป 2548 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอ
ไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก มาเลเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออกออก
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
19
อุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 588.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 31.0
รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และไทย มีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมสิ่งทอ
เทากับ 534.1 และ 355.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.1 และ
18.7 ตามลําดับ ตอมาในป 2549-2550 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมสิ่ง
ทอไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุดเปลี่ยนเปน อินโดนีเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออกออก
อุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 693.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 และ 675.4 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ ในป 2550 คิดเปนสัดสวนรอยละ 33.8 และ 31.5 ตามลําดับ สงผล
ใหมาเลเซียกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปยังตลาดอาเซียน
รองเปนอันดับ 2 โดยมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 602.0 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 และ 632.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ
29.3 และ 29.5 ตามลําดับ สวนประเทศไทยยังคงเปนประเทศที่มีการสงออก
อุตสาหกรรมสิ่งทอเปนอันดับ 3 และเมื่อพิจารณาตอไปในป 2551 พบวาประเทศ
มาเลเซีย กลับมาเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปยังตลาดอาเซียน
มากที่สุด รองลงมาเปน อินโดนีเซีย และไทย และเมื่อพิจารณาในป 2552 กลับ
พบวา พมา กลายมาเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอมากที่สุด โดยมี
มูลคาการสงออกเทากับ 354.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.3
รองลงมาเปน มาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย โดยโดยมีมูลคาการสงออก
เทากับ 336.3 283.7 190.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 24.9 21.0
14.1 ตามลําดับ สวนประเทศไทยกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่ง
ทอไปยังตลาดอาเซียน เปนอันดับ 5 ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ 113.8 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 8.4 ในป 2552 (ตารางที่ 11)
AEC Prompt
20
ตารางที่ 11 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 109.0 84.5 68.8 39.1 22.9 -22.6 -22.5 -18.5 -43.1 -21.9 5.7 4.1 3.2 1.6 1.7
กัมพูชา 57.9 47.0 37.6 35.0 17.0 33.2 -18.9 -20.1 -6.7 -39.1 3.0 2.3 1.8 1.4 1.3
มาเลเซีย 588.8 602.0 632.7 755.1 336.3 -5.1 2.2 5.1 19.3 -26.8 31.0 29.3 29.5 31.2 24.9
พมา 13.9 17.1 12.3 11.4 354.5 -55.6 23.2 -27.9 -7.6 -41.3 0.7 0.8 0.6 0.5 26.3
ฟลลิปนส 39.2 36.2 43.6 40.9 9.3 17.7 -7.9 20.5 -6.1 21.9 2.1 1.8 2.0 1.7 0.7
สิงคโปร 92.6 81.1 88.2 226.7 19.7 3.0 -12.4 8.9 156.9 -41.5 4.9 3.9 4.1 9.4 1.5
ไทย 355.8 332.3 384.6 441.0 113.8 8.3 -6.6 15.7 14.7 -29.0 18.7 16.2 17.9 18.2 8.4
เวียดนาม 107.9 157.3 196.5 272.6 283.7 39.8 45.7 24.9 38.7 -17.0 5.7 7.7 9.2 11.3 21.0
อินโดนีเซีย 534.1 693.4 675.4 590.2 190.7 12.8 29.8 -2.6 -12.6 -8.5 28.1 33.8 31.5 24.4 14.1
ลาว 1.9 2.3 3.4 4.7 2.0 44.6 0.0 47.1 39.4 -43.3 0.1 0.1 0.2 0.2 0.1
อาเซียนรวม 1,901.1 2,053.1 2,143.0 2,416.71,349.9 3.3 8.0 4.4 12.8 -28.0 100.0 100.0 100.0 100.0100.0
โลก 10,326.811,152.011,739.214,822.58,469.9 0.5 8.0 5.3 26.3 -26.1 - - - - -
หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากประเทศ
ในอาเซียนและโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจาก
ตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา
อุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและโลกมีแนวโนมปรับตัว
สูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอของ
ประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป
2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดอาเซียนเทากับ
270.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 19.1 และไทยมี
มูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดโลกเทากับ 2,900.3 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 22.7 ซึ่งประเทศที่ไทยนําเขา
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
21
อุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศอินโดนีเซีย โดยในป
2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 96.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ
35.6 รองลงมาคือ เวียดนาม และมาเลเซีย มีมูลคาการนําเขาเทากับ 78.9 และ
50.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ (ตารางที่ 12)
ตารางที่ 12 มูลคาการการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 0.0 0.1 0.0 0.0 0.1 -99.9 22,457.8 -98.4 1128.9 157.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0
กัมพูชา 8.4 5.9 8.0 4.8 3.1 220.9 -29.9 35.2 -40.1 -34.9 4.0 2.5 2.8 1.4 1.2
มาเลเซีย 30.1 36.3 43.8 57.0 50.6 5.6 20.6 20.7 30.1 -11.3 14.3 15.2 15.2 17.0 18.7
พมา 0.2 0.4 0.7 0.7 1.3 -28.1 62.7 74.5 -5.9 97.7 0.1 0.2 0.2 0.2 0.5
ฟลลิปนส 15.2 15.1 18.9 17.7 12.0 32.9 -0.7 25.3 -6.1 -32.5 7.2 6.3 6.6 5.3 4.4
สิงคโปร 21.5 20.5 22.3 29.8 25.6 15.4 -4.6 8.4 33.9 -14.0 10.2 8.6 7.7 8.9 9.5
เวียดนาม 30.1 48.6 70.4 86.3 78.9 192.7 61.4 45.0 22.6 -8.6 14.3 20.4 24.5 25.8 29.1
อินโดนีเซีย 103.1 109.1 120.0 134.0 96.6 10.7 5.8 10.0 11.7 -28.0 49.0 45.8 41.8 40.0 35.6
ลาว 1.7 2.2 3.3 4.4 2.7 34.0 26.3 50.5 33.1 -37.8 0.8 0.9 1.1 1.3 1.0
อาเซียนรวม 210.4 238.2 287.4 334.8 270.9 26.2 13.2 20.7 16.5 -19.1 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 2,929.9 2,997.3 3,390.3 3,754.4 2,900.3 7.8 2.3 13.1 10.7 -22.7 - - - - -
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและประเทศใน
อาเซียน
เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและ
ประเทศในอาเซียน พบวา ตั้งแตป 2548 – 2552 ในภาพรวมเกือบทุกประเทศใน
อาเซียนเกินดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปอยางตอเนื่อง มีเพียงประเทศ
ไทยประเทศเดียวที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป โดยขาดดุล
ในป 2552 ขาดดุลเทากับ 19.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ (ตารางที่ 13)
AEC Prompt
22
ตารางที่ 13 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
โลก 3,788.8 3,966.6 4,157.6 3,534.3 3,597.7 2.3 4.7 4.8 -15.0 1.8
บรูไน 4.0 2.9 3.3 2.7 3.2 46.3 -25.9 13.6 -19.6 18.5
กัมพูชา 49.1 74.4 58.9 73.2 74.8 7.9 51.6 -20.8 24.3 2.2
มาเลเซีย 86.1 75.7 86.7 78.5 63.4 16.1 -12.0 14.5 -9.4 -19.2
พมา 61.0 66.8 81.9 97.3 106.3 29.7 9.5 22.7 18.8 9.2
ฟลลิปนส 94.3 81.8 96.4 85.0 85.3 19.3 -13.3 17.9 -11.8 0.3
สิงคโปร 66.8 83.3 108.9 89.8 95.5 -16.2 24.7 30.7 -17.5 6.4
ไทย -3.6 -2.0 -4.6 -9.4 -19.2 -49.6 -44.2 128.6 106.6 103.1
เวียดนาม 85.8 94.4 146.7 138.3 170.7 14.2 9.9 55.5 -5.8 23.4
อินโดนีเซีย 48.7 27.6 52.3 49.3 76.0 48.2 -43.4 89.8 -5.9 54.2
ลาว 70.5 68.3 75.4 83.2 71.8 32.2 -3.1 10.3 10.4 -13.7
อาเซียนรวม 562.6 573.1 706.0 687.9 727.8 16.6 1.9 23.2 -2.6 5.8
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาด
อาเซียน
อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหมของไทยถือไดวาเปนอุตสาหกรรมที่มี
ลักษณะครบวงจร กลาวคือมีการผลิตทั้งในอุตสาหกรรมตนน้ํา (การผลิตเสนใย
เสนดาย) อุตสาหกรรมกลางน้ํา(การผลิตผาผืน ผาทอ ฟอกยอม) และอุตสาหกรรม
ปลายน้ํา (การผลิตเสื้อผาและเครื่องนุงหม) ซึ่งโครงสรางการผลิตจะเปนผลิตเพื่อ
การสงออก และมีลักษณะรับจางผลิต มากกวาที่จะเปนการผลิตแบบออกแบบเอง
โดยผูประกอบการไทยมีหนาที่รับคําสั่งจากลูกคา หาวัตถุดิบและตัดเย็บตามความ
ตองการของลูกคาภายใตชื่อผลิตภัณฑที่เปนรูจัก ดังนั้นตลาดสงออกหลักของ
สินคาประเภทสิ่งทอและเครื่องนุงหมที่สําคัญของไทยจึงไดแก ประเทศในกลุม
สหภาพยุโรป และอเมริกา ปจจุบันประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศมีการ
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
23
กําหนดมาตรฐานสินคาไวสูงมาก ทําใหผูประกอบการบางรายของไทยไดเปลี่ยน
ตลาดสงออกไปยังกลุมตลาดใหม เชน ประเทศในกลุมตะวันออกกลาง
อยางไรก็ตามถาพิจารณาเฉพาะในตลาดอาเซียนแลว พบวาประเทศที่มีการ
สงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปตลาดนี้มากที่สุดเปนอันดับที่ 1 และ 2 คือ มาเลเซีย
และอินโดนีเซีย ตามลําดับ โดยในป 2547-2548 มาเลเซียมีสวนแบงตลาดมาก
ที่สุดอยูที่รอยละ 33.7 และ 31.0 ตามลําดับ แตในป 2549 - 2550 มาเลเซียมีสวน
แบงตลาดลดลงอยูที่ประมาณรอยละ 29.3 และ 29.5 ตามลําดับ เนื่องมาจาก
อินโดนีเซียสามารถสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปตลาดอาเซียนไดเพิ่มขึ้น แตในป
2551 มาเลเซียสามารถแยงสวนแบงตลาดจากอินโดนีเซียมาได ทําใหสวนแบง
ตลาดกลับเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 31.2 สวนไทยถือวาเปนผูสงออกสิ่งทออันดับที่ 3 ใน
กลุมอาเซียน โดยมีสวนแบงตลาดในป 2551 อยูที่รอยละ 18.2 ซึ่งถือวาคอยของ
นอยมากเมื่อเทียบกับประเทศผูสงออกหลักทั้งสองดังแสดงในภาพที่ 7
หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.
ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส
ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)
ภาพที่ 7 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกสิ่งทอในตลาดอาเซียน
AEC Prompt
24
2.4 อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
(1) การสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ
ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548
ถึงป 2551 มูลคาการสงออกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการ
สงออกกลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอยละ4.8 และ 2.5 ตามลําดับ และสําหรับ
มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของไทยไปยัง
ประเทศตาง ๆ ในอาเซียน ตั้งแตป 2548-2552 ไทยมีมูลคาการสงออก
อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังประเทศสิงคโปรมากที่สุด โดย
ในป 2552 มีมูลคาการสงออกเทากับ 3,128.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวน
รอยละ33.8 รองลงมาคือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ
2,647.8 และ 1,126.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.6 และ 12.2
ตามลําดับ (ตารางที่ 14)
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
25
ตารางที่ 14 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 7.0 12.5 14.1 12.3 7.3 114.7 77.2 13.1 -12.9 -40.4 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1
กัมพูชา 101.3 111.9 147.9 206.9 154.8 59.1 10.4 32.3 39.9 -25.2 1.3 1.3 1.3 1.9 1.7
มาเลเซีย 2,283.1 2,415.7 2989.5 3,053.7 2,647.8 4.1 5.8 23.8 2.1 -13.3 28.9 28.0 26.2 28.1 28.6
พมา 62.7 64.5 93.1 106.5 156.3 2.7 2.9 44.3 14.5 46.7 0.8 0.7 0.8 1.0 1.7
ฟลลิปนส 662.0 978.8 1026.1 914.1 817.6 -2.4 47.9 4.8 -10.9 -10.6 8.4 11.3 9.0 8.4 8.8
สิงคโปร 3,559.4 3,724.0 5,037.1 3,951.0 3,128.4 -5.2 4.6 35.3 -21.6 -20.8 45.1 43.1 44.1 36.4 33.8
เวียดนาม 369.8 527.6 804.2 933.7 992.3 26.6 42.7 52.4 16.1 6.3 4.7 6.1 7.0 8.6 10.7
อินโดนีเซีย 746.9 665.4 1,109.6 1,465.1 1,126.2 21.8 -10.9 66.8 32.0 -23.1 9.5 7.7 9.7 13.5 12.2
ลาว 102.7 133.0 190.8 222.7 220.7 23.8 29.5 43.5 16.8 -0.9 1.3 1.5 1.7 2.0 2.4
อาเซียนรวม 7,894.9 8,633.3 11,412.4 10,866.0 9,251.4 2.0 9.4 32.2 -4.8 -14.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 39,997.5 47,246.2 58,435.4 56,966.1 48,446.3 9.2 18.1 23.7 -2.5 -15.0 - - - - -
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(2) การสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ
ประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน
จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ในป
2548 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไป
ยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก มาเลเซีย โดยมีมูลคาการสงออกออก
อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเทากับ 23,031.3 ลานเหรียญ
สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 39.7 สวนประเทศสิงคโปรและไทยมีการสงออก
อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสรองเปนอันดับ 2 และ 3 โดยมีมูลคา
การสงออกออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเทากับ 11,115.4
และ 7,999.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.1และ 13.8 ตามลําดับ
ตอมาในป 2550 พบวา ไทยกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรม
AEC Prompt
26
เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับที่ 4 โดยประเทศ
ฟลิปปนส กลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับที่ 3 ซึ่งในป 2550 ไทยและ ฟลลิปนส
มีมูลคาการสงออกเทากับ 8,573.5 และ 8,441.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน
สัดสวนรอยละ 13.5และ 13.3 ตามลําดับ และหลังจากป 2550 ไทยก็กลับมาเปน
ประเทศที่มีการสงออกไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับที่ 3 รองจาก มาเลเซีย และ
สิงคโปร (ตารางที่ 15)
ตารางที่ 15 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
ของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน
ตารางที่ 15 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 3.3 1.9 4.9 12.2 9.4126.1 -41.0150.9149.6 20.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
กัมพูชา 0.6 2.7 1.9 2.9 1.4 -50.7374.7 -31.4 55.8 -25.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
มาเลเซีย 23,031.3 25,070.6 25,764.6 25,255.4 13,359.9 5.8 8.9 2.8 -2.0 -33.9 39.7 40.1 40.4 38.1 34.8
พมา 8.6 8.6 10.7 16.6 7.6 40.0 1.0 24.4 54.9 -11.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
ฟลิปปนส 7,988.2 8,187.8 8,573.5 6,575.0 4,513.5 10.6 2.5 4.7 -23.3 -16.0 13.8 13.1 13.5 9.9 11.8
สิงคโปร 11,115.4 12,841.8 12,884.8 16,127.4 9,912.0 12.0 15.5 0.3 25.2 -20.7 19.1 20.5 20.2 24.4 25.9
ไทย 7,999.4 8,523.0 8,441.4 9,825.2 5,769.3 4.5 6.5 -1.0 16.4 -22.1 13.8 13.6 13.3 14.8 15.0
เวียดนาม 735.8 763.8 1,007.4 1,275.1 786.5 27.5 3.8 31.9 26.6 -18.0 1.3 1.2 1.6 1.9 2.1
อินโดนีเซีย 7,179.9 7,151.6 6,999.8 7,103.2 3,971.5 9.2 -0.4 -2.1 1.5 -28.8 12.4 11.4 11.0 10.7 10.4
ลาว 2.2 4.8 12.9 19.8 11.4 -50.7 0.0165.8 54.0 -25.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
อาเซียนรวม 58,064.6 62,556.7 63,701.8 66,212.7 38,342.6 8.0 7.7 1.8 3.9 -26.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 239,393.1 268,485.7277,244.9 299,737.6 171,632.2 9.0 12.2 3.3 8.1 -26.2 - - - - -
หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
27
(3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
ของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟา
และอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต
2548 – 2551 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ
ประเทศไทยจากอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง
จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง
โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกสจากอาเซียนและตลาดโลกเทากับ 8,674.6 และ 44,405.8 ลาน
เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 16.3 และ 14.2 ตามลําดับ
โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจากตลาด
อาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศมาเลเซีย ซึ่งในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ
4,179.7ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 48.2 รองลงมาคือ สิงคโปร
และฟลลิปนส มีมูลคาการนําเขาเทากับ 2,718.3 และ 672.8 ตามลําดับ (ตารางที่
16)
AEC Prompt
28
ตารางที่ 16 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและ
โลก
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 0.1 0.0 0.0 0.1 0.0 384.1 -68.9 111.9 40.4 -32.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
กัมพูชา 0.1 0.0 0.6 0.6 0.3 -73.6 -79.0 2979.7 -4.4 -52.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
มาเลเซีย 3,394.2 3,521.4 4,437.7 4,417.2 4,179.7 18.9 3.7 26.0 -0.5 -5.4 43.0 41.8 43.5 42.6 48.2
พมา 0.9 0.9 3.8 2.6 0.1 -21.9 1.9 337.7 -31.8 -96.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0
ฟลลิปนส 1,063.7 1,120.3 1,137.0 919.8 672.8 23.0 5.3 1.5 -19.1 -26.9 13.5 13.3 11.1 8.9 7.8
สิงคโปร 2,450.8 2,835.8 3,401.9 3,500.7 2,718.3 21.3 15.7 20.0 2.9 -22.3 31.0 33.6 33.3 33.8 31.3
เวียดนาม 357.0 384.4 474.1 532.1 446.3 47.0 7.7 23.3 12.2 -16.1 4.5 4.6 4.6 5.1 5.1
อินโดนีเซีย 626.4 564.0 734.8 965.1 640.6 47.0 -10.0 30.3 31.3 -33.6 7.9 6.7 7.2 9.3 7.4
ลาว 2.2 4.7 12.7 19.7 16.4 -47.7 116.4 172.0 55.0 -16.8 0.0 0.1 0.1 0.2 0.2
อาเซียนรวม 7,895.3 8,431.5 10,202.7 10,357.9 8,674.6 23.1 6.8 21.0 1.5 -16.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 40,402.7 43,304.9 50,897.8 51,754.7 44,405.8 17.4 7.2 17.5 1.7 -14.2 - - - - -
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(4) ดุลการคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ
ประเทศไทยและประเทศในอาเซียน
เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ
อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุม
ประเทศในอาเซียนขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
อยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซึ่งประเทศที่มีการขาดดุลการคาใน
อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไดแกประเทศ มาเลเซีย และไทย
โดยขาดดุลเทากับ 1, 532.0 และ 1,290.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ สวน
ประเทศอีก 8 ประเทศไดแก บรูไน กัมพูชา พมา ฟลลิปนส สิงคโปร เวียดนาม
อินโดนีเซีย ลาว มีดุลการคาเกินดุล (ตารางที่ 17)
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
29
ตารางที่ 17 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
โลก -405.2 3,941.4 7,537.6 5,211.4 4,040.5 -118.4 -1,072.8 91.2 -30.9 -22.5
บรูไน 7.0 12.4 14.0 12.2 7.3 113.5 78.6 12.9 -13.1 -40.5
กัมพูชา 101.2 111.8 147.3 206.3 154.5 59.8 10.5 31.7 40.1 -25.1
มาเลเซีย -1,111.1 -1,105.7 -1,448.1 -1,363.5 -1,532.0 68.4 -0.5 31.0 -5.8 12.4
พมา 61.8 63.6 89.3 103.9 156.2 3.2 3.0 40.3 16.5 50.3
ฟลลิปนส -401.7 -141.5 -110.9 -5.7 144.7 115.2 -64.8 -21.7 -94.8 -2632.1
สิงคโปร 1,108.6 888.2 1,635.2 450.3 410.1 -36.0 -19.9 84.1 -72.5 -8.9
ไทย -609.0 -646.1 -1,061.2 -1,159.1 -1,290.1 -32.7 6.1 64.2 9.2 11.3
เวียดนาม 12.8 143.2 330.0 401.6 546.0 -74.0 1017.1 130.4 21.7 36.0
อินโดนีเซีย 120.5 101.4 374.8 500.0 485.6 -35.6 -15.9 269.8 33.4 -2.9
ลาว 100.5 128.3 178.0 203.0 204.3 27.6 27.6 38.8 14.0 0.7
อาเซียนรวม -609.4 -444.4 148.5 -651.0 -713.3 -243.7 -27.1 -133.4 -538.4 9.6
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส
ของประเทศไทยในตลาดอาเซียน
อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเปนอุตสาหกรรมที่เนนใชการเทคโนโลยี
และยังตองพึ่งพาวัตถุดิบนําเขาในอัตราคอนขางสูง โดยเฉพาะการผลิต
เครื่องใชไฟฟาที่มีการนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศมากกวาการผลิต
อิเล็กทรอนิกสที่สวนมากใชวัตถุดิบภายในประเทศ ดังนั้นประเทศผูสงออกสินคา
ประเภทเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจึงตองมีศักยภาพทางดานเทคโนโลยี
คอนขางสูง อยางไรก็ตามประเทศในภูมิภาคอาเซียนหลายประเทศเปนประเทศผู
สงออกสินคาประเภทเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดโลก ไดแก
มาเลเซีย สิงคโปร และไทย แตเมื่อพิจารณาตลาดในภูมิภาคอาเซียนพบวา
มาเลเซียเปนผูสงออกรายใหญ โดยในป 2547 มาเลเซียมีอัตราการขยายตัวอยูที่
รอยละ 13.7 ในป 2549 - 2550 อัตราการขยายตัวเริ่มมีแนวโนมลดลง อยูที่รอยละ
AEC Prompt
30
8.9 และ 2.8 ตามลําดับ ตอมาในป 2551 อัตราการขยายตัวหดตัวลดลงเปนครั้ง
แรกในรอบ 5 ป โดยหดตัวลดลงอยูที่รอยละ -2.0 สงผลใหสวนแบงตลาดลดลงอยู
ที่รอยละ 38.1 แตก็ยังคงเปนประเทศที่มีสวนแบงทางการตลาดมากเปนอันดับ 1
ในกลุมอาเซียน สําหรับประเทศสิงคโปรเปนผูสงออกที่มีสวนแบงทางการตลาด
เปนอันดับที่ 2 ของกลุม โดยมีแนวโนมของอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดที่
เพิ่มขึ้น โดยในป2551 อัตราการขยายตัวอยูที่รอยละ 25.2 และสวนแบงตลาดอยูที่
รอยละ 24.4 ตามลําดับ สําหรับไทยผูสงออกอันดับที่ 3 แมจะมีสวนแบงตลาด
คอนขางนอยเมื่อเทียบกับประเทศผูสงออกรายใหญทั้ง 2 แตในป 2551 สามารถ
สงออกเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้น ทําใหอัตราการขยายตัวและสวน
แบงตลาดเพิ่มขึ้นในรอบ 4 ป โดยอัตราการขยายตัวอยูที่รอยละ 16.4 และสวน
แบงตลาดอยูที่รอยละ 14.8 ตามลําดับ ดังแสดงในภาพที่ 8
หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ.
ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส
ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553)
ภาพที่ 8 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสในตลาดอาเซียน
ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน
31
2.5 อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ
(1) การสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศ
ไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ
ของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2552
มูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยใน
ตลาดโลกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และสําหรับมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรม
อัญมณีและเครื่องประดับของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548
ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังประเทศ
สิงคโปรมากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 72.3 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปน
สัดสวนรอยละ 77.5 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออก
เทากับ 11.8 และ 4.9 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในป 2550-2552
พบวา ประเทศที่ไทยมีการสงออกมากที่สุดเปนอันดับ 2 และ 3 เปลี่ยนเปนประเทศ
มาเลเซีย และลาว ซึ่งในป 2552 มีมูลคาการสงออกเทากับ 14.2 และ 4.8
ตามลําดับ สวนประเทศอินโดนีเซียตกไปเปนอันดับที่ 4 (ตารางที่ 18)
AEC Prompt
32
ตารางที่ 18 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก
มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ)
ประเทศ
2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552
บรูไน 0.1 0.1 0.2 0.4 5.8 45.5 -38.1 298.5 87.5 1,255.8 0.1 0.1 0.2 0.2 8.0
กัมพูชา 0.2 0.3 0.3 0.2 0.3 578.1 53.7 -4.9 -25.4 18.1 0.2 0.4 0.3 0.1 0.4
มาเลเซีย 4.9 4.0 10.5 28.3 14.2 -24.8 -18.2 163.1 169.4 -49.8 5.2 4.4 11.1 13.0 19.5
พมา 0.6 2.2 0.5 0.0 0.5 -20.1 261.1 -78.7 -92.3 1,194.9 0.6 2.4 0.5 0.0 0.6
ฟลลิปนส 0.1 0.1 0.2 0.0 1.0 29.4 -47.8 379.8 -85.1 2,682.6 0.1 0.1 0.3 0.0 1.4
สิงคโปร 72.3 67.2 64.2 168.1 38.9 78.2 -7.1 -4.4 161.7 -76.9 77.5 73.4 67.8 77.3 53.3
เวียดนาม 3.3 4.2 4.4 4.5 3.6 4.4 25.6 5.3 2.1 -19.4 3.6 4.6 4.6 2.1 5.0
อินโดนีเซีย 11.8 10.5 7.1 4.4 3.8 92.3 -10.7 -32.5 -38.4 -12.1 12.6 11.5 7.5 2.0 5.3
ลาว 0.0 3.0 7.3 11.6 4.8 117.5 60,214.7 143.8 58.4 -58.2 0.0 3.3 7.7 5.3 6.6
อาเซียนรวม 93.3 91.5 94.8 217.6 73.0 62.8 -2.0 3.7 129.5 -66.5 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0
โลก 3,203.4 3,671.4 5,779.6 8,278.7 9,694.7 21.6 14.6 57.4 43.2 17.1 - - - - -
ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
(2) การสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศ
ตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน
จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ
ของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ในป 2548 – 2549
ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังตลาด
อาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย โดยในป 2549 มีมูลคาการสงออกออก
อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับเทากับ 845.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน
สัดสวนรอยละ 42.9 สวนประเทศมาเลเซียและสิงคโปร เปนประเทศที่มีการสงออก
อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับรองเปนอันดับ 2 และ 3 ซึ่งมีมูลคาการ
สงออกเทากับ 573.8 และ 428.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.1
และ 21.7 ตามลําดับ ตอมาในป 2550 พบวาประเทศมาเลเซียกลายเปนประเทศที่
มีการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด มี
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

More Related Content

Similar to ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเชิงเศรษฐศาสตร์
การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเชิงเศรษฐศาสตร์การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเชิงเศรษฐศาสตร์
การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเชิงเศรษฐศาสตร์
Sarit Tiyawongsuwan
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลยsupakeat
 
เฉลย 50 51 53 54
เฉลย 50 51 53 54เฉลย 50 51 53 54
เฉลย 50 51 53 54Ge Ar
 
o-net-52-ปีการศึกษา-2551-key
o-net-52-ปีการศึกษา-2551-keyo-net-52-ปีการศึกษา-2551-key
o-net-52-ปีการศึกษา-2551-keyJoesys Suwanichkul
 

Similar to ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2 (8)

การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเชิงเศรษฐศาสตร์
การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเชิงเศรษฐศาสตร์การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเชิงเศรษฐศาสตร์
การวางแผนโครงสร้างพื้นฐานเชิงเศรษฐศาสตร์
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
Random 140203092222-phpapp01
Random 140203092222-phpapp01Random 140203092222-phpapp01
Random 140203092222-phpapp01
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
Random 140203080513-phpapp01
Random 140203080513-phpapp01Random 140203080513-phpapp01
Random 140203080513-phpapp01
 
เฉลย
เฉลยเฉลย
เฉลย
 
เฉลย 50 51 53 54
เฉลย 50 51 53 54เฉลย 50 51 53 54
เฉลย 50 51 53 54
 
o-net-52-ปีการศึกษา-2551-key
o-net-52-ปีการศึกษา-2551-keyo-net-52-ปีการศึกษา-2551-key
o-net-52-ปีการศึกษา-2551-key
 

More from วิระศักดิ์ บัวคำ

2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 25492 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549วิระศักดิ์ บัวคำ
 
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่วิระศักดิ์ บัวคำ
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)วิระศักดิ์ บัวคำ
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...วิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaคู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamวิระศักดิ์ บัวคำ
 

More from วิระศักดิ์ บัวคำ (20)

Chamber commerce issue2
Chamber commerce issue2Chamber commerce issue2
Chamber commerce issue2
 
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
 
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 25492 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
2 สมาชิกหอการค้า ข้อบังคับหอการค้ากร ะบี่ 2549
 
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
 
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
 
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaคู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
 

ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2

  • 1. AEC Prompt 4 140 2,815 1,032 218 5,607 3,022 924 1,923 245 2,592 347 8,881 131 2,704 1,018 73 4,207 2,247 862 1,568 218 1,910 376 10,866 6,833 9,251 0 2,000 4,000 6,000 8,000 10,000 12,000 อาหารแชแข็ง อาหารแปรรูป สิ่งทอ เครื่องใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกส อัญมณี และเครื่องประดับ ยานยนตและชิ้นสวน เคมีภัณฑ ผลิตภัณฑยาง ผลิตภัณฑจากพลาสติก ผลิตภัณฑจากไม เหล็กและผลิตภัณฑจากเหล็ก อโลหะ อุตสาหกรรมอื่นๆ ลานเหรียญสหรัฐฯ 2551 2552 ภาพที่ 4 มูลคาการสงออกสินคาอุตสาหกรรมของไทยไปตลาดอาเซียน (9) ที่มา : Global Trade Atlas 2. ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน ตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียนที่ เปรียบเทียบกับประเทศคูแขงที่เปนอาเซียนดวยกัน พบวาบางสินคาประเทศไทยมี ตําแหนงตลาดที่สูงกวาคูแขง แตในบางสินคาก็มีตําแหนงตลาดที่ต่ํากวาคูแขง ซึ่ง รายละเอียดตําแหนงทางการตลาดของสินคาอุตสาหกรรมตางๆ มีดังนี้ 2.1 อุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง (1) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยในตลาด อาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของ ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคา การสงออกไปตลาดโลกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออก กลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอยละ 6.0 และ 5.4 ตามลําดับ และสําหรับมูลคา การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน
  • 2. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 5 พบวาในป 2548 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังประเทศ มาเลเซียมากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 35.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน สัดสวนรอยละ 47.0 รองลงมาคือ สิงคโปร และเวียดนาม ซึ่งมีมูลคาการสงออก เทากับ 29.9 และ 9.0 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการ สงออกในป 2552 พบวาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยใน ตลาดอาเซียนพบวาตลาดที่ไทยสงออกมากที่สุดเปลี่ยนเปนประเทศเวียดนาม โดย มีมูลคาการสงออกเทากับ 64.9 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 49.5 ในขณะที่ประเทศมาเลเซียและสิงคโปรกลายเปนตลาดที่ไทยสงออกเปนอันดับ 2 และอันดับ 3 ตามลําดับ โดยในป 2552 มูลคาที่ไทยสงออกยังประเทศมาเลเซีย และสิงคโปรเทากับ 35.0 และ 22.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 26.7 และ 16.8 (ตารางที่ 2) ตารางที่ 2 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 -75.9 89.7 204.8 -36.9 41.5 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 กัมพูชา 0.2 0.4 0.4 3.4 0.3 -49.7 63.5 2.6 730.1 -90.5 0.3 0.5 0.3 2.4 0.2 มาเลเซีย 35.9 40.2 67.2 47.5 35.0 -7.1 11.8 67.3 -29.4 -26.2 47.0 47.3 46.8 34.0 26.7 พมา 0.1 0.1 1.0 1.1 5.2 -87.8 32.6 584.7 16.9 356.0 0.1 0.2 0.7 0.8 4.0 ฟลลิปนส 0.5 0.4 0.5 0.6 0.4 -48.9 -4.5 17.6 7.3 -27.2 0.6 0.5 0.4 0.4 0.3 สิงคโปร 29.9 26.2 26.1 24.4 22.1 -16.3 -12.5 -0.2 -6.8 -9.3 39.1 30.8 18.2 17.5 16.8 เวียดนาม 9.0 17.1 47.4 59.8 64.9 162.0 89.9 176.4 26.2 8.6 11.8 20.1 32.9 42.8 49.5 อินโดนีเซีย 0.3 0.1 0.4 0.5 1.2 -93.1 -76.8 467.3 9.4 154.3 0.4 0.1 0.3 0.3 0.9 ลาว 0.4 0.4 0.6 2.3 1.9 -12.8 6.3 41.4 283.1 -16.3 0.5 0.5 0.4 1.7 1.5 อาเซียนรวม 76.4 85.0 143.8 139.6 131.2 -10.5 11.2 69.1 -2.9 -6.0 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 1,876.6 2,126.9 2,553.5 2,577.6 2,438.2 7.4 13.3 20.1 0.9 -5.4 - - - - - ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
  • 3. AEC Prompt 6 (2) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศตางๆ ใน อาเซียนไปยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยและ ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มีมูล การสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย โดย ในป 2551 อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมแชแข็งเทากับ 390.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.7 สวนประเทศไทยมีการสงออก อุตสาหกรรมแชแข็งเปนอันดับ 2 รองจากอินโดนีเซียโดยในป 2548 และป 2549 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็งเทากับ 115.2 และ 111.4 ลานเหรียญ สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 14.6 และ 14.0 ตามลําดับ และประเทศที่มีการ สงออกอุตสาหกรรมแชแข็งในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 คือประเทศเวียดนาม โดยเวียดนามมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมแชแข็ง ในป 2548 และ 2549 เทากับ และ 87.9 และ 111.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 11.2 และ 14.0 ตามลําดับ แตในชวงป 2550 - 2552 พบวาประเทศเวียดนามกลายเปนประเทศที่ มีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับ 2 และ สําหรับการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาดอาเซียนของประเทศไทย พบวาในป 2550 นั้นไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปยังตลาด อาเซียนเปนอันดับที่ 3 โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 114.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 12.6 และอีกทั้งในชวงป 2551 และ 2552 พบวาประเทศ ไทยมีมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไปในตลาดอาเซียนตกไป เปนอันดับที่ 5 (ตารางที่ 3)
  • 4. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 7 ตารางที่ 3 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน1 มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 0.1 0.2 0.0 0.0 0.1 -62.6 111.8 -76.7 -55.9 517.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 กัมพูชา 1.0 1.5 1.3 0.8 0.5 -19.4 55.3 -12.4 -39.9 4.2 0.1 0.2 0.1 0.1 0.1 มาเลเซีย 77.2 76.4 93.4 128.1 87.8 -9.6 -1.0 22.2 37.1 -4.8 9.8 9.6 10.3 13.7 13.6 พมา 101.8 105.5 96.5 121.2 89.9 5.1 3.6 -8.5 25.5 -1.8 12.9 13.2 10.7 12.9 13.9 ฟลลิปนส 14.7 33.2 30.1 42.3 36.5 -23.5 125.0 -9.2 40.3 3.6 1.9 4.2 3.3 4.5 5.7 สิงคโปร 18.6 28.9 12.2 15.7 7.3 -62.0 55.1 -57.9 28.5 -43.5 2.4 3.6 1.3 1.7 1.1 ไทย 115.2 111.4 114.0 102.2 67.9 -17.9 -3.3 2.3 -10.3 -13.3 14.6 14.0 12.6 10.9 10.5 เวียดนาม 87.9 111.1 141.4 135.5 104.8 -33.8 26.4 27.2 -4.2 -1.8 11.2 14.0 15.6 14.5 16.2 อินโดนีเซีย 370.5 328.2 414.8 390.0 251.4 6.6 -11.4 26.4 -6.0 -13.1 47.1 41.2 45.9 41.7 38.9 ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 735.5 47.2 -89.8 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 อาเซียนรวม 787.1 796.4 903.8 935.8 646.3 -9.8 1.2 13.5 3.5 -8.6 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 3,284.03,494.14,182.55,060.93411.3 6.6 6.4 19.7 21.0 -10.5 - - - - - หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจาก ประเทศในอาเซียนและโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทย จากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา อุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น อยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็ง ของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคา การนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งจากตลาดโลกเทากับ 1,891.3 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 18.6 สวนทางดานมูลคาการ นําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดอาเซียน พบวา ในป 1 การสงออกไปยังตลาดอาเซียน 5 ซึ่งไดแก ประเทศไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย สิงคโปร ฟลลิปนส
  • 5. AEC Prompt 8 2549 มูลคาการนําเขาอาหารแชแข็งของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนหดตัว ลดลงจากป 2548 คิดเปนรอยละ 8.4 ตอมาในป 2550 การนําเขาของอุตสาหกรรม มีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นจากป 2549 ที่มีมูลคาเทากับ 303.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ เปน 358.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งมีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้นคิดเปนรอยละ 18.1 และสําหรับในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทย จากตลาดอาเซียนมีแนวโนมที่จะปรับตัวลดลงจากป 2551 โดยหดตัวลงจากป 2551 เทากับรอยละ 15.8 โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งจาก ตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งในป 2552 มีมูลคาการนําเขา เทากับ 140.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 41.7 รองลงมาคือ พมา และเวียดนาม มีมูลคาการนําเขาเทากับ 72.4 และ52.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 4) ตารางที่ 4 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก1 มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 กัมพูชา 0.9 1.5 1.3 0.7 0.7 -18.6 57.1 -12.7 -42.6 -1.9 0.3 0.5 0.4 0.2 0.2 มาเลเซีย 14.0 11.5 12.6 37.0 29.6 -14.7 -17.5 9.0 194.2 -20.1 4.2 3.8 3.5 9.3 8.8 พมา 55.8 54.2 50.0 74.7 72.4 -1.4 -2.8 -7.8 49.3 -3.1 16.8 17.8 13.9 18.7 21.5 ฟลลิปนส 8.4 26.1 20.4 31.4 36.0 -43.9 210.5 -21.9 53.8 14.8 2.5 8.6 5.7 7.9 10.7 สิงคโปร 2.3 10.6 1.1 6.3 5.0 -28.7 359.7 -89.3 462.3 -20.9 0.7 3.5 0.3 1.6 1.5 เวียดนาม 28.7 28.4 38.3 46.9 52.2 65.2 -1.3 35.0 22.4 11.4 8.7 9.3 10.7 11.7 15.5 อินโดนีเซีย 221.5 171.6 235.1 202.1 140.2 11.9 -22.5 37.0 -14.0 -30.6 66.8 56.5 65.5 50.6 41.7 ลาว 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -100.0 0.0 735.5 47.2 -72.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 อาเซียนรวม 331.6 303.9 358.8 399.1 336.1 7.8 -8.4 18.1 11.2 -15.8 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 1,364.1 1,491.2 1,791.0 2,323.3 1,891.3 14.8 9.3 20.1 29.7 -18.6 - - - - - ที่มา : คํานวณคํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
  • 6. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 9 (4) ดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศไทยและประเทศ ในอาเซียน เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งของประเทศ ไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุมประเทศในอาเซียนขาด ดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งอยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซึ่ง ประเทศที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแชแข็งไดแกประเทศ อินโดนีเซีย พมา ฟลลิปนส ไทย และกัมพูชา โดยขาดดุลเทากับ 139 67.2 35.6 22.5 และ 0.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ สวนประเทศ บรูไน มาเลเซีย สิงคโปร เวียดนาม ลาว เกินดุลการคา (ตารางที่ 5) ตารางที่ 5 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 โลก 512.5 635.7 762.5 254.3 546.9 -8.3 24.0 20.0 -66.7 115.1 บรูไน 0.0 0.0 0.1 0.1 0.1 -75.9 89.6 204.9 -36.9 41.5 กัมพูชา -0.7 -1.1 -0.9 2.7 -0.4 4.1 54.8 -18.4 -403.8 -115.1 มาเลเซีย 22.0 28.6 54.6 10.4 5.5 -1.5 30.4 90.8 -80.9 -47.8 พมา -55.7 -54.1 -49.0 -73.5 -67.2 -0.1 -2.8 -9.3 50.0 -8.6 ฟลลิปนส -7.9 -25.7 -19.9 -30.8 -35.6 -43.5 223.2 -22.6 55.1 15.6 สิงคโปร 27.6 15.6 25.0 18.0 17.1 -15.1 -43.4 60.0 -27.9 -5.3 ไทย -1.4 -21.9 -22.4 -26.3 -22.5 -75.1 1411.1 2.4 17.3 -14.5 เวียดนาม -19.7 -11.2 9.1 12.9 12.7 41.3 -43.1 -180.7 42.2 -1.3 อินโดนีเซีย -221.2 -171.5 -234.7 -201.6 -139.0 14.5 -22.4 36.8 -14.1 -31.0 ลาว 0.4 0.4 0.6 2.3 1.9 -11.9 5.6 36.7 292.7 -15.4 อาเซียนรวม -256.6 -240.7 -237.4 -285.9 -227.4 12.5 -6.2 -1.4 20.4 -20.4 ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
  • 7. AEC Prompt 10 (5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทยในตลาด อาเซียน ปจจุบันประเทศกําลังพัฒนาไดใหความสําคัญกับการสงออกอาหารแชแข็ง โดยเฉพาะประเทศในกลุมอาเซียน เชน อินโดนีเซีย ไทย และ เวียดนาม โดยถา พิจารณาการสงออกของประเทศเหลานี้ในตลาดอาเซียนพบวาอินโดนีเซียถือวา เปนผูสงออกรายใหญในภูมิภาค เนื่องจากสามารถสงออกสินคาไดมากที่สุด โดย ในป 2548 มีสวนแบงตลาดรอยละ 48.6 ตอมาในป 2549 สวนแบงตลาดลดลงอยู ที่รอยละ 42.8 จากนั้นเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 46.1 ในป 2550 แตในป 2551 ปรับ ลดลงมาอยูที่รอยละ 41.4 จากการที่สวนแบงตลาดของอินโดนีเซียลดลงในป 2551 นี้ เปนผลมาจากอินโดนีเซียเพิ่มการสงออกอาหารแชแข็งไปยังตลาดสหรัฐ มากขึ้นโดยเฉพาะกุงสดแชแข็ง สําหรับประเทศไทยมีสวนแบงอาหารแชแข็งไปยัง ตลาดอาเซียนในสัดสวนที่นอยเมื่อเทียบกับผูสงออกรายใหญอยางอินโดนีเซีย โดยในป 2551 มีสวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 10.8 ลดลงเมื่อเทียบกับป 2550 ซึ่งมี สวนแบงตลาดอยูที่รอยละ 12.7 ดังแสดงในตารางที่ 6 และภาพที่ 5
  • 8. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 11 หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ. ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553) ภาพที่ 5 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกอาหารแชแข็งในตลาดอาเซียน 2.2 อุตสาหกรรมอาหารแปรรูป (1) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยในตลาด อาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศ ไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคาการ สงออกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการสงออกกลับมีทิศทางที่หด ตัวลงเทากับรอยละ 3.9 และ 2.9 ตามลําดับ และสําหรับมูลคาการสงออกของ อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรูปไปยังประเทศอินโดนีเซีย มากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 369.0 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวน รอยละ 22.6 รองลงมาคือ มาเลเซีย และฟลลิปนส ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ
  • 9. AEC Prompt 12 361.5 และ 202.4 ตามลําดับ ตอมาในป 2549 พบวาประเทศมาเลเซียกลายเปน ประเทศที่ไทยมีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปมากที่สุด โดยมีมูลคาการ สงออกเทากับ 376.6 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 22.5 ทําให อินโดนีเซียกลายเปนตลาดที่ไทยมีการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรูปเปนอันดับ ที่ 2 กัมพูชาเปนอันดับที่ 3 และฟลลิปนสเปนอันดับที่ 4 ซึ่งมีมูลคาการสงออก เทากับ 376.6 262.8 และ194.3 อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาขอมูลมูลคาการ สงออกในป 2550 - 2552 พบวาประเทศอินโดนีเซียเปนตลาดที่ไทยมีการสงออก อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปมากที่สุด และในป 2552 กัมพูชาเปนตลาดที่ไทย สงออกมากที่สุดเปนอันดับ 2 มาเลเซียเปนอันดับ 3 พมาเปนอันดับที่ 4 (ตารางที่ 6) ตารางที่ 6 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 6.6 7.8 9.7 9.7 9.3 25.6 17.1 25.1 -0.1 -3.8 0.4 0.5 0.4 0.3 0.3 กัมพูชา 197.7 262.8 286.7 368.9 445.1 35.3 32.9 9.1 28.7 20.6 12.1 15.7 11.8 13.1 16.5 มาเลเซีย 361.5 376.6 521.4 482.2 364.7 -7.9 4.2 38.4 -7.5 -24.4 22.1 22.5 21.4 17.1 13.5 พมา 145.6 119.8 192.8 312.8 345.8 -6.7 -17.7 61.0 62.2 10.6 8.9 7.2 7.9 11.1 12.8 ฟลลิปนส 202.4 194.3 249.1 302.1 309.3 21.7 -4.0 28.2 21.3 2.4 12.4 11.6 10.2 10.7 11.4 สิงคโปร 138.2 160.0 267.4 286.2 262.9 -1.8 15.8 67.1 7.0 -8.1 8.5 9.6 11.0 10.2 9.7 เวียดนาม 117.0 154.4 220.5 255.1 278.9 67.6 32.0 42.7 15.7 9.3 7.2 9.2 9.0 9.1 10.3 อินโดนีเซีย 369.0 289.5 549.1 613.1 488.4 16.4 -21.6 89.7 11.7 -20.3 22.6 17.3 22.5 21.8 18.1 ลาว 95.0 108.5 143.2 184.4 199.4 30.6 14.2 32.0 28.8 8.2 5.8 6.5 5.9 6.6 7.4 อาเซียนรวม 1,633.0 1,673.7 2,439.9 2,814.6 2,703.9 11.4 2.5 45.8 15.4 -3.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 7,889.1 9,171.0 1,1613.0 13,626.0 13,226.2 11.3 16.2 26.6 17.3 -2.9 - - - - - หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
  • 10. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 13 (2) การสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศตางๆ ใน อาเซียนไปยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย และประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548 เปนตนมา ประเทศที่มี มูลการสงออกอุตสาหกรรมแปรรูปไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย โดยในป 2552 อินโดนีเซียมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป เทากับ 1,733.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 36.4 สวนประเทศ มาเลเซียมีการสงออกอุตสาหกรรมแปรรูปรองเปนอันดับ 2 รองจากอินโดนีเซีย โดยมาเลเซียมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปเทากับ 1,236.5 ลาน เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.0 และประเทศที่มีการสงออก อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปในตลาดอาเซียนเปนอันดับ 3 ไดแกประเทศไทยซึ่งในป 2552 มีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปเทากับ 918.8 ลานเหรียญ สหรัฐฯ คิดเปนรอยละ 19.3 (ตารางที่ 3)
  • 11. AEC Prompt 14 ตารางที่ 7 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 0.3 0.3 0.1 0.0 0.0 187.0 25.6 -71.7 -64.9 -5.5 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 กัมพูชา 3.3 2.7 1.9 1.6 7.9 57.4 -17.9 -30.5 -13.5 424.1 0.1 0.1 0.0 0.0 0.2 มาเลเซีย 1,099.5 1,234.6 1,662.9 2,077.4 1,236.5 3.6 12.3 34.7 24.9 -24.4 27.0 27.5 26.9 26.9 26.0 พมา 44.5 54.1 62.6 63.4 67.6 7.4 21.7 15.7 1.2 30.8 1.1 1.2 1.0 0.8 1.4 ฟลิปปนส 222.2 213.3 255.0 294.3 141.6 4.9 -4.0 19.5 15.4 -39.0 5.5 4.8 4.1 3.8 3.0 สิงคโปร 438.1 501.3 575.5 688.8 440.6 25.4 14.4 14.8 19.7 -15.3 10.8 11.2 9.3 8.9 9.3 ไทย 1,050.6 933.8 1,528.0 1,542.6 918.9 8.1 -11.1 63.6 1.0 -24.1 25.8 20.8 24.8 20.0 19.3 เวียดนาม 108.1 135.1 269.3 312.3 210.2 38.8 25.0 99.4 16.0 -12.0 2.7 3.0 4.4 4.0 4.4 อินโดนีเซีย 1,098.7 1,408.6 1,811.8 2,735.5 1,733.4 -13.3 28.2 28.6 51.0 -19.7 27.0 31.4 29.4 35.4 36.4 ลาว 0.7 1.0 4.0 2.3 2.4 0.3 0.0 311.5 -41.1 31.0 0.0 0.0 0.1 0.0 0.0 อาเซียนรวม 4,065.7 4,484.7 6,171.0 7,718.2 4,759.0 2.1 10.3 37.6 25.1 -21.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 13,557.115,259.519,989.124,549.915,477.0 8.7 12.6 31.0 22.8 -17.8 - - - - - หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจาก ประเทศในอาเซียนและโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทย จากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา อุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้น อยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป ของประเทศไทยจากตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคา การนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดโลกเทากับ 3,569.5 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 15.8 สวนทางดานมูลคาการ นําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากตลาดอาเซียน พบวา ในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดอาเซียน
  • 12. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 15 เทากับ 611.0 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 11.8 โดย ประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศมาเลเซีย ซึ่งในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 203.8 ลานเหรียญ สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 33.4 รองลงมาคือ อินโดนีเซียและสิงคโปร มีมูลคา การนําเขาเทากับ 166.8 และ 109.2 คิดเปนสัดสวนรอยละ 27.3 และ 17.9 ตามลําดับ (ตารางที่ 8) ตารางที่ 8 มูลการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 -81.1 -100.0 0.0 -96.7 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 กัมพูชา 1.6 0.7 1.0 1.2 1.9 212.7 -55.4 39.1 23.9 54.7 0.4 0.2 0.2 0.2 0.3 มาเลเซีย 121.6 138.1 207.1 261.8 203.8 -8.9 13.6 50.0 26.4 -22.1 33.5 34.4 39.6 37.8 33.4 พมา 9.2 5.6 7.5 10.4 15.2 -4.1 -38.8 33.4 38.4 47.1 2.5 1.4 1.4 1.5 2.5 ฟลลิปนส 46.2 44.4 49.4 75.3 63.5 10.0 -3.9 11.2 52.5 -15.6 12.7 11.1 9.4 10.9 10.4 สิงคโปร 72.7 94.5 113.2 126.9 109.2 35.0 30.0 19.8 12.0 -13.9 20.0 23.6 21.6 18.3 17.9 เวียดนาม 14.7 15.2 21.0 61.5 47.5 20.0 3.0 38.0 193.4 -22.6 4.1 3.8 4.0 8.9 7.8 อินโดนีเซีย 96.5 101.8 123.6 153.6 166.8 35.8 5.5 21.4 24.3 8.6 26.6 25.4 23.6 22.2 27.3 ลาว 0.4 0.8 0.8 2.0 3.0 -0.5 111.0 2.5 135.8 51.7 0.1 0.2 0.2 0.3 0.5 อาเซียนรวม 362.8 401.1 523.5 692.5 611.0 12.3 10.6 30.5 32.3 -11.8 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 2247.3 2477.8 3253.1 4240.0 3569.5 14.3 10.3 31.3 30.3 -15.8 - - - - - ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (4) ดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยและประเทศ ในอาเซียน เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศ ไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ตั้งแตป 2548 – 2552 ในภาพรวมเกือบทุก ประเทศในอาเซียนเกินดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปอยางตอเนื่อง มี
  • 13. AEC Prompt 16 เพียงประเทศไทยประเทศเดียวที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป โดยขาดดุลในป 2552 ขาดดุลเทากับ 20.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ (ตารางที่ 9) ตารางที่ 9 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 โลก 5,641.8 6,693.1 8,359.9 9,386.0 9,656.8 10.2 18.6 24.9 12.3 2.9 บรูไน 6.6 7.8 9.7 9.7 9.3 25.6 17.1 25.2 -0.2 -3.7 กัมพูชา 196.2 262.1 285.8 367.7 443.3 34.7 33.6 9.0 28.7 20.5 มาเลเซีย 239.9 238.5 314.3 220.4 160.9 -7.4 -0.6 31.8 -29.9 -27.0 พมา 136.4 114.2 185.3 302.4 330.6 -6.9 -16.3 62.3 63.2 9.3 ฟลลิปนส 156.2 149.9 199.8 226.9 245.8 25.6 -4.0 33.3 13.6 8.4 สิงคโปร 65.5 65.5 154.1 159.3 153.7 -24.6 -0.1 135.4 3.4 -3.5 ไทย -2.9 -0.9 -7.1 -22.4 -20.5 -51.5 -69.4 687.8 216.3 -8.6 เวียดนาม 102.2 139.3 199.5 193.6 231.4 77.8 36.2 43.3 -2.9 19.5 อินโดนีเซีย 272.6 187.7 425.5 459.5 321.6 10.8 -31.1 126.7 8.0 -30.0 ลาว 94.6 107.6 142.3 182.4 196.4 30.8 13.8 32.2 28.1 7.7 อาเซียนรวม 1,267.3 1,271.7 1,909.3 2,099.6 2,072.5 11.4 0.3 50.1 10.0 -1.3 ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas 5 ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปของประเทศไทยใน ตลาดอาเซียน การสงออกอาหารแปรรูปไปตลาดอาเซียนนั้นถือวาอินโดนีเซียเปนผูครอง ตลาด เนื่องจากสามารถสงออกอาหารแปรรูปไดมากที่สุด ทําใหมีสวนแบงตลาด อยูที่รอยละ 27.0-35.4 ในป 2548-2551 ซึ่งในป 2551 อินโดนีเซียสามารถครอง สวนแบงตลาดไดมากถึงรอยละ 35.4 จากอัตราการขยายตัวที่เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 51.0 จากป 2550 สําหรับไทยถือวาเปนหนึ่งในไมกี่ประเทศของโลก ที่มีการสงออก อาหารแปรรูปในคอนขางสูง และการสงออกมีแนวโนมเพิ่มขึ้นโดยเฉพาะตลาด หลัก เชน สหรัฐ สภาพยุโรป และญี่ปุน แตเมื่อพิจารณาในตลาดอาเซียน พบวา
  • 14. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 17 สวนแบงตลาดของไทยในป 2551 อยูที่ประมาณรอยละ 20.0 ซึ่งเปนอันดับ 3 ของ กลุมอาเซียน รองจาก อินโดนีเซีย และมาเลเซีย อยางไรก็ตามพบวาสวนแบงตลาด ในมี2551 เปนสวนแบงตลาดที่ต่ําสุดในรอบ 5 ปจากการหดตัวของมูลคาการ สงออกรอยละ 1.0 เมื่อเทียบกับป 2550 ที่มีอัตราการขยายตัวอยูที่รอยละ 63.6 สําหรับรายละเอียดแสดงในภาพที่ 6 หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ. ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553) ภาพที่ 6 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกอาหารแปรรูปในตลาดอาเซียน 2.3 อุตสาหกรรมสิ่งทอ (1) การสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาดอาเซียน และตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยใน ตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2552 มูลคาการสงออก อุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยไปโลกมีแนวโนมลดลงเรื่อยๆ สวนแนวโนมการ
  • 15. AEC Prompt 18 สงออกไปในตลาดอาเซียนในชวงป 2548-2552 มีแนวโนมสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดย ในป 2552 ประเทศที่ไทยมีการสงออกของอุตสาหกรรมอาหารสิ่งทอไปมากที่สุด คือ เวียดนาม ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ 249.6 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวน รอยละ 24.5 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และ มาเลเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ 172.5 และ 114.0 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปนสัดสวนรอยละ 17.0 และ 11.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 10) ตารางที่ 10 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 4.0 3.1 3.3 2.7 3.2 24.3 -22.6 8.7 -18.9 19.8 0.5 0.4 0.3 0.3 0.3 กัมพูชา 57.5 80.3 66.9 78.0 77.9 19.5 39.7 -16.7 16.6 -0.1 7.4 9.9 6.7 7.6 7.7 มาเลเซีย 116.1 112.0 130.5 135.5 114.0 13.2 -3.6 16.5 3.8 -15.9 15.0 13.8 13.1 13.1 11.2 พมา 61.2 67.2 82.6 98.0 107.6 29.3 9.7 23.0 18.6 9.8 7.9 8.3 8.3 9.5 10.6 ฟลลิปนส 109.4 96.8 115.3 102.8 97.2 21.0 -11.5 19.1 -10.9 -5.4 14.1 11.9 11.6 10.0 9.6 สิงคโปร 88.3 103.9 131.2 119.6 121.2 -10.2 17.6 26.3 -8.8 1.3 11.4 12.8 13.1 11.6 11.9 เวียดนาม 115.9 142.9 217.1 224.6 249.6 35.6 23.3 51.9 3.4 11.1 14.9 17.6 21.8 21.8 24.5 อินโดนีเซีย 151.9 136.7 172.4 183.3 172.5 20.5 -10.0 26.1 6.3 -5.9 19.6 16.8 17.3 17.8 17.0 ลาว 72.2 70.5 78.7 87.6 74.5 32.2 -2.4 11.6 11.3 -14.9 9.3 8.7 7.9 8.5 7.3 อาเซียนรวม 776.6 813.3 998.0 1,032.1 1,017.8 18.3 4.7 22.7 3.4 -1.4 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 6,718.7 6,963.8 7,547.9 7,288.7 6,498.0 4.7 3.6 8.4 -3.4 -10.8 - - - - - ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (2) การสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศตางๆ ในอาเซียนไป ยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและ ประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตั้งแตป 2548-2551 พบวามีแนวโนมการ สงออกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ โดยในป 2548 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอ ไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก มาเลเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออกออก
  • 16. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 19 อุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 588.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 31.0 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และไทย มีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมสิ่งทอ เทากับ 534.1 และ 355.8 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.1 และ 18.7 ตามลําดับ ตอมาในป 2549-2550 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมสิ่ง ทอไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุดเปลี่ยนเปน อินโดนีเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออกออก อุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 693.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 และ 675.4 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ในป 2550 คิดเปนสัดสวนรอยละ 33.8 และ 31.5 ตามลําดับ สงผล ใหมาเลเซียกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปยังตลาดอาเซียน รองเปนอันดับ 2 โดยมีมูลคาการสงออกออกอุตสาหกรรมสิ่งทอเทากับ 602.0 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ในป 2549 และ 632.7 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 29.3 และ 29.5 ตามลําดับ สวนประเทศไทยยังคงเปนประเทศที่มีการสงออก อุตสาหกรรมสิ่งทอเปนอันดับ 3 และเมื่อพิจารณาตอไปในป 2551 พบวาประเทศ มาเลเซีย กลับมาเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปยังตลาดอาเซียน มากที่สุด รองลงมาเปน อินโดนีเซีย และไทย และเมื่อพิจารณาในป 2552 กลับ พบวา พมา กลายมาเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอมากที่สุด โดยมี มูลคาการสงออกเทากับ 354.5 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 26.3 รองลงมาเปน มาเลเซีย เวียดนาม และอินโดนีเซีย โดยโดยมีมูลคาการสงออก เทากับ 336.3 283.7 190.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 24.9 21.0 14.1 ตามลําดับ สวนประเทศไทยกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมสิ่ง ทอไปยังตลาดอาเซียน เปนอันดับ 5 ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ 113.8 ลาน เหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 8.4 ในป 2552 (ตารางที่ 11)
  • 17. AEC Prompt 20 ตารางที่ 11 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 109.0 84.5 68.8 39.1 22.9 -22.6 -22.5 -18.5 -43.1 -21.9 5.7 4.1 3.2 1.6 1.7 กัมพูชา 57.9 47.0 37.6 35.0 17.0 33.2 -18.9 -20.1 -6.7 -39.1 3.0 2.3 1.8 1.4 1.3 มาเลเซีย 588.8 602.0 632.7 755.1 336.3 -5.1 2.2 5.1 19.3 -26.8 31.0 29.3 29.5 31.2 24.9 พมา 13.9 17.1 12.3 11.4 354.5 -55.6 23.2 -27.9 -7.6 -41.3 0.7 0.8 0.6 0.5 26.3 ฟลลิปนส 39.2 36.2 43.6 40.9 9.3 17.7 -7.9 20.5 -6.1 21.9 2.1 1.8 2.0 1.7 0.7 สิงคโปร 92.6 81.1 88.2 226.7 19.7 3.0 -12.4 8.9 156.9 -41.5 4.9 3.9 4.1 9.4 1.5 ไทย 355.8 332.3 384.6 441.0 113.8 8.3 -6.6 15.7 14.7 -29.0 18.7 16.2 17.9 18.2 8.4 เวียดนาม 107.9 157.3 196.5 272.6 283.7 39.8 45.7 24.9 38.7 -17.0 5.7 7.7 9.2 11.3 21.0 อินโดนีเซีย 534.1 693.4 675.4 590.2 190.7 12.8 29.8 -2.6 -12.6 -8.5 28.1 33.8 31.5 24.4 14.1 ลาว 1.9 2.3 3.4 4.7 2.0 44.6 0.0 47.1 39.4 -43.3 0.1 0.1 0.2 0.2 0.1 อาเซียนรวม 1,901.1 2,053.1 2,143.0 2,416.71,349.9 3.3 8.0 4.4 12.8 -28.0 100.0 100.0 100.0 100.0100.0 โลก 10,326.811,152.011,739.214,822.58,469.9 0.5 8.0 5.3 26.3 -26.1 - - - - - หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากประเทศ ในอาเซียนและโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจาก ตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขา อุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและโลกมีแนวโนมปรับตัว สูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอของ ประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดอาเซียนเทากับ 270.9 ลานเหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 19.1 และไทยมี มูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดโลกเทากับ 2,900.3 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 22.7 ซึ่งประเทศที่ไทยนําเขา
  • 18. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 21 อุตสาหกรรมสิ่งทอจากตลาดอาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศอินโดนีเซีย โดยในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 96.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 35.6 รองลงมาคือ เวียดนาม และมาเลเซีย มีมูลคาการนําเขาเทากับ 78.9 และ 50.6 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ (ตารางที่ 12) ตารางที่ 12 มูลคาการการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 0.0 0.1 0.0 0.0 0.1 -99.9 22,457.8 -98.4 1128.9 157.0 0.0 0.1 0.0 0.0 0.0 กัมพูชา 8.4 5.9 8.0 4.8 3.1 220.9 -29.9 35.2 -40.1 -34.9 4.0 2.5 2.8 1.4 1.2 มาเลเซีย 30.1 36.3 43.8 57.0 50.6 5.6 20.6 20.7 30.1 -11.3 14.3 15.2 15.2 17.0 18.7 พมา 0.2 0.4 0.7 0.7 1.3 -28.1 62.7 74.5 -5.9 97.7 0.1 0.2 0.2 0.2 0.5 ฟลลิปนส 15.2 15.1 18.9 17.7 12.0 32.9 -0.7 25.3 -6.1 -32.5 7.2 6.3 6.6 5.3 4.4 สิงคโปร 21.5 20.5 22.3 29.8 25.6 15.4 -4.6 8.4 33.9 -14.0 10.2 8.6 7.7 8.9 9.5 เวียดนาม 30.1 48.6 70.4 86.3 78.9 192.7 61.4 45.0 22.6 -8.6 14.3 20.4 24.5 25.8 29.1 อินโดนีเซีย 103.1 109.1 120.0 134.0 96.6 10.7 5.8 10.0 11.7 -28.0 49.0 45.8 41.8 40.0 35.6 ลาว 1.7 2.2 3.3 4.4 2.7 34.0 26.3 50.5 33.1 -37.8 0.8 0.9 1.1 1.3 1.0 อาเซียนรวม 210.4 238.2 287.4 334.8 270.9 26.2 13.2 20.7 16.5 -19.1 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 2,929.9 2,997.3 3,390.3 3,754.4 2,900.3 7.8 2.3 13.1 10.7 -22.7 - - - - - ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (4) ดุลการคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและประเทศใน อาเซียน เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและ ประเทศในอาเซียน พบวา ตั้งแตป 2548 – 2552 ในภาพรวมเกือบทุกประเทศใน อาเซียนเกินดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูปอยางตอเนื่อง มีเพียงประเทศ ไทยประเทศเดียวที่มีการขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป โดยขาดดุล ในป 2552 ขาดดุลเทากับ 19.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ (ตารางที่ 13)
  • 19. AEC Prompt 22 ตารางที่ 13 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 โลก 3,788.8 3,966.6 4,157.6 3,534.3 3,597.7 2.3 4.7 4.8 -15.0 1.8 บรูไน 4.0 2.9 3.3 2.7 3.2 46.3 -25.9 13.6 -19.6 18.5 กัมพูชา 49.1 74.4 58.9 73.2 74.8 7.9 51.6 -20.8 24.3 2.2 มาเลเซีย 86.1 75.7 86.7 78.5 63.4 16.1 -12.0 14.5 -9.4 -19.2 พมา 61.0 66.8 81.9 97.3 106.3 29.7 9.5 22.7 18.8 9.2 ฟลลิปนส 94.3 81.8 96.4 85.0 85.3 19.3 -13.3 17.9 -11.8 0.3 สิงคโปร 66.8 83.3 108.9 89.8 95.5 -16.2 24.7 30.7 -17.5 6.4 ไทย -3.6 -2.0 -4.6 -9.4 -19.2 -49.6 -44.2 128.6 106.6 103.1 เวียดนาม 85.8 94.4 146.7 138.3 170.7 14.2 9.9 55.5 -5.8 23.4 อินโดนีเซีย 48.7 27.6 52.3 49.3 76.0 48.2 -43.4 89.8 -5.9 54.2 ลาว 70.5 68.3 75.4 83.2 71.8 32.2 -3.1 10.3 10.4 -13.7 อาเซียนรวม 562.6 573.1 706.0 687.9 727.8 16.6 1.9 23.2 -2.6 5.8 ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมสิ่งทอของประเทศไทยในตลาด อาเซียน อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุงหมของไทยถือไดวาเปนอุตสาหกรรมที่มี ลักษณะครบวงจร กลาวคือมีการผลิตทั้งในอุตสาหกรรมตนน้ํา (การผลิตเสนใย เสนดาย) อุตสาหกรรมกลางน้ํา(การผลิตผาผืน ผาทอ ฟอกยอม) และอุตสาหกรรม ปลายน้ํา (การผลิตเสื้อผาและเครื่องนุงหม) ซึ่งโครงสรางการผลิตจะเปนผลิตเพื่อ การสงออก และมีลักษณะรับจางผลิต มากกวาที่จะเปนการผลิตแบบออกแบบเอง โดยผูประกอบการไทยมีหนาที่รับคําสั่งจากลูกคา หาวัตถุดิบและตัดเย็บตามความ ตองการของลูกคาภายใตชื่อผลิตภัณฑที่เปนรูจัก ดังนั้นตลาดสงออกหลักของ สินคาประเภทสิ่งทอและเครื่องนุงหมที่สําคัญของไทยจึงไดแก ประเทศในกลุม สหภาพยุโรป และอเมริกา ปจจุบันประเทศในสหภาพยุโรปบางประเทศมีการ
  • 20. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 23 กําหนดมาตรฐานสินคาไวสูงมาก ทําใหผูประกอบการบางรายของไทยไดเปลี่ยน ตลาดสงออกไปยังกลุมตลาดใหม เชน ประเทศในกลุมตะวันออกกลาง อยางไรก็ตามถาพิจารณาเฉพาะในตลาดอาเซียนแลว พบวาประเทศที่มีการ สงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปตลาดนี้มากที่สุดเปนอันดับที่ 1 และ 2 คือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ตามลําดับ โดยในป 2547-2548 มาเลเซียมีสวนแบงตลาดมาก ที่สุดอยูที่รอยละ 33.7 และ 31.0 ตามลําดับ แตในป 2549 - 2550 มาเลเซียมีสวน แบงตลาดลดลงอยูที่ประมาณรอยละ 29.3 และ 29.5 ตามลําดับ เนื่องมาจาก อินโดนีเซียสามารถสงออกอุตสาหกรรมสิ่งทอไปตลาดอาเซียนไดเพิ่มขึ้น แตในป 2551 มาเลเซียสามารถแยงสวนแบงตลาดจากอินโดนีเซียมาได ทําใหสวนแบง ตลาดกลับเพิ่มขึ้นเปนรอยละ 31.2 สวนไทยถือวาเปนผูสงออกสิ่งทออันดับที่ 3 ใน กลุมอาเซียน โดยมีสวนแบงตลาดในป 2551 อยูที่รอยละ 18.2 ซึ่งถือวาคอยของ นอยมากเมื่อเทียบกับประเทศผูสงออกหลักทั้งสองดังแสดงในภาพที่ 7 หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ. ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553) ภาพที่ 7 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกสิ่งทอในตลาดอาเซียน
  • 21. AEC Prompt 24 2.4 อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (1) การสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ ประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2551 มูลคาการสงออกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ แตในป 2552 มูลคาการ สงออกกลับมีทิศทางที่หดตัวลงเทากับรอยละ4.8 และ 2.5 ตามลําดับ และสําหรับ มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของไทยไปยัง ประเทศตาง ๆ ในอาเซียน ตั้งแตป 2548-2552 ไทยมีมูลคาการสงออก อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังประเทศสิงคโปรมากที่สุด โดย ในป 2552 มีมูลคาการสงออกเทากับ 3,128.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวน รอยละ33.8 รองลงมาคือ มาเลเซีย และอินโดนีเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออกเทากับ 2,647.8 และ 1,126.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 28.6 และ 12.2 ตามลําดับ (ตารางที่ 14)
  • 22. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 25 ตารางที่ 14 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 7.0 12.5 14.1 12.3 7.3 114.7 77.2 13.1 -12.9 -40.4 0.1 0.1 0.1 0.1 0.1 กัมพูชา 101.3 111.9 147.9 206.9 154.8 59.1 10.4 32.3 39.9 -25.2 1.3 1.3 1.3 1.9 1.7 มาเลเซีย 2,283.1 2,415.7 2989.5 3,053.7 2,647.8 4.1 5.8 23.8 2.1 -13.3 28.9 28.0 26.2 28.1 28.6 พมา 62.7 64.5 93.1 106.5 156.3 2.7 2.9 44.3 14.5 46.7 0.8 0.7 0.8 1.0 1.7 ฟลลิปนส 662.0 978.8 1026.1 914.1 817.6 -2.4 47.9 4.8 -10.9 -10.6 8.4 11.3 9.0 8.4 8.8 สิงคโปร 3,559.4 3,724.0 5,037.1 3,951.0 3,128.4 -5.2 4.6 35.3 -21.6 -20.8 45.1 43.1 44.1 36.4 33.8 เวียดนาม 369.8 527.6 804.2 933.7 992.3 26.6 42.7 52.4 16.1 6.3 4.7 6.1 7.0 8.6 10.7 อินโดนีเซีย 746.9 665.4 1,109.6 1,465.1 1,126.2 21.8 -10.9 66.8 32.0 -23.1 9.5 7.7 9.7 13.5 12.2 ลาว 102.7 133.0 190.8 222.7 220.7 23.8 29.5 43.5 16.8 -0.9 1.3 1.5 1.7 2.0 2.4 อาเซียนรวม 7,894.9 8,633.3 11,412.4 10,866.0 9,251.4 2.0 9.4 32.2 -4.8 -14.9 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 39,997.5 47,246.2 58,435.4 56,966.1 48,446.3 9.2 18.1 23.7 -2.5 -15.0 - - - - - ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (2) การสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ ประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ในป 2548 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไป ยังตลาดอาเซียนมากที่สุด ไดแก มาเลเซีย โดยมีมูลคาการสงออกออก อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเทากับ 23,031.3 ลานเหรียญ สหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 39.7 สวนประเทศสิงคโปรและไทยมีการสงออก อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสรองเปนอันดับ 2 และ 3 โดยมีมูลคา การสงออกออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเทากับ 11,115.4 และ 7,999.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.1และ 13.8 ตามลําดับ ตอมาในป 2550 พบวา ไทยกลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรม
  • 23. AEC Prompt 26 เครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับที่ 4 โดยประเทศ ฟลิปปนส กลายเปนประเทศที่มีการสงออกอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับที่ 3 ซึ่งในป 2550 ไทยและ ฟลลิปนส มีมูลคาการสงออกเทากับ 8,573.5 และ 8,441.4 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน สัดสวนรอยละ 13.5และ 13.3 ตามลําดับ และหลังจากป 2550 ไทยก็กลับมาเปน ประเทศที่มีการสงออกไปยังตลาดอาเซียนเปนอันดับที่ 3 รองจาก มาเลเซีย และ สิงคโปร (ตารางที่ 15) ตารางที่ 15 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ตารางที่ 15 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552* 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 3.3 1.9 4.9 12.2 9.4126.1 -41.0150.9149.6 20.1 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 กัมพูชา 0.6 2.7 1.9 2.9 1.4 -50.7374.7 -31.4 55.8 -25.3 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 มาเลเซีย 23,031.3 25,070.6 25,764.6 25,255.4 13,359.9 5.8 8.9 2.8 -2.0 -33.9 39.7 40.1 40.4 38.1 34.8 พมา 8.6 8.6 10.7 16.6 7.6 40.0 1.0 24.4 54.9 -11.9 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 ฟลิปปนส 7,988.2 8,187.8 8,573.5 6,575.0 4,513.5 10.6 2.5 4.7 -23.3 -16.0 13.8 13.1 13.5 9.9 11.8 สิงคโปร 11,115.4 12,841.8 12,884.8 16,127.4 9,912.0 12.0 15.5 0.3 25.2 -20.7 19.1 20.5 20.2 24.4 25.9 ไทย 7,999.4 8,523.0 8,441.4 9,825.2 5,769.3 4.5 6.5 -1.0 16.4 -22.1 13.8 13.6 13.3 14.8 15.0 เวียดนาม 735.8 763.8 1,007.4 1,275.1 786.5 27.5 3.8 31.9 26.6 -18.0 1.3 1.2 1.6 1.9 2.1 อินโดนีเซีย 7,179.9 7,151.6 6,999.8 7,103.2 3,971.5 9.2 -0.4 -2.1 1.5 -28.8 12.4 11.4 11.0 10.7 10.4 ลาว 2.2 4.8 12.9 19.8 11.4 -50.7 0.0165.8 54.0 -25.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 อาเซียนรวม 58,064.6 62,556.7 63,701.8 66,212.7 38,342.6 8.0 7.7 1.8 3.9 -26.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 239,393.1 268,485.7277,244.9 299,737.6 171,632.2 9.0 12.2 3.3 8.1 -26.2 - - - - - หมายเหตุ 1. 2552* เปนมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมแชแข็งของประเทศไทย 3 ไตรมาส ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas
  • 24. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 27 (3) การนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟา และอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากตลาดอาเซียนและตลาดโลก พบวาตั้งแต 2548 – 2551 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ ประเทศไทยจากอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวสูงขึ้นอยางตอเนื่อง จนกระทั่งในป 2552 มูลคาการนําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากอาเซียนและตลาดโลกมีแนวโนมปรับตัวลดลง โดยในป 2552 ไทยมีมูลคาการนําเขานําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสจากอาเซียนและตลาดโลกเทากับ 8,674.6 และ 44,405.8 ลาน เหรียญสหรัฐฯ ซึ่งหดตัวจากป 2551 เทากับรอยละ 16.3 และ 14.2 ตามลําดับ โดยประเทศที่ไทยนําเขาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจากตลาด อาเซียนมากที่สุดไดแก ประเทศมาเลเซีย ซึ่งในป 2552 มีมูลคาการนําเขาเทากับ 4,179.7ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 48.2 รองลงมาคือ สิงคโปร และฟลลิปนส มีมูลคาการนําเขาเทากับ 2,718.3 และ 672.8 ตามลําดับ (ตารางที่ 16)
  • 25. AEC Prompt 28 ตารางที่ 16 มูลคาการนําเขาสินคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยจากประเทศในอาเซียนและ โลก มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 0.1 0.0 0.0 0.1 0.0 384.1 -68.9 111.9 40.4 -32.2 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 กัมพูชา 0.1 0.0 0.6 0.6 0.3 -73.6 -79.0 2979.7 -4.4 -52.4 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 มาเลเซีย 3,394.2 3,521.4 4,437.7 4,417.2 4,179.7 18.9 3.7 26.0 -0.5 -5.4 43.0 41.8 43.5 42.6 48.2 พมา 0.9 0.9 3.8 2.6 0.1 -21.9 1.9 337.7 -31.8 -96.0 0.0 0.0 0.0 0.0 0.0 ฟลลิปนส 1,063.7 1,120.3 1,137.0 919.8 672.8 23.0 5.3 1.5 -19.1 -26.9 13.5 13.3 11.1 8.9 7.8 สิงคโปร 2,450.8 2,835.8 3,401.9 3,500.7 2,718.3 21.3 15.7 20.0 2.9 -22.3 31.0 33.6 33.3 33.8 31.3 เวียดนาม 357.0 384.4 474.1 532.1 446.3 47.0 7.7 23.3 12.2 -16.1 4.5 4.6 4.6 5.1 5.1 อินโดนีเซีย 626.4 564.0 734.8 965.1 640.6 47.0 -10.0 30.3 31.3 -33.6 7.9 6.7 7.2 9.3 7.4 ลาว 2.2 4.7 12.7 19.7 16.4 -47.7 116.4 172.0 55.0 -16.8 0.0 0.1 0.1 0.2 0.2 อาเซียนรวม 7,895.3 8,431.5 10,202.7 10,357.9 8,674.6 23.1 6.8 21.0 1.5 -16.3 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 40,402.7 43,304.9 50,897.8 51,754.7 44,405.8 17.4 7.2 17.5 1.7 -14.2 - - - - - ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (4) ดุลการคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของ ประเทศไทยและประเทศในอาเซียน เมื่อพิจารณาทางดานดุลการคาของอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและ อิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน พบวา ในภาพรวมกลุม ประเทศในอาเซียนขาดดุลการคาในอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส อยางตอเนื่อง ตั้งแตป 2548 - 2552 ซึ่งประเทศที่มีการขาดดุลการคาใน อุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไดแกประเทศ มาเลเซีย และไทย โดยขาดดุลเทากับ 1, 532.0 และ 1,290.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ ตามลําดับ สวน ประเทศอีก 8 ประเทศไดแก บรูไน กัมพูชา พมา ฟลลิปนส สิงคโปร เวียดนาม อินโดนีเซีย ลาว มีดุลการคาเกินดุล (ตารางที่ 17)
  • 26. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 29 ตารางที่ 17 มูลคาดุลการคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสของประเทศไทยและประเทศในอาเซียน มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 โลก -405.2 3,941.4 7,537.6 5,211.4 4,040.5 -118.4 -1,072.8 91.2 -30.9 -22.5 บรูไน 7.0 12.4 14.0 12.2 7.3 113.5 78.6 12.9 -13.1 -40.5 กัมพูชา 101.2 111.8 147.3 206.3 154.5 59.8 10.5 31.7 40.1 -25.1 มาเลเซีย -1,111.1 -1,105.7 -1,448.1 -1,363.5 -1,532.0 68.4 -0.5 31.0 -5.8 12.4 พมา 61.8 63.6 89.3 103.9 156.2 3.2 3.0 40.3 16.5 50.3 ฟลลิปนส -401.7 -141.5 -110.9 -5.7 144.7 115.2 -64.8 -21.7 -94.8 -2632.1 สิงคโปร 1,108.6 888.2 1,635.2 450.3 410.1 -36.0 -19.9 84.1 -72.5 -8.9 ไทย -609.0 -646.1 -1,061.2 -1,159.1 -1,290.1 -32.7 6.1 64.2 9.2 11.3 เวียดนาม 12.8 143.2 330.0 401.6 546.0 -74.0 1017.1 130.4 21.7 36.0 อินโดนีเซีย 120.5 101.4 374.8 500.0 485.6 -35.6 -15.9 269.8 33.4 -2.9 ลาว 100.5 128.3 178.0 203.0 204.3 27.6 27.6 38.8 14.0 0.7 อาเซียนรวม -609.4 -444.4 148.5 -651.0 -713.3 -243.7 -27.1 -133.4 -538.4 9.6 ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (5) ตําแหนงตลาดสินคาอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส ของประเทศไทยในตลาดอาเซียน อุตสาหกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเปนอุตสาหกรรมที่เนนใชการเทคโนโลยี และยังตองพึ่งพาวัตถุดิบนําเขาในอัตราคอนขางสูง โดยเฉพาะการผลิต เครื่องใชไฟฟาที่มีการนําเขาวัตถุดิบจากตางประเทศมากกวาการผลิต อิเล็กทรอนิกสที่สวนมากใชวัตถุดิบภายในประเทศ ดังนั้นประเทศผูสงออกสินคา ประเภทเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสจึงตองมีศักยภาพทางดานเทคโนโลยี คอนขางสูง อยางไรก็ตามประเทศในภูมิภาคอาเซียนหลายประเทศเปนประเทศผู สงออกสินคาประเภทเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสไปยังตลาดโลก ไดแก มาเลเซีย สิงคโปร และไทย แตเมื่อพิจารณาตลาดในภูมิภาคอาเซียนพบวา มาเลเซียเปนผูสงออกรายใหญ โดยในป 2547 มาเลเซียมีอัตราการขยายตัวอยูที่ รอยละ 13.7 ในป 2549 - 2550 อัตราการขยายตัวเริ่มมีแนวโนมลดลง อยูที่รอยละ
  • 27. AEC Prompt 30 8.9 และ 2.8 ตามลําดับ ตอมาในป 2551 อัตราการขยายตัวหดตัวลดลงเปนครั้ง แรกในรอบ 5 ป โดยหดตัวลดลงอยูที่รอยละ -2.0 สงผลใหสวนแบงตลาดลดลงอยู ที่รอยละ 38.1 แตก็ยังคงเปนประเทศที่มีสวนแบงทางการตลาดมากเปนอันดับ 1 ในกลุมอาเซียน สําหรับประเทศสิงคโปรเปนผูสงออกที่มีสวนแบงทางการตลาด เปนอันดับที่ 2 ของกลุม โดยมีแนวโนมของอัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดที่ เพิ่มขึ้น โดยในป2551 อัตราการขยายตัวอยูที่รอยละ 25.2 และสวนแบงตลาดอยูที่ รอยละ 24.4 ตามลําดับ สําหรับไทยผูสงออกอันดับที่ 3 แมจะมีสวนแบงตลาด คอนขางนอยเมื่อเทียบกับประเทศผูสงออกรายใหญทั้ง 2 แตในป 2551 สามารถ สงออกเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสเพิ่มขึ้น ทําใหอัตราการขยายตัวและสวน แบงตลาดเพิ่มขึ้นในรอบ 4 ป โดยอัตราการขยายตัวอยูที่รอยละ 16.4 และสวน แบงตลาดอยูที่รอยละ 14.8 ตามลําดับ ดังแสดงในภาพที่ 8 หมายเหตุ : ตัวเลขในภาพ แสดงป พ.ศ. ขอมูลอาเซียนในสวนนี้เปนอาเซียน 5 ไดแก ไทย สิงคโปร มาเลเซีย อินโดนีเซีย และฟลลิปนส ที่มา: ศูนยศึกษาการคาระหวางประเทศ มหาวิทยาลัยหอการคาไทย (2553) ภาพที่ 8 อัตราการขยายตัวและสวนแบงตลาดของการสงออกเครื่องใชไฟฟาและอิเล็กทรอนิกสในตลาดอาเซียน
  • 28. ตําแหนงการตลาดและศักยภาพการแขงขันของสินคาอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน 31 2.5 อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ (1) การสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศ ไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก เมื่อเปรียบเทียบมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลกพบวาในชวงป 2548 ถึงป 2552 มูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยใน ตลาดโลกมีทิศทางที่สูงขึ้นเรื่อยๆ และสําหรับมูลคาการสงออกของอุตสาหกรรม อัญมณีและเครื่องประดับของไทยไปยังประเทศตาง ๆ ในอาเซียน พบวาในป 2548 ไทยมีมูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังประเทศ สิงคโปรมากที่สุด โดยมีมูลคาการสงออกเทากับ 72.3 ลานเหรียญสหรัฐฯคิดเปน สัดสวนรอยละ 77.5 รองลงมาคือ อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งมีมูลคาการสงออก เทากับ 11.8 และ 4.9 ตามลําดับ อยางไรก็ตามเมื่อพิจารณาในป 2550-2552 พบวา ประเทศที่ไทยมีการสงออกมากที่สุดเปนอันดับ 2 และ 3 เปลี่ยนเปนประเทศ มาเลเซีย และลาว ซึ่งในป 2552 มีมูลคาการสงออกเทากับ 14.2 และ 4.8 ตามลําดับ สวนประเทศอินโดนีเซียตกไปเปนอันดับที่ 4 (ตารางที่ 18)
  • 29. AEC Prompt 32 ตารางที่ 18 มูลคาการสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก มูลคา (ลานเหรียญสหรัฐฯ) อัตราการขยายตัว (รอยละ) สัดสวน (รอยละ) ประเทศ 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 2548 2549 2550 2551 2552 บรูไน 0.1 0.1 0.2 0.4 5.8 45.5 -38.1 298.5 87.5 1,255.8 0.1 0.1 0.2 0.2 8.0 กัมพูชา 0.2 0.3 0.3 0.2 0.3 578.1 53.7 -4.9 -25.4 18.1 0.2 0.4 0.3 0.1 0.4 มาเลเซีย 4.9 4.0 10.5 28.3 14.2 -24.8 -18.2 163.1 169.4 -49.8 5.2 4.4 11.1 13.0 19.5 พมา 0.6 2.2 0.5 0.0 0.5 -20.1 261.1 -78.7 -92.3 1,194.9 0.6 2.4 0.5 0.0 0.6 ฟลลิปนส 0.1 0.1 0.2 0.0 1.0 29.4 -47.8 379.8 -85.1 2,682.6 0.1 0.1 0.3 0.0 1.4 สิงคโปร 72.3 67.2 64.2 168.1 38.9 78.2 -7.1 -4.4 161.7 -76.9 77.5 73.4 67.8 77.3 53.3 เวียดนาม 3.3 4.2 4.4 4.5 3.6 4.4 25.6 5.3 2.1 -19.4 3.6 4.6 4.6 2.1 5.0 อินโดนีเซีย 11.8 10.5 7.1 4.4 3.8 92.3 -10.7 -32.5 -38.4 -12.1 12.6 11.5 7.5 2.0 5.3 ลาว 0.0 3.0 7.3 11.6 4.8 117.5 60,214.7 143.8 58.4 -58.2 0.0 3.3 7.7 5.3 6.6 อาเซียนรวม 93.3 91.5 94.8 217.6 73.0 62.8 -2.0 3.7 129.5 -66.5 100.0 100.0 100.0 100.0 100.0 โลก 3,203.4 3,671.4 5,779.6 8,278.7 9,694.7 21.6 14.6 57.4 43.2 17.1 - - - - - ที่มา : คํานวณจากฐานขอมูล Global Trade Atlas (2) การสงออกของอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับของประเทศ ตางๆ ในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน จากการพิจารณามูลคาการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ ของประเทศไทยและประเทศในอาเซียนไปยังตลาดอาเซียน ในป 2548 – 2549 ประเทศที่มีมูลการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังตลาด อาเซียนมากที่สุด ไดแก อินโดนีเซีย โดยในป 2549 มีมูลคาการสงออกออก อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับเทากับ 845.2 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปน สัดสวนรอยละ 42.9 สวนประเทศมาเลเซียและสิงคโปร เปนประเทศที่มีการสงออก อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับรองเปนอันดับ 2 และ 3 ซึ่งมีมูลคาการ สงออกเทากับ 573.8 และ 428.1 ลานเหรียญสหรัฐฯ คิดเปนสัดสวนรอยละ 19.1 และ 21.7 ตามลําดับ ตอมาในป 2550 พบวาประเทศมาเลเซียกลายเปนประเทศที่ มีการสงออกอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับไปยังตลาดอาเซียนมากที่สุด มี