SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
Download to read offline
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน
(honest livelihood Village Report)
ประจาปี 2561
บ้านคลองขวางบน หมู่ที่ 6 ตาบลลาดหลุมแก้ว
อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
ปีงบประมาณ 2561
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ส่วนที่ 1
ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน
หมู่บ้านคลองขวางบน เดิมเป็นพื้นที่ป่า และเป็นที่ราบลุ่ม แต่ไม่มีคลองผ่านหมู่บ้าน แต่ผู้คนในละแวก
ใกล้เคียงเข้ามาจับจองหักล้างถางพงเพื่อทานาข้าว ไม่มีถนนหนทางชาวนาได้แต่เดินเท้าเข้ามา ด้วยเหตุพื้นที่นา
ดังกล่าวอยู่ไกลบ้านเรือน ชาวนาจึงมาหลังกระท่อมอยู่อาศัย นานเข้าก็ปลุกสร้างบ้าน ต่อมาชลประทานได้ทา
คลองส่งน้าเพื่อให้มีการทานาปลูกข้าวนอกฤดูทานาปีได้ โดยทาคลองส่งน้าขวางทางไหลของน้าตามธรรมชาติ
และอยู่ใกล้กับประตูระบายน้าของชลประทาน จึงเรียกคลองส่งน้าดังกล่าวว่า คลองขวางบน เมื่อมีบ้านเรือน
เพิ่มมากขึ้นจึงแยกมาเป็นหมู่บ้านใหม่ ตั้งซื่อว่า บ้านคลองขวางบน และ เรียกชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน
มีพื้นที่ จานวน 1,086 ไร่ พื้นที่ทาการเกษตร 950 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้
ทิศเหนือ จด หมู่ที่ 4 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว
จังหวัดปทุมธานี
ทิศใต้ จด หมู่ที่ 5 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ 7 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ 5 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
สภาพภูมิประเทศ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่มต่่า น้่าท่วมถึงด้านฝั่งตะวันตกของแม่น้่า
เจ้าพระยา เป็นพื้นที่ที่มีล่าคลองไหลผ่าน จึงมีแหล่งน้่าสมบูรณ์เหมาะส่าหรับเป็นพื้นที่เกษตรกรรมเพาะปลูก
ราษฎรส่วนใหญ่ตั้งบ้านเรือนอยู่สองฝั่งคลอง
สภาพดินฟ้าอากาศ เป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู และอยู่ในเกณฑ์ปกติทั่วไป
จ่านวนประชากรรวมทั้งสิ้น 688 คน แยกเป็น ชาย 348 คน หญิง 340 คน จ่านวนครัวเรือน
215 ครัวเรือน การประกอบอาชีพ ท่านา รับจ้าง ค้าขาย รับราชการ อาชีพอื่น ๆ
กองทุนในรูปแบบสวัสดิการแก่สมาชิก
ชุมชนหมู่บ้านคลองขวางบน มีสวัสดิการในหมู่บ้านที่แสดงถึงความเอื้ออาทรต่อกัน โดยจัดสวัสดิการ
กองทุนหมู่บ้านส่วนมอบให้ผู้ด้วยโอกาส คนชรา คนพิการ เช่น มอบเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ด้อยโอกาส,
จัดบริการออกกาลังกายเล่นกีฬา, จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ จัดสวัสดิการ ดูแลสุขภาพ, กลุ่มออมวันละบาท, กลุ่ม
ออมทรัพย์เพื่อการผลิต, กลุ่มออมทรัพย์ของกองทุนหมู่บ้าน
ความเป็ นมา
ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
การบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ และโครงสร้างคณะกรรมการและที่ปรึกษา
ชุมชนบ้านคลองขวางบน เป็นชุมชนที่เข้มแข็งจากมี องค์ความรู้ และมีการ จัดการแบ่งปันความรู้ ข้อมูล และ
ภูมิปัญญาของคนในชุมชนมีการนาความรู้สู่การปฏิบัติ เมื่อได้ผลก็นามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเอง โดยรัฐบาลมี
นโยบายการแก้ไขปัญหาความยากจน จากนั้นพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านคลองขวางบน ที่ให้
ชาวบ้านเข้ามารับการฝึกอบรมซึ่งวิทยากรในการให้ความรู้เป็นปราชญ์ชาวบ้านที่อยู่ในบ้านคลองขวางบน และจาก
การทาแผนชุมชนให้ชุมชนได้รู้จกตนเองประกอบกับมีการรับนโยบายจากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอในเรื่องศูนย์
เรียนรู้ชุมชนซึ่งชุมชนมีการจัดเก็บข้อมูลค้นหาภูมิปัญญา จึงมีการแยกย่อยออกมาจัดเป็นจุดเรียนรู้ 6 เรื่อง และมี
ผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่องอย่างชัดเจนเกิดผล ผลจากการเรียนรู้ มีการจัดเก็บ บันทึกความรู้นั้นเป็นคลังความรู้ของ
ชุมชนการบริหารจัดการ
คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน ประกอบด้วย
1. นายสารวย เกาะแก้ว ประธาน
2. นางสาวธนพร โพธิ์มั่น รองประธาน
3. นางประชิต รอดพล รองประธาน
4. นางสาวอนันตา แสงพายับ เหรัญญิก
5. นางสมปอง ก้านทอง เลขานุการ
6. นางสาวภัชราภรณ์ สิทธิคา ประชาสัมพันธ์
7. นางสารภี ดอนใหญ่ กรรมการ
8. นางศศิธร สวนทรัพย์ กรรมการ
9. นายถวิล เฮงประเสริฐ กรรมการ
10. นายประทีป ฤทธิกุล กรรมการ
11. นางสุมาลี หน่าหน่าย กรรมการ
12. นางลัดดา บางภูมิ กรรมการ
ระเบียบการบริหารศูนย์
1. เวลาใช้บริการศูนย์ จะเปิดทาการ เวลา 08.30-16.30 น ไม่เว้นวันหยุดราชการ หากมีความ
จาเป็นต้องขยายเวลาให้บริการต้องได้รับอนุญาตจากประธานศูนย์การเรียนรู้
2. ให้ประธานศูนย์เรียนรู้ แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 2 คน มาให้บริการผู้มาใช้ประโยชน์จาก
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนทุกวัน
3. การใช้บริการศูนย์เรียนรู้ไม่เสียค่าบริการแต่อย่างใด ยกเว้นกรณีมีการศึกษาดูงานที่ต้องมีการ
บรรยายสรุปจะต้องเสียค่าธรรมเนียมครั้งละ 1,000 บาท
หลังจากการเรียนรู้จาก ศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบแล้ว ทางศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน ได้
นาไปสู่กระบวนการพัฒนาตนเอง ด้วยการจัดการองค์ความรู้ในชุมชนให้เป็นระบบแล้ว ก็นาไปสู่การปรับปรุง
และพัฒนาแหล่งเรียนรู้
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย
ได้ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้ราษฎรในหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ และเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่น รณรงค์ให้ราษฎรมาใช้สิทธิ์เลือกตั้งต่าง ๆ
เช่น สมาชิกสภาท้องถิ่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา
ได้ประชุมและชี้แจงนโยบายในการเลือกตั้ง ให้เกิดความตื่นตัวในการไปทาหน้าที่เลือกตั้ง ตลอดจน
ประชาสัมพันธ์ แนะนาเกี่ยวการวิธีการลงคะแนน และวิธีการเลือกตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจสอบบัญชี
รายชื่อผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในหมู่บ้าน ตาบล หากพบว่าผู้ใดเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งแต่ไม่มีชื่อ ในบัญชีรายชื่อก็แนะนา
ให้ไปขอเพิ่มชื่อ หากพบชื่อบุคคลที่ไม่มีสิทธิเลือกตั้งอยู่ในบัญชีรายชื่อ ก็แนะนาให้เจ้าบ้านไปขอถอนชื่อ
ขณะเดียวกันก็ต้องดูและตรวจสอบว่ามีการย้ายบุคคลเข้ามาอยู่ในตาบลโดยมิชอบ เพื่อประโยชน์ในการ
เลือกตั้งของผู้สมัครบางคนหรือไม่ แนะนาในการแจ้งเหตุที่ไม่อาจไปลงคะแนนเลือกตั้งได้ โดยได้
ประชาสัมพันธ์ทางเอกสารของสานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ติดไว้ที่ศูนย์ข้อมูลหมู่บ้าน
คุณธรรม/จริยธรรม
- ดาเนินวิถีชีวิตตามขนมธรรมเนียมประเพณีไทยมีศาสนาพุทธเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ มีการรักษา
สิ่งแวดล้อม และดาเนินชีวิตอย่างพอดี ใช้ชีวิตแบบพอเพียง มีเหตุผล มิภูมิคุ้มกัน ภายใต้เงื่อนไขความรู้คู่
คุณธรรม คนในชุมชนได้มีความดีที่ต้องสร้างให้เกิดขึ้นในตน ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันหมั่นเพียร ช่วยเหลือเกื้อกูล
และแบ่งปันไม่เบียดเบียนผู้อื่น ต้องแสดงความดีต่อผู้อื่น เสียสละเพื่อส่วนร่วมไม่ยึดติดกับอบายมุขต่าง ๆ
มีการดาเนินงานในรูปแบบวิสาหกิจชุมชนหรือกลุ่มที่มีการดาเนินงานในลักษณะเดียวกับรูปแบบ
วิสาหกิจชุมชน
- มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ เพื่อส่งเสริมความรู้และฝึกอาชีพให้กลุ่ม/องค์กรในหมู่บ้าน โดยใช้เวลาว่างให้เกิด
ประโยชน์ และเป็นการสนับสนุนพัฒนาให้เกิดความเข้มแข็งเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาท้องถิ่น
ผลิตภัณฑ์ชุมชนรายได้/สภาพเศรษฐกิจ
1 อาชีพหลักของครัวเรือน
(1 ) อาชีพ ทานา จานวน..........35...........ครัวเรือน
(2 ) อาชีพ ทาไร่ จานวน............8.........ครัวเรือน
(3 ) อาชีพ รับจ้าง จานวน.........43........ครัวเรือน
(4 ) อาชีพ ค้าขาย จานวน...........26……ครัวเรือน
(5 ) อาชีพอื่น ๆ จานวน...........23……ครัวเรือน
การประกอบอาชีพและการมีรายได้
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
2 อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง
(1 ) อาชีพ เลี้ยงปลา จานวน............5.........ครัวเรือน
(2 ) อาชีพ รับจ้าง จานวน............43.........ครัวเรือน
หมู่บ้านมีรายได้ 12,234,450 บาท/ปี รายจ่าย 8,098,235.บาท/ปี
มีหนี้สิน.345,656 .บาท/ปี
รายได้เฉลี่ยของประชากร (ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 2560) จานวน.......... 70,163,93 …. บาท/ปี
ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง 38,000 บาท / คน / ปี ) จานวน.......-..........ครัวเรือน
องค์กรต่าง ๆ ที่มีในหมู่บ้าน
จานวนกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ มีจานวน .........8...........กลุ่ม ดังนี้
1. กลุ่มน้าพริกตามือ
2. กลุ่มอาชีพทาปุ๋ยหมักชีวภาพ
3. กลุ่มแปรรูปไม้ไผ่
4. กลุ่มทาขนมไทย
5. กลุ่มไข่อินทรีย์
6. กลุ่มแปรรูปเห็ด
7. กลุ่มดินถุง
8. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
คณะทางานของหมู่บ้าน ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้าน และคนในชุมชน
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
แหล่งท่องเที่ยวและการบริการ
วัดบัวขวัญ เป็นวัดเก่าแก่ของอ่าเภอลาดหลุมแก้ว ที่วัดนี้มีพระพุทธรูปทองส่าริด ปางบ่าเพ็ญทุกข
กิริยา ซึ่งสร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ ๕ พร้อมกับ พระพุทธรูปตามระเบียงวัดเบญจมบพิตร นอกจากนี้ยังมีรอยพระ
พุทธบาท จ่าลอง ซึ่งจ่าลองมาจากวัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรีและพลับพลาที่ประทับแรกนาขวัญ สมัย
รัชกาลที่ ๖ เดิมเรียกว่า “ศาลาแดง” ตั้งอยู่ที่วังพญาไท ในกรุงเทพฯ
การเดินทาง ไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๔๑ (ปทุมธานี -ลาดหลุมแก้ว) เลี้ยวซ้ายที่หลักกิโลเมตรที่ ๒๑ –
๒๒ ไปอีก ๕ กิโลเมตร
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
วัดเจดีย์หอย ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ต่าบลบ่อเงิน บริเวณวัดมีการขุดพบซาก หอยนางรมยักษ์อายุนับล้านปี
จ่านวนมาก หลวงพ่อทองกลึงจึงน่าซากหอยโบราณ มาก่อเป็นเจดีย์ขึ้นที่ด้านหน้าทางเข้าและในวัด
นอกจากนี้ยังมี พิพิธภัณฑ์รวบรวมพระพุทธรูปและศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ ข้าวของเครื่องใช้ เก่าๆ จ่านวนมาก
เช่น ตุ่มสามโคก ถ้วยชามดินเผา ไม้แกะสลัก เครื่องคิดเลข เป็นต้น ในบริเวณวัดมีสวนสมุนไพร บ่อเลี้ยงเต่า
และบ่อปลา ส่าหรับให้นักท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจกับการให้อาหารสัตว์เหล่านี้
วัดลามหาเมฆ ตั้งอยู่ที่บ้านล่ามหาเมฆ หมู่ ๕ ต่าบลบ่อเงิน ห่างจากตัวจังหวัดตามเส้นทางสาย
ปทุมธานีบางเลน ประมาณ ๑๔ กิโลเมตร สิ่งที่น่าสนใจคือ บริเวณบึงน้่าไหลของวัดมีนกมากมายหลายชนิด
อาศัย สร้างรังฟักไข่ตามธรรมชาติจ่านวนมาก ได้แก่ นกกระยางขาว นกกระสา นกกาน้่าและนกชนิดอื่นๆ
ตลาดร้อยปีระแหง ตั้งอยู่ที่ชายคลองระแหง ติดกับคลองพระอุดม ต่าบล ระแหง ทางอ่าเภอลาดหลุม
แก้วได้ร่วมกับเทศบาลต่าบลระแหง และชาวตลาดระแหงอนุรักษ์ตลาดเก่าที่ยังรักษาชุมชนเดิมไว้ โดยจัดเป็น
ตลาดน้่าเหมือนในอดีตเพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของจังหวัดปทุมธานีในอดีตผู้คนจ่านวนมากต้อง
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
สัญจรกันทางเรือและทางรถไฟ โดยมีทางรถไฟสายแรก คือ สายตลาดระแหง – บางบัวทอง สิ้นสุดเส้นทางที่
โรงเรียนวรพงษ์ หมู่ ๔ ต่าบลระแหง ต่อมาการคมนาคมเจริญขึ้น มีถนนผ่านหน้าอ่าเภอลาดหลุมแก้ว ผู้คนหัน
มาสัญจรทางรถยนต์เพิ่มขึ้นกิจกรรมรถไฟ จึงล้มเลิกไป แต่ยังคงเหลือตลาดไว้ให้เป็นอนุสรณ์อยู่จนทุกวันนี้
ตลาดสองฝั่งคลองปลูกสร้างด้วยไม้ เป็นห้องแถวยาวติดต่อกันจ่าหน่ายสินค้าทุกวันเสาร์และวันอาทิตย์ เช่น
ขนมพื้นบ้าน ขนมไทยโบราณ ผลิตผลทางการเกษตร ในตลาดมีร้านขายอุปกรณ์จับสัตว์น้่าอายุกว่า ๙๐ ปี
ร้านขายยาจีนและยาแผนโบราณ ร้านตัดผมรุ่นคุณปู่ ร้านขายอุปกรณ์การเกษตรซึ่งมีทั้งเคียวเกี่ยวข้าว จอบ
เสียม ค้อน ตะปู เครื่องใช้ในครัวเรือน ปุ๋ยหมัก หม้อดินเผาหุ้งข้าว ร้านอาหารขึ้นชื่อ คือ ร้านแปโภชนา ซึ่งเป็น
ร้านเก่าแก่ ขายมาเกือบ ๗๐ ปีแล้ว นอกจากนี้ที่บ้านของนายเกียรติคุณ สุทธาภิรมย์ นายกเทศมนตรีต่าบล
ระแหง ยังจัดท่าเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงข้าวของเครื่องใช้ในสมัยโบราณ บริเวณคลองระแหงหน้าลานวัดบัวแก้ว
เกษรซึ่งอยู่ติดกับตลาดจัดเป็นสถานที่เลี้ยงปลา ศาลาริมน้่าข้างห้องสมุดเป็นท่าเรือรับ – ส่งนักท่องเที่ยว ตั้งแต่
สะพานคลองระแหงจะท่าทางเดินเชื่อมต่อกันระหว่างลานวัดกับตลาด โดยยังอนุรักษ์ชุมชนดั้งเดิมไว้ตั้งแต่รุ่น
ทวด จนได้รับรางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เปิดให้เข้าชมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย
ผู้สนใจสามารถเดินทางมาชมตลาดระแหงได้ทุกวัน (ชาวบ้านจะเปิดร้านสินค้าส่าหรับนักท่องเที่ยวกันในวัน
เสาร์และอาทิตย์ ติดต่อ เทศบาลต่าบลระแหง) โทร. ๐ ๒๕๙๙ ๑๖๐๖
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี เทศกาล ภูมิปัญญาท้องถิ่น
การค้นหาและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างคุณค่า
- ชุมชนมีการสืบทอดวัฒนธรรมแต่โบราณได้อนุรักษ์เพื่อสืบต่อให้คนรุ่นหลัง การละเล่นต่าง ๆ
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ส่วนที่ 2 การดาเนินงานสัมมาชีพ ปี 2561
แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน
แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน
บ้านคลองขวางบน หมู่ที่ 6 ตาบลลาดหลุมแก้ว
อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
ที่ ชื่อ – สกุล บ้านเลขที่
อายุ
(ปี)
เบอร์โทรศัพท์ อาชีพหลัก
อาชีพที่ปราชญ์มีความ
เชี่ยวชาญ/ประสบ
ความสาเร็จ (ระบุอาชีพ)
ประเภทอาชีพ
(ระบุเลข)
หมายเหตุ
1 นางประชิด รอดพล 50 58 087-904-9006 เกษตรกร
น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/
เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป
24
2 นางสาวธนพร โพธิ์มั่น 40 58 061-590-7638 เกษตรกร
น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/
เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป
24
3 นางสาวภัชราภรณ์ สิทธิค่า 13/1 28 083-854-0599 เกษตรกร
น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/
เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป
24
4 นางสาวสมปอง ก้านทอง 40/1 56 083-548-6500 เกษตรกร
น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/
เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป
24
5 นางสารภี ดวนใหญ่ 2 64 - เกษตรกร
น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/
เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป
24
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน
แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน
บ้านคลองขวางบน หมู่ที่ 6 ตาบลลาดหลุมแก้ว
อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
จานวนหมู่บ้านละ 26 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน)
ที่ ชื่อ - สกุล บ้านเลขที่
อายุ
(ปี)
อาชีพหลัก
รายได้เฉลี่ย (คน)
จปฐ. 2561
จานวนสมาชิก
ในครัวเรือน
(คน)
อาชีพที่อบรม
ประเภทอาชีพที่อบรม
(ระบุเลข)
หมายเหตุ
1 นายเอก หนูหน่าย 40/2 37 รับจ้าง 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
2 นายวุฒิพงษ์ โพธิ์มั่น 40/1 34 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
3 น.ส.ปานรวี สวนทรัพย์ 75/2 22 นักศึกษา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
4 น.ส.ดารดาวรรณ ศรีม่วง 7 50 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
5 นายอนุวัติ แสงพยับ 50 32 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
6 น.ส.เจียม ชูพุทธพงษ์ 13/1 50 ท่านา 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
7 นายถวิล เฮงประเสริฐ 1/1 71 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
8 นางมาริสา โพธิ์มั่น 40/3 59 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
9 น.ส.ปรางทิพย์ ฤทธิกุล 9/1 59 รับจ้าง 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
10 น.ส.สมปอง โพธิ์มั่น 32 56 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
11 น.ส.สอาจ ธูปแก้ว 36 51 ท่านา 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ที่ ชื่อ - สกุล บ้านเลขที่
อายุ
(ปี)
อาชีพหลัก
รายได้เฉลี่ย (คน)
จปฐ. 2561
จานวนสมาชิก
ในครัวเรือน
(คน)
อาชีพที่อบรม
ประเภทอาชีพที่อบรม
(ระบุเลข)
หมายเหตุ
12 นายบุญเลิศ หนูหน่าย 8/3 55 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
13 นายธานี แสงพยับ 6/1 50 ท่านา 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
14 น.ส.บุญมา หนูหน่าย 83/4 61 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
15 น.ส.บุญส่ง จับบัง 75/5 72 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
16 นางศศิธร สวนทรัพย์ 75/2 58 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
17 นางส่าอาง ชูศรี 17 59 รับจ้าง 40,000 4 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
18 น.ส.สัมฤทธิ์ หนูหน่าย 8 59 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
19 น.ส.สังเวียน บัวเกา 41 57 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
20 น.ส.ประนอม ศรีมันตะ 8/1 52 ท่านา 40,000 4 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
21 น.ส.กัณฒิมา นุ่มนาค 34/2 30 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
22 นายเสน่ห์ โพธิ์มั่น 40/1 52 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
23 นายบุญเตือน ชูศรี 46/3 42 ท่านา 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
24 นายมานะ หนูหน่าย 8/2 51 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
25 นางสงาน โพธิ์มั่น 40 43 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
26 พยนต์ เผือกยิ้ม 9 48 รับจ้าง 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
แบบฟอร์มข้อมูลกลุ่มอาชีพที่จัดตั้งตามแนวทางสัมมาชีพชุมชน
แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลกลุ่มอาชีพที่จัดตั้งขึ้นตามแนวทางสัมมาชีพชุมชน
บ้านคลองขวางบน ม.6 ต.ลาดหลุมแก้ว อ.ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
จานวนกลุ่มอาชีพ 1 กลุ่ม
ที่ ชื่อกลุ่ม ผลิตภัณฑ์กลุ่ม
ที่ตั้งกลุ่ม ชื่อ – สกุล
ประธานกลุ่ม
เบอร์โทรศัพท์
ระบุอาชีพ/ผลิตภัณฑ์ตามกลุ่ม
หมายเหตุ
เลขที่ หมู่ที่ ตาบล อาเภอ รหัส ประเภทผลิตภัณฑ์
1 กลุ่มเก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป 40 6 ลาดหลุมแก้ว ลาดหลุมแก้ว นางสาวธนพร โพธิ์มั่น 061-590-7638 24
แปรรูป: ของใช้ ประดับ
ตกแต่ง
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
แบบการประเมินครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง
1. ข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง
ชื่อ นางสาวธนพร โพธิ์มั่น เพศ หญิง อายุ 58 ปี
ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ 40 หมู่ที่ 6 ตาบล ลาดหลุมแก้ว อาเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัด ปทุมธานี
โทรศัพท์ 061-590-7638 อาชีพ เกษตรกร (ฟาร์มเห็ด)
จานวนสมาชิกในครัวเรือน 6 คน
2. กลุ่ม/องค์ที่เป็นสมาชิก
1) สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 2) สมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมเมืองบ้านคลองขวางบน ม.6
3) สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านคลองขวางบน ม.6 4) สมาชิกกลุ่มสัมมาชีพน้่าพริกต่ามือ/เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป/แปรรูปเห็ด
5) สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฟาร์มเห็ด 6) สมาชิกกลุ่มดินปลูก
3. การดารงตาแหน่ง
1) ประธานกลุ่มสัมมาชีพน้่าพริกต่ามือ 2) คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับหมู่บ้าน 3) คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับต่าบล
4) ปราชญ์ชุมชน 5) ผู้น่าสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน 6) คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน
ด้านการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
ตัวชี้วัด ผลการประเมิน
ระดับอาเภอ ระดับอาเภอ
1. มีสัมมาชีพ 1.1 ครัวเรือนประสบผลส่าเร็จในการประกอบ
สัมมาชีพสามารถเป็นแบบอย่างได้
1) ครัวเรือนสามารถเป็นที่ศึกษาดูงานให้กับครัวเรือนอื่นได้
2) ครัวเรือนอื่นสามารถปฏิบัติได้
3) ครัวเรือนประกอบอาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น
4) สามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับอาชีพในชุมชนตนเอง
และชุมชนอื่นได้
 ผ่าน
4 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ด้านการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
ตัวชี้วัด ผลการประเมิน
ระดับอาเภอ ระดับอาเภอ
1.2 มีการจัดท่าบัญชีครัวเรือน 1) ครัวเรือนมีการจัดท่าบัญชีครัวเรือนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
2) ครัวเรือนมีแผนการใช้จ่ายเงินครอบครัว
3) มีรายได้มากกว่ารายจ่าย
 ผ่าน
3 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
1.3 ครัวเรือนมีการออม 1) สมาชิกในครัวเรือนมีการฝากเงินไว้กับธนาคาร กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ
การผลิต หรือกลุ่มอื่นๆ ที่มีการรับฝากเงินกับสมาชิก  ผ่าน ไม่ผ่าน
2. มีความสัมพันธ์ที่ดี 2.1 สมาชิกในครัวเรือนมีวิถีชีวิตประชาธิปไตย
และท่ากิจกรรมร่วมกันสม่่าเสมอ
1) สมาชิกในครอบครัวยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
2) สมาชิกในครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน กลุ่ม/องค์กร อย่าง
สม่่าเสมอ อย่างน้อย 1 ครั้ง/กลุ่ม/ชุมชน ต่อ 1 เดือน
3) สมาชิกในครอบครัวใช้เวลาอยู่กับครอบครัวอย่างพร้อมหน้าเป็น
ประจ่า
4) สมาชิกในครัวเรือนแบ่งงานในครอบครัวให้ทั้งหญิงและชายอย่าง
เหมาะสม
 ผ่าน
4 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
2.2 สมาชิกในครัวเรือนไม่มีการใช้ความรุนแรง 1) สมาชิกในครัวเรือนแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยเหตุด้วยผล
2) สมาชิกในครัวเรือนไม่มีการใช้ก่าลังท่าร้ายร่างกายและทุบตี  ผ่าน
2 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
2.3 สมาชิกในครัวเรือนเป็นสมาชิกกลุ่มองค์กรใน
ขุมชนอย่างน้อย 1 กลุ่ม/องค์กร
เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
 ผ่าน ไม่ผ่าน
3. มีสภาพแวดล้อม
เหมาะสม
3.1 มีป้ายครัวเรือนและจัดระเบียบบ้านให้สะอาด
ถูกสุขลักษณะ
1) มีป้ายครัวเรือน
2) จัดระเบียบบ้านให้น่าอยู่/ท่าความสะอาดบ้านสม่่าเสมอ อย่างน้อย
อาทิตย์ละ 1 ครั้ง
3) ครัวเรือนมีกิจกรรม 5ส อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
 ผ่าน
3 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ด้านการประเมิน เกณฑ์การประเมิน
ตัวชี้วัด ผลการประเมิน
ระดับอาเภอ ระดับอาเภอ
3.2 มีการบริหารจัดการขยะอย่างเหมาะสมไม่เป็น
มลพิษต่อสิ่งแวดล้อม
1) ไม่เผาขยะ หญ้าแห้ง หรือตอซังข้าว
2) มีการแยกขยะในครัวเรือน
3) มีการน่าวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ซ้่า
4. ลด/เลิกการใช้สารเคมี
5.มีการน่าขยะไปขาย เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว
 ผ่าน
5 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
3.3 มีส่วนร่วมในกิจกรรมอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหรือ
สาธารณประโยชน์
1) ครัวเรือนร่วมกับกลุ่ม/องค์กร ชุมชน หมู่บ้านในการวางแผนอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม
2. มีการปลูกต้นไม้บริเวณบ้าน เช่นผักสวนครัวรั้วกินได้ หรือไม้กระถาง
3) รักษาความสะอาดสถานที่สาธารณะ เช่น ถนน ศาลาเอนกประสงค์
หมู่บ้าน เป็นต้น
4) ดูแลรักษาแหล่งน้่า ล่าคลองหรือที่สาธารณะ เช่น ไม่ทิ้งขยะลงใน
แม่น้่าล่าคลอง
 ผ่าน
4 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
4. ไม่ติดยาเสพติด สมาชิกในครัวเรือนไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และ
อบายมุขอื่นๆ
1) สมาชิกในครัวเรือนไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งผิดกฎหมาย เช่น การขายของ
ผิดกฎหมาย
2) สมาชิกในครัวเรือนไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ทั้งการเป็นผู้เสพผู้ค้า
3) สมาชิกในครัวเรือนไม่เกี่ยวข้องกับการพนันในรูปแบบต่างๆ เช่นการ
เล่นไพ่
 ผ่าน
3 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
5. ไม่มีหนี้นอกระบบ สมาชิกในครัวเรือนไม่มีการกู้ยืมเงินนอกระบบ
และไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว
1) ครัวเรือนมีรายรับมากกว่ารายจ่าย
2) ครัวเรือนไม่มีการกู้ยืมเงินนอกระบบ  ผ่าน
2 ข้อ
ไม่ผ่าน
- ข้อ
ผลการประเมินผ่านจานวน 5 ด้าน 32 ตัวชี้วัด ระดับอาเภอ
(ลงชื่อ)..................................................................พัฒนาการอ่าเภอ
(...........................................................)
วันที่........เดือน................................. พ.ศ. .................
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
เอกสารแนบประกอบการประเมินครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง
1. มีสัมมาชีพ
 ฟาร์มเห็ด
 กลุ่มน้าพริกตามือ
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
 กลุ่มไข่ไก่อินทรีย์ => เป็นอีกหนึ่งครัวเรือนที่ปฏิบัติตามและประสบความส่าเร็จตามครัวเรือนตัวอย่างได้
ปัจจุบันเป็นกลุ่มที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าสู่กลุ่มประชารัฐระดับอ่าเภอลาดหลุมแก้ว
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
 ศูนย์การเรียนรู้บ้านคลองขวางบน
ศูนย์เรียนรู้ชุมชน
ศูนย์เรียนรู้ชุมชน ด่าเนินการจัดตั้งโดยชุมชน ตั้งแต่ปี 2551 – ปัจจุบันโดยมีศูนย์เรียนรู้ชุมชน ที่อยู่ใน
ความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน จ่านวน 904 แห่ง มีคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ประชาชนใน
หมู่บ้าน/ชุมชนเป็นผู้คัดเลือกเป็นผู้บริหารจัดการ ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อใช้เป็นเครื่องมือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
ของประชาชนในชุมชน เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและชุมชน เป็นแหล่งส่งเสริมการ
เรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนที่สมดุลทั้ง 4 ด้าน
1. เรียนเพื่อให้มีความรู้
2. เรียนเพื่อให้เอาไปท่าเป็น
3. เรียนเพื่อให้ใช้ชีวิตร่วมกับคนอื่น
4. เรียนเพื่อให้มีความเป็นคน
กรมการพัฒนาชุมชน จึงจัดท่าหลักเกณฑ์การจัดระดับศูนย์เรียนรู้ชุมชน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ
ก่าหนดแผนการพัฒนาการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชน ให้มีศักยภาพ เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและชุมชน
และเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภาคีต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน ต่อไป
วัตถุประสงค์
เพื่อใช้เกณฑ์การประเมิน เป็นเครื่องมือในการจัดระดับศูนย์เรียนรู้ชุมชนก่าหนดแผนการด่าเนินงาน
พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชน
ข้อมูลทั่วไป
ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน หมู่ที่ 6 ต่าบลลาดหลุมแก้ว อ่าเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
วันเดือนปีที่ก่อตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน วันที่......-......เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2554
ชื่อประธานศูนย์เรียนรู้ชุมชนคนปัจจุบัน (นาย/นาง/นางสาว) นายส่ารวย เกาะแก้ว
โทร 06-1590-07638
จ่านวนคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชน ........12 .......คน
1. นายส่ารวย เกาะแก้ว ประธาน
2. นางสาวธนพร โพธิ์มั่น รองประธาน
3. นางประชิต รอดพล รองประธาน
4. นางสาวอนันตา แสงพายับ เหรัญญิก
5. นางสมปอง ก้านทอง เลขานุการ
6. นางสาวภัชราภรณ์ สิทธิค่า ประชาสัมพันธ์
7. นางสารภี ดอนใหญ่ กรรมการ
8. นางศศิธร สวนทรัพย์ กรรมการ
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
9. นายถวิล เฮงประเสริฐ กรรมการ
10.นายประทีป ฤทธิกุล กรรมการ
11.นางสุมาลี หน่าหน่าย กรรมการ
12.นางลัดดา บางภูมิ กรรมการ
สรุปกระบวนการศูนย์เรียนบ้านคลองขวางบน
1. การเรียนรู้อดีต ซึ่งเป็นการสะท้อนภาพ
2. การเรียนรู้ปัจจุบัน ซึ่งเป็นการมองสภาพปัญหาโดยรวมที่มีอยู่
3. การเรียนรู้อนาคต เป็นการแสดงความต้องการ/แผนปฏิบัติการ
การก่อเกิดและพัฒนาการของศูนย์เรียนรู้บ้านคลองขวางบน
การพัฒนาตนเองของชุมชน บนฐานการจัดการความรู้ที่มีในชุมชนอันมีสถานที่ที่เป็นศูนย์กลางการบริหาร
ศูนย์เรียนรู้ ใช้ในการประชุม และเปลี่ยนเรียนรู้เป็นเอกเทศจัดแสดงแผนผัง/โครงสร้างการบริหาร แผนที่แสดงจุด
เรียนรู้/ศูนย์เรียนรู้ย่อย สามารถให้บริการข้อมูลข่าวสาร ความรู้ แก่ผู้สนใจ มีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มี
ศูนย์เรียนรู้ย่อย หรือจุดเรียนรู้กระจายตัวท่ากิจกรรมทั่วพื้นที่ ทั้ง 7 กิจกรรมการเรียนรู้ประเภทของศูนย์เรียนรู้
ชุมชนบ้านขวางบน เกิดขึ้นจากความต้องการในการแก้ไขปัญหาความยากจนโดยมุ่งเน้นให้ชาวบ้านขวางบนช่วย
ตนเองให้พ้นความยากจนด้วยภูมิปัญญาของคนในชุมชนและแสวงหาความรู้ ความร่วมมือจากภายนอกเพิ่มเติม
โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาตั้งแต่ต้น
กระบวนการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยส่านักงานพัฒนาชุมชนอ่าเภอลาดหลุมแก้ว ได้มีการด่าเนินงาน
อย่างต่อเนื่อง ทั้งกิจกรรมส่งเสริมอาชีพท่าเห็ด แปรรูปเห็ด มาตั้งแต่ปี 2554 การส่งเสริมพัฒนาผู้น่าชุมชน ฯลฯ
ในพื้นที่บ้านขวางบน ศูนย์เรียนรู้ จึงเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่ทางส่านักงานพัฒนาชุมชนอ่าเภอลาดหลุมแก้ว ได้มีการ
พยายามส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ในชุมชนมาตั้งแต่ปี 2555
1) กิจกรรมการเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากกว่า 4 เวที โดยมีการพบปะกับผู้น่าชุมชน เพื่อรวมกันวิเคราะห์แนว
ทางการจัดท่าศูนย์เรียนรู้และช่วยกันวิเคราะห์ถึงความส่าคัญของศูนย์เรียนรู้ชุมชน
2) กิจกรรมการศึกษาดูงาน
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
หลังจากมีการทาความเข้าใจในการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน พบว่า ผู้นาชุมชน มีความต้องการใน
การศึกษาดูงานเพื่อการ นาองค์ความรู้ใหม่เข้ามาสู่การจัดการองค์ความรู้ ศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน ทั้งนี้
คณะกรรมการ และผู้นาชุมชน บ้านคลองขวางบน ได้ พากันไปศึกษาข้อมูลและแลกเปลี่ยนความรู้กับ ศูนย์เรียนรู้
จังหวัดชลบุรี
3) กิจกรรมปรับปรุงและพัฒนาศูนย์เรียนรู้
หลังจากการเรียนรู้จาก ศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบแล้ว ทางศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน ได้นาไปสู่
กระบวนการพัฒนาตนเอง ด้วยการจัดการองค์ความรู้ในชุมชนให้เป็นระบบ แล้ว ก็นาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนา
แหล่งเรียนรู้
4) กิจกรรมถอดองค์ความรู้
ในการจัดการองค์ความรู้พบว่ามีทั้งหมด 5 ฐานองค์ความรู้ที่มีการจัดท่าระบบองค์ความรู้ และมีวิทยากร
ประจ่าฐานการเรียนรู้คอยให้ข้อมูลองค์วามรู้คือ
ฐานการเรียนรู้ วิทยากรประจาฐานการเรียนรู้
1. การท่าเห็ด
2. การท่าชีวภาพ
3. การท่าน้่าพริกต่ามือ
4. การท่าดินปลูกต้นไม้
5. การกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
นางสาวธนพร โพธิ์มั่น
นางสาวธนพร โพธิ์มั่น
นางสมปอง ก้านทอง
นางสาวธนพร โพธิ์มั่น
นางสาวธนพร โพธิ์มั่น
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
 เป็นวิทยากรให้ความรู้
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
 กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต
เป็นแหล่งเงินทุนของชุมชนที่เกิดจากการรวมตัวกันของคนในชุมชนเพื่อระดมเงินออมของชุมชนไว้
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
วัน/เดือน/ปี หรือระยะเวลา เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี 2557
สถานที่ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน หมู่6 ต่าบลลาดหลุมแก้ว
 มีการจัดทาบัญชีครัวเรือน
2. มีความสัมพันธ์ที่ดี
 ด้านสังคม-จิตใจ
เวทีประชาคมหมู่บ้าน -ประชาคมแผนพัฒนาหมู่บ้าน – เวทีประชาธิปไตย
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
การประชาคมหมู่บ้าน จัดทาแผนพัฒนาชุมชน
การมีส่วนร่วมการพัฒนาหมู่บ้านของคนในหมู่บ้าน / ชุมชน
 มีข้อปฏิบัติของหมู่บ้าน / ชุมชน
มีการร่างกฎธรรมนูญหมู่บ้าน และทาประชาคมหมู่บ้าน ถือปฏิบัติร่วมกันประชาคมหมู่บ้านได้ดาเนินการจัด
เวทีประชาคม เพื่อออกกฎข้อบังคับหมู่บ้าน วัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวปฏิบัติของสมาชิกครัวเรือนในหมู่บ้าน ใน
ด้านต่างๆอาทิ เช่น ยาเสพติด การไม่เข้าร่วมพัฒนา และไม่เข้าร่วมกิจกรรม หมู่บ้านลักขโมย สัตว์เลี้ยง/พืชทาง
การเกษตร หรือสิ่งของ ยิงปืน พ่นสารเคมี /เผาถ่านและเผาขยะ ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ห้ามจับปลาใช้ไฟฟ้า/
แบตเตอรี่ ใช้ยาเบื่อ ห้ามเล่นการพนันทุกชนิด และห้ามจัดเลี้ยงสุรา ในงานฌาปนกิจศพ ซึ่งกฎหมู่บ้าน ได้กาหนด
โทษปรับและลงโทษไว้ชัดเจน
3. มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของหมู่บ้าน
กิจกรรมการมีส่วนร่วมของครัวเรือนในหมู่บ้าน มีหลากหลาย
อนึ่ง คณะกรรมการหมู่บ้าน(กม.) กาหนดการแบ่งงานของหมู่บ้าน จะมอบหมายงานแก่เขตต่างๆ
ดาเนินการกิจกรรมที่ดาเนินการโดยการน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา
ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันของครัวเรือนในหมู่บ้าน ก่อเกิดการ
พัฒนาที่ยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ในระดับหนึ่ง อาทิเช่น การทาป้ายเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ
ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ การพัฒนาหมู่บ้าน/สาธารณะประจาเดือน ทุกวันที่ ๑๕ ของเดือน การ
พัฒนาคูคลอง การดาเนินงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน ประจาเดือน เพื่อสอดส่องดูแล ตามโครงการคลองสวย
น้าใส ของนายอาเภอลาดหลุมแก้ว คนปัจจุบัน
4. ไม่ติดยาเสพติด
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
“คนในหมู่บ้าน ชุมชนปลอดอบายมุข”
เป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติด มีกฎระเบียบ ข้อบังคับหมู่บ้าน กาหนดตาม ข้อที่ ๒.กฎระเบียบเรื่องยาเสพ
ติด ถ้าผู้ใด ค้ายาเสพติด ๑ ครั้ง และผู้เสพยาเสพติด ๓ ครั้ง ถูกจับดาเนินคดี จะถูกตัดออกจากการเป็นสมาชิก
ฌาปนกิจฯ และตัดความช่วยเหลือต่างๆ จากชุมชน
วิธีและกิจกรรม
๑. มีการประชาคม เพื่อค้นหา คนในหมู่บ้าน/ชุมชนที่เป็น ผู้ค้ายาเสพติด และผู้เสพยาเสพติด
๒. คนในหมู่บ้าน/ชุมชนไม่ให้มี การเลี้ยง สุรา และบุรี ในงานฌาปนกิจศพ
๓. คนในหมู่บ้าน/ชุมชนไม่ให้มี การเล่นการพนัน ในหมู่บ้าน และในงานฌาปนกิจศพ
๔. คนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษา
5. ไม่มีหนี้นอกระบบ
 มีกิจกรรมลดรายจ่ายและสร้างรายได้
โดยครอบครัวและสมาชิกต้องรู้จักพึ่งตนเองโดยทากิจกรรมร่วมกัน ลดรายจ่าย เช่น ลด ละเลิกอบายมุข ไม่
ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ไม่สร้างหนี้ลดรายจ่าย/ลดต้นทุนการผลิต เช่น ผลิตปุ๋ยชีวภาพ ลดการใช้สารเคมีในการเกษตร ปลูก
พืชผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์เล็กไว้บริโภค โดยยึดหลัก ปลูกทุกอย่างที่กิน/กินทุกอย่างที่ปลูกและใช้ทุกอย่างที่ทา/ทา
ทุกอย่างที่ใช้ ปลูกพืชสมุนไพรเพื่อใช้รักษาโรคและรู้จักเก็บออม เป็นต้น
- รณรงค์ให้มีพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง เช่น การปลูกพืชผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ การส่งเสริม
อาชีพ มีการระดมทุนในการประกอบอาชีพ มีการประชุมร่วมกันทั้งเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ
- ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรในหมู่บ้านดาเนินการตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงโดย
แนะนาการปลูกผักสวนครัว เพื่อบริโภคและลดรายจ่ายในครัวเรือน
 มีการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพหลักของหมู่บ้าน
- ชุมชนบ้านคลองขวางบนเป็นชุมชนที่เข็มแข็งจะเห็นได้จากผู้นาชุมชนที่มีความเข็มแข็งสามารถรวมกลุ่ม
ประชาชนให้มีการอยู่ร่วมกันด้วยความรักความสามัคคีมีความเอื้ออาทรในลักษณะสังคมเมืองและสังคมชนบท
สามารถอยู่กันได้อย่างเอื้ออาทร ดังนี้
1. กลุ่มแปรรูปเห็ดเป็นกลุ่มในหมู่บ้านได้รวมตัวกัน เช่น สามารถทารายได้ให้กับกลุ่มเป็นกอบเป็นกา
5,000 – 150,000 บาท ต่อเดือน
2. กลุ่มน้าพริกตามือ ที่ผลิตและจาหน่ายในหมู่บ้าน และจาหน่ายทั่วไป
 มีกิจกรรมการออมที่หลากหลาย
- ชุมชนบ้านคลองขวางบน ลักษณะเป็นกึ่งเมืองกึ่งชนบทประชาชนที่ทาการเกษตรดาเนินกิจกรรมการลด
รายจ่ายในระดับครัวเรือนที่ทาให้ครัวเรือนประหยัดค่าใช้จ่าย และทาให้มีเงินออมมากขึ้น กิจกรรมลดต้นทุนการ
ผลิตในหมู่บ้าน/ชุมชน ชาวบ้านที่ทาการเกษตร ได้ทากิจกรรมลดต้นทุนดังนี้
1. มีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเองและไว้ให้เพื่อนบ้านที่ไม่ได้ปลูกมาขอไปรับประทาน และที่เหลือน่าไป
จ่าหน่าย เช่น ข่า ตะไคร้ ถั่วฝักยาว กล้วยน้่าว้า กระถิน ชะอม
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
2. ได้ท่าปุ๋ยหมักใช้เอง โดยการน่ามูลสัตว์ ใบหญ้า มาผลิตท่าเชื้อแล้วโรยตามต้นไม้ โดยใช้ภูมิปัญญาของ
คนในชุมชนเองไม่ใช้สารเคมี ยาฆ่าแมลง ใช้สมุนไพรทดแทนป้องกันแมลง เช่น ตะไคร้หอม ใบสะเดา ฝึกอบรมการ
ท่าปุ๋ยชีวภาพใช้ส่าหรับพืชสวนแล้วน่าความรู้ที่ได้มาท่าปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้่าชีวภาพไว้ใช้กับพืชผักผลไม้ในสวนของ
ตนเองมีการแปรรูปอาหารและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เช่น มะม่วงกวน
ส่วนที่ 3 รายงาน
ภูมิสารสนเทศครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนหมู่บ้าน
Credit : ส่านักงานเกษตรอ่าเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
กลุ่มสัมมาชีพ ม.6 บ้านคลองขวางบน
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
องค์ความรู้ปราชญ์สัมมาชีพ (KM)
การจัดการองค์ความรู้การสร้างอาชีพทางเลือกให้กับคนในชุมชน
๑. ชื่อ - สกุล นางสาวธนพร โพธิ์มั่น
วัน เดือน ปีเกิด 29 สิงหาคม 2503 อายุ 56 ปี
ที่อยู่ (ที่ติดต่อสะดวก) บ้านเลขที่ 40 หมู่ที่ 6 ต่าบลลาดหลุมแก้ว อ่าเภอลาดหลุมแก้ว
จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย์ 12140 เบอร์โทรศัพท์ (ที่ติดต่อสะดวก) 06-1590-07638
การประพฤติปฏิบัติตน
ด้านการบริหารตนเอง
1. มีบุคลิกภาพดี แต่งกายถูกต้องตามกาลเทศะ ใช้ค่าพูดและการแสดงท่าทางให้เกียรติผู้อื่นที่มาติดต่อ
และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ดี โดยแสดงออกเป็นที่ยกย่องให้เกียรติผู้ที่มาติดต่อประสานงานด้วยความบริสุทธิ์ใจ
อย่างเสมอต้นเสมอปลาย
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
2. เป็นผู้ที่มีความประพฤติเรียบร้อย ปฏิบัติตามท่านองครองธรรมตลอดเวลา
3. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องให้มีความรอบรู้ ความสามารถ และเป็นคนที่มีเหตุผล
4. เสียสละ อุทิศตนโดยไม่หวังผลตอบแทน เช่น ไปประชุมทุกครั้ง และร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
5. มีคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม ได้เข้าวัดฟังธรรม อยู่เป็นนิจ มีความวิริยะอุตสาหะในการ
ประกอบอาชีพ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาเป็นประจ่าทุกวันพระและปฏิบัติธรรมถือศีลห้า และสามารถถ่ายทอด
ให้ผู้อื่นได้และแสดงตนเป็นแบบอย่างที่ดีตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี จนสามารถโน้มน้าวให้ผู้อื่นปฏิบัติ
ตามด้วยความยกย่อง ศรัทธารวมถึงแสดงออกถึงความพยายามในการลด ละ เลิกอบายมุขประเภทต่าง ๆ ที่บั่น
ทอนอุปนิสัยอันดีงามของตนเอง
6. เข้าร่วมกิจกรรมศาสนาประเพณีของชุมชนอย่างสม่่าเสมอและแสดงออกถึงการปฏิบัติถือศีลห้าโดยการ
ลด ละ เลิกอบายมุขต่างๆ และร่วมในการคัดค้าน ปกป้องการกระท่าที่ขัดต่อหลักศาสนา คุณธรรมและวัฒนธรรม
อันดีงามของสังคมโดยไม่เปลี่ยนจุดยืนถึงแม้จะมีผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้องก็ตาม
7. มีความคิดริเริ่มโดยน่าเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาปรับปรุงงานอยู่เสมอ
8. ให้ความรู้ต่อบุคคลทั่วไป เช่น เป็นวิทยากรในการฝึกอาชีพ
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
9. พัฒนาตนเองโดยการเข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพเป็นประจ่าทุกปี
เพื่อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบ กฎหมายและการน่าไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อทางราชการ
เพิ่มพูนประสิทธิภาพ สร้างจิตส่านึก แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างสมาชิก ผู้น่า
ชุมชน น่าไปสู่การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็ง
10. สามารถใช้ความรู้ความสามารถของตนเองในการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์และสามารถน่า
ประสบการณ์จริงไปเผยแพร่/ถ่ายทอดให้กับคนในชุมชนและนอกชุมชนได้
11. สามารถนยสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ที่แสดงถึงการประยุกต์ใช้จากประสบการณ์จริงแก่บุคคล ทั้ง
ภายในและภายนอกชุมชน และสามารถเพิ่มผลงานที่มีทรัพยากรที่อยู่ในชุมชนใช้เป็นทุนทางสังคมอย่างเต็มที่ได้รับ
การยกย่องว่าเป็นประโยชน์จริง
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
12. สามารถพึ่งตนเองได้ในทางเศรษฐกิจไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว สามารถดูแลและรับผิดชอบต่อตนเองและ
ครอบครัวได้อย่างเหมาะสมตามสภาพ
13. สามารถดูแลและรับผิดชอบต่อตนเองและครอบครัวได้อย่างเหมาะสม ตามสภาพความเป็นอยู่ ใช้เวลา
ตามล่าดับความส่าคัญของชีวิตในด้านต่าง ๆ ทั้งส่วนตัว การงาน การพัฒนาตนเองเพื่อสาธารณประโยชน์
คุณลักษณะของบุคคล
มีความประพฤติ ส่วนตัวและการปฏิบัติตน เป็นผู้มีความประพฤติดียึดมั่นในคุณธรรมของศาสนา ไม่หมกมุ่น
อบายมุข ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีของประชาชน โดยการเป็นผู้น่าและมีส่วนร่วมกับราษฎร ชุมชนร่วมกิจกรรม
ทางศาสนาและประเพณี วัฒนธรรม ในวันส่าคัญต่างๆ โดยมีการประสานการท่างานโรงเรียนกับองค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น เพื่อเป็นการบูรณาการร่วมกัน การพัฒนาด้านคุณสมบัติส่วนตัว ได้แก่ การช่วยเสริมบุคลิกภาพที่ดีส่งเสริมให้
สามารถ ปฏิบัติงานร่วมกับบุคคลอื่น ได้อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพมีมนุษย์สัมพันธ์ในการท่างานด้านศีลธรรม
คุณธรรมและจริยธรรม ได้แก่ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
การประพฤติปฏิบัติตน
1. การครองตน
การพึ่งตนเอง ขยันมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบในงานหน้าที่ ตั้งใจท่างานในหน้าที่ให้ได้รับ
ความส่าเร็จด้วยตนเอง อดทนไม่ย่อท้อต่อปัญหา อุปสรรค รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และผู้อื่น ใช้จ่ายตาม
ฐานะ ใช้ทรัพย์สินทางราชการเป็นประโยชน์และประหยัด เป็นผู้รักษาปฏิบัติตามระเบียบและกฎหมายที่ก่าหนดไว้
ประพฤติและปฏิบัติตน เป็นตัวอย่างแก่บุคคลทั่วไป เป็นผู้ตรงต่อเวลา ไม่ประพฤติชั่ว ไม่ลุ่มหลงอบายมุข มีความ
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ซื่อสัตย์ต่อตนเอง และผู้อื่น มีความเมตตากรุณา โอบอ้อมอารีต่อผู้อื่น มีความจงรักภักดี ต่อชาติ ศาสนา และ
พระมหากษัตริย์ สนับสนุนระบบประชาธิปไตยเข้าร่วมในศาสนกิจทางศาสนา เป็นพลเมืองดีเสียภาษีแก่รัฐ เข้าร่วม
พิธีในโอกาสส่าคัญอย่างสม่่าเสมอประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
2. การครองตน
เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดี ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีน้่าใจ ช่วยเหลือ และให้ความร่วมมือในการ
ปฏิบัติงาน ให้ความเห็น ปรึกษา และเสนอแนะงานที่ตนรับผิดชอบ มีความสามารถในการคิดและเสนอเหตุผล
มอบหมายงานในการปฏิบัติตามความรู้ ความสามารถ ให้บริการแก่ผู้มาติดต่องานด้วยความเสมอภาค แนะน่าสิ่งที่
เป็นประโยชน์ ช่วยเหลือ แนะน่าในสิ่งที่ดี รวมทั้งข้อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ด้วยความเต็มใจ และเสมอภาค
ต่อทุกคน มีอัธยาศัยดี เป็นกันเอง สุภาพต่อทุกคน ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการก่าหนด ตัดสิน
วินิจฉัย แก้ไขปัญหา โดยใช้เหตุผล ให้ความร่วมมือ และเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดขึ้น
3. การครองงาน
มีความตั้งใจปฏิบัติงานให้ได้ความส่าเร็จ สนใจและเอาใจใส่งานที่รับผิดชอบ ปฏิบัติงานในหน้าที่ความ
รับผิดชอบ และที่ได้รับมอบหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการน่าความรู้ที่มีอยู่ไปใช้ในการ
ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี มีความสามารถในการท่างานที่ยาก หรืองานใหม่ให้ส่าเร็จเป็นผลดี มีความขยันหมั่นเพียร
เสียสละ อุทิศเวลาให้แก่ราชการ ได้รับการยกย่องชมเชยในความส่าเร็จของงาน ด่าเนินงานเป็นไปตามความ
ต้องการของส่วนร่วม และประชาชน ร่วมมือ ช่วยเหลือ และประสานงานระหว่างราชการกับประชาชน
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
ด้านการบริหารงาน
1. สามารถอธิบายแนวโน้มสถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกของชุมชนตนเองได้อย่างมีหลักการและมี
เหตุผล
2. ใช้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน สามารถวางเป้าหมายและแผนการพัฒนาชุมชน ตนเองได้
ประยุกต์ใช้ขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร์มาก่าหนดทิศทางการพัฒนาภายในชุมชนได้อย่างเป็นระบบ
3. มีความสามารถในการวางแผนการท่างานอย่างเป็นระบบและสามารถก่าหนดแนวทางในการ
ด่าเนินงานขององค์กรได้
4. สามารถวิเคราะห์ความส่าคัญของปัญหาและจัดล่าดับความส่าคัญก่อนหลังได้เป็นอย่างดี และเลือก
แนวทางในการแก้ไขปัญหาโดยค่านึงถึงสาเหตุด้านข้อเท็จจริง ด้านอารมณ์และด้านผลประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้องใน
ลักษณะที่สนับสนุนหรือน่าไปสู่เป้าหมายที่ก่าหนดไว้ โดยประเมินถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามมา
5. สามารถเลือกแนวทางการแก้ไขปัญหาของชุมชนตนเองได้อย่างเหมาะสม และยุติธรรม และสามารถ
เลือกแนวทางการป้องกันปัญหาที่ยังไม่เกิดขึ้น ได้เป็นการล่วงหน้า โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ่ากัดให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด
6. มีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยความสุขุมและแนวทางที่ปฏิบัติ ก่าหนดวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการ
กับสาเหตุของปัญหาได้อย่างเหมาะสม
7. มีความสามารถในการพัฒนาทีมงานให้เข้มแข็ง
8. ประชาสัมพันธ์การด่าเนินงานด้านอาชีพในหมู่บ้าน ต่าบลของตนเองให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย
9. น่าข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เช่น ด้านการตลาดแจ้งให้กลุ่มอาชีพและประชาชนผู้สนใจได้ทราบเป็นประจ่า
สม่่าเสมอ
10. เป็นวิทยากรสาธิตการท่างานให้กลุ่มองค์กรต่าง ๆ ประชาชน ผู้สนใจได้ชมตลอดทุกขั้นตอนของ
กิจการอาชีพที่ท่าอยู่
11. ไม่ปัดความรับผิดชอบให้ผู้อื่นๆ เมื่อเกิดข้อผิดพลาด แสดงออกถึงการยอมรับข้อผิดพลาดในหน้าที่
ก่อน โดยไม่ต้องรอให้ผู้อื่นต่าหนิหรือจ่านนต่อหลักฐาน
ด้านการบริหารงาน
1. มีความสามารถในการวางแผนการท่างานอย่างเป็นระบบ
2. มีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยความสุขุมและแนวทางที่ปฏิบัติ
3. มีความสามารถในการพัฒนาทีมงานให้เข้มแข็ง
ผลงานด้านการครองงาน
1. การพัฒนาองค์กร ย่อมมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การพัฒนาองค์กรนั้นต้องมี
ผู้บริหาร ผู้น่าการพัฒนาเป็นหลัก วางแผนพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ มีการวางแผนอย่างเหมาะสมจัด
บรรยากาศในการท่างานให้เป็นไปด้วยความเหมาะสม เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพในการท่างานให้สูงขึ้น
อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี
2. ส่งเสริมการท่างานเป็นหมู่คณะ ด้วยการบริหารงาน การจัดการภายในองค์กร ให้ท่างานในรูปแบบ
คณะท่างาน กลุ่มงาน เพื่อให้เกิดการท่างานแบบประชาธิปไตย มีการปรึกษาหารือกัน มีความคิดที่หลากหลาย
และเกิดรูปแบบ ร่วมคิด ร่วมท่า ร่วมแก้ปัญหา
3. การมีความจริงใจและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี แสดงออกซึ่งความจริงใจในการท่างาน ดังนั้นจึงใช้หลักการ
ให้ความรัก ความจริงใจ และความไว้วางใจแก่ทุกคนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย
4. การประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดี อยู่ในกรอบระเบียบ วินัย แบบแผน จรรยาบรรณและมารยาท มีความ
ยึดมั่น ค่านึงถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจและยึด
มั่นในประเพณีวัฒนธรรมไทยเป็นแบบอย่างการด่าเนินชีวิต
หลักในการทางาน
1. จะต้องเป็นนักแก้ปัญหาจ่าเป็นจะต้องใช้การตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา
2. ใช้หลักธรรมในการบริหารงาน บริหารคน โดยการใช้ธรรมาธิปไตยในการบริหารงาน ซึ่งประกอบด้วย
พละ 4 ได้แก่
o ปัญญาพละ คือ การรู้ตน รู้คน รู้งาน
o วิระยะพละ คือ ก่าลังแห่งความเพียร
o อนวัชชพละ คือ ก่าลังงานที่ไม่มีโทษ หรือความสุจริต
o สังคมพละ คือ ก่าลังการสงเคราะห์หรือความมีมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งประกอบด้วยพรหมวิหาร 4
สังควัตถุ 4 อิทธิบาทม4
3. มีแนวคิดว่าการพัฒนามิใช่การผลิตวัตถุแต่เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางความรู้ทักษะ เจตคติ ทั้งใน
ตัวบุคคลและสังคม โดยมุ่งหมายให้ทุกคน มีชีวิตและสังคมที่ดีขึ้น
หลักการทางานให้บรรลุวัตถุประสงค์
มีความยุติธรรม
มีความเป็นอิสรภาพ
มีความเชื่อมั่นในการปฏิบัติงาน
ปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ
ประสบการณ์ในการทางาน
ผลงานในอดีต
1. ประพฤติและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งกาย วาจา ใจและอยู่ในศีลธรรมอันดีงามรักและเมตตา
ให้กับทุกคนโดยเอาใจใส่ให้ความช่วยเหลือ
2. ศึกษาค้นคว้าและแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและทันสมัยต่อเหตุการณ์
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว
สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว

More Related Content

Featured

How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
ThinkNow
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Kurio // The Social Media Age(ncy)
 

Featured (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

สพจ.ปทุมธานี : รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน หมู่ 6 ต.ลาดหลุมแก้ว

  • 1. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี รายงานสารสนเทศสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน (honest livelihood Village Report) ประจาปี 2561 บ้านคลองขวางบน หมู่ที่ 6 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ปีงบประมาณ 2561
  • 2. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้าน หมู่บ้านคลองขวางบน เดิมเป็นพื้นที่ป่า และเป็นที่ราบลุ่ม แต่ไม่มีคลองผ่านหมู่บ้าน แต่ผู้คนในละแวก ใกล้เคียงเข้ามาจับจองหักล้างถางพงเพื่อทานาข้าว ไม่มีถนนหนทางชาวนาได้แต่เดินเท้าเข้ามา ด้วยเหตุพื้นที่นา ดังกล่าวอยู่ไกลบ้านเรือน ชาวนาจึงมาหลังกระท่อมอยู่อาศัย นานเข้าก็ปลุกสร้างบ้าน ต่อมาชลประทานได้ทา คลองส่งน้าเพื่อให้มีการทานาปลูกข้าวนอกฤดูทานาปีได้ โดยทาคลองส่งน้าขวางทางไหลของน้าตามธรรมชาติ และอยู่ใกล้กับประตูระบายน้าของชลประทาน จึงเรียกคลองส่งน้าดังกล่าวว่า คลองขวางบน เมื่อมีบ้านเรือน เพิ่มมากขึ้นจึงแยกมาเป็นหมู่บ้านใหม่ ตั้งซื่อว่า บ้านคลองขวางบน และ เรียกชื่อนี้มาจนถึงปัจจุบัน มีพื้นที่ จานวน 1,086 ไร่ พื้นที่ทาการเกษตร 950 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อ ดังนี้ ทิศเหนือ จด หมู่ที่ 4 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ทิศใต้ จด หมู่ที่ 5 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ทิศตะวันออก จด หมู่ที่ 7 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ทิศตะวันตก จด หมู่ที่ 5 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี สภาพภูมิประเทศ สภาพพื้นที่โดยทั่วไปเป็นพื้นที่ราบลุ่มต่่า น้่าท่วมถึงด้านฝั่งตะวันตกของแม่น้่า เจ้าพระยา เป็นพื้นที่ที่มีล่าคลองไหลผ่าน จึงมีแหล่งน้่าสมบูรณ์เหมาะส่าหรับเป็นพื้นที่เกษตรกรรมเพาะปลูก ราษฎรส่วนใหญ่ตั้งบ้านเรือนอยู่สองฝั่งคลอง สภาพดินฟ้าอากาศ เป็นแบบมรสุม มี 3 ฤดู และอยู่ในเกณฑ์ปกติทั่วไป จ่านวนประชากรรวมทั้งสิ้น 688 คน แยกเป็น ชาย 348 คน หญิง 340 คน จ่านวนครัวเรือน 215 ครัวเรือน การประกอบอาชีพ ท่านา รับจ้าง ค้าขาย รับราชการ อาชีพอื่น ๆ กองทุนในรูปแบบสวัสดิการแก่สมาชิก ชุมชนหมู่บ้านคลองขวางบน มีสวัสดิการในหมู่บ้านที่แสดงถึงความเอื้ออาทรต่อกัน โดยจัดสวัสดิการ กองทุนหมู่บ้านส่วนมอบให้ผู้ด้วยโอกาส คนชรา คนพิการ เช่น มอบเงินค่ารักษาพยาบาลผู้ด้อยโอกาส, จัดบริการออกกาลังกายเล่นกีฬา, จัดตั้งชมรมผู้สูงอายุ จัดสวัสดิการ ดูแลสุขภาพ, กลุ่มออมวันละบาท, กลุ่ม ออมทรัพย์เพื่อการผลิต, กลุ่มออมทรัพย์ของกองทุนหมู่บ้าน ความเป็ นมา ข้อมูลทั่วไปของหมู่บ้าน
  • 3. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี การบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ และโครงสร้างคณะกรรมการและที่ปรึกษา ชุมชนบ้านคลองขวางบน เป็นชุมชนที่เข้มแข็งจากมี องค์ความรู้ และมีการ จัดการแบ่งปันความรู้ ข้อมูล และ ภูมิปัญญาของคนในชุมชนมีการนาความรู้สู่การปฏิบัติ เมื่อได้ผลก็นามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันเอง โดยรัฐบาลมี นโยบายการแก้ไขปัญหาความยากจน จากนั้นพัฒนาเป็นศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านคลองขวางบน ที่ให้ ชาวบ้านเข้ามารับการฝึกอบรมซึ่งวิทยากรในการให้ความรู้เป็นปราชญ์ชาวบ้านที่อยู่ในบ้านคลองขวางบน และจาก การทาแผนชุมชนให้ชุมชนได้รู้จกตนเองประกอบกับมีการรับนโยบายจากสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอในเรื่องศูนย์ เรียนรู้ชุมชนซึ่งชุมชนมีการจัดเก็บข้อมูลค้นหาภูมิปัญญา จึงมีการแยกย่อยออกมาจัดเป็นจุดเรียนรู้ 6 เรื่อง และมี ผู้รับผิดชอบในแต่ละเรื่องอย่างชัดเจนเกิดผล ผลจากการเรียนรู้ มีการจัดเก็บ บันทึกความรู้นั้นเป็นคลังความรู้ของ ชุมชนการบริหารจัดการ คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน ประกอบด้วย 1. นายสารวย เกาะแก้ว ประธาน 2. นางสาวธนพร โพธิ์มั่น รองประธาน 3. นางประชิต รอดพล รองประธาน 4. นางสาวอนันตา แสงพายับ เหรัญญิก 5. นางสมปอง ก้านทอง เลขานุการ 6. นางสาวภัชราภรณ์ สิทธิคา ประชาสัมพันธ์ 7. นางสารภี ดอนใหญ่ กรรมการ 8. นางศศิธร สวนทรัพย์ กรรมการ 9. นายถวิล เฮงประเสริฐ กรรมการ 10. นายประทีป ฤทธิกุล กรรมการ 11. นางสุมาลี หน่าหน่าย กรรมการ 12. นางลัดดา บางภูมิ กรรมการ ระเบียบการบริหารศูนย์ 1. เวลาใช้บริการศูนย์ จะเปิดทาการ เวลา 08.30-16.30 น ไม่เว้นวันหยุดราชการ หากมีความ จาเป็นต้องขยายเวลาให้บริการต้องได้รับอนุญาตจากประธานศูนย์การเรียนรู้ 2. ให้ประธานศูนย์เรียนรู้ แต่งตั้งคณะกรรมการอย่างน้อย 2 คน มาให้บริการผู้มาใช้ประโยชน์จาก ศูนย์เรียนรู้ชุมชนทุกวัน 3. การใช้บริการศูนย์เรียนรู้ไม่เสียค่าบริการแต่อย่างใด ยกเว้นกรณีมีการศึกษาดูงานที่ต้องมีการ บรรยายสรุปจะต้องเสียค่าธรรมเนียมครั้งละ 1,000 บาท หลังจากการเรียนรู้จาก ศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบแล้ว ทางศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน ได้ นาไปสู่กระบวนการพัฒนาตนเอง ด้วยการจัดการองค์ความรู้ในชุมชนให้เป็นระบบแล้ว ก็นาไปสู่การปรับปรุง และพัฒนาแหล่งเรียนรู้
  • 4. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ยึดมั่นในหลักการประชาธิปไตย ได้ส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ให้ราษฎรในหมู่บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ และเข้ามามีส่วนร่วมในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข เช่น รณรงค์ให้ราษฎรมาใช้สิทธิ์เลือกตั้งต่าง ๆ เช่น สมาชิกสภาท้องถิ่น สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ได้ประชุมและชี้แจงนโยบายในการเลือกตั้ง ให้เกิดความตื่นตัวในการไปทาหน้าที่เลือกตั้ง ตลอดจน ประชาสัมพันธ์ แนะนาเกี่ยวการวิธีการลงคะแนน และวิธีการเลือกตั้ง ปฏิบัติหน้าที่ในการตรวจสอบบัญชี รายชื่อผู้มีสิทธิ์เลือกตั้งในหมู่บ้าน ตาบล หากพบว่าผู้ใดเป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งแต่ไม่มีชื่อ ในบัญชีรายชื่อก็แนะนา ให้ไปขอเพิ่มชื่อ หากพบชื่อบุคคลที่ไม่มีสิทธิเลือกตั้งอยู่ในบัญชีรายชื่อ ก็แนะนาให้เจ้าบ้านไปขอถอนชื่อ ขณะเดียวกันก็ต้องดูและตรวจสอบว่ามีการย้ายบุคคลเข้ามาอยู่ในตาบลโดยมิชอบ เพื่อประโยชน์ในการ เลือกตั้งของผู้สมัครบางคนหรือไม่ แนะนาในการแจ้งเหตุที่ไม่อาจไปลงคะแนนเลือกตั้งได้ โดยได้ ประชาสัมพันธ์ทางเอกสารของสานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง ติดไว้ที่ศูนย์ข้อมูลหมู่บ้าน คุณธรรม/จริยธรรม - ดาเนินวิถีชีวิตตามขนมธรรมเนียมประเพณีไทยมีศาสนาพุทธเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ มีการรักษา สิ่งแวดล้อม และดาเนินชีวิตอย่างพอดี ใช้ชีวิตแบบพอเพียง มีเหตุผล มิภูมิคุ้มกัน ภายใต้เงื่อนไขความรู้คู่ คุณธรรม คนในชุมชนได้มีความดีที่ต้องสร้างให้เกิดขึ้นในตน ซื่อสัตย์ สุจริต ขยันหมั่นเพียร ช่วยเหลือเกื้อกูล และแบ่งปันไม่เบียดเบียนผู้อื่น ต้องแสดงความดีต่อผู้อื่น เสียสละเพื่อส่วนร่วมไม่ยึดติดกับอบายมุขต่าง ๆ มีการดาเนินงานในรูปแบบวิสาหกิจชุมชนหรือกลุ่มที่มีการดาเนินงานในลักษณะเดียวกับรูปแบบ วิสาหกิจชุมชน - มีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพ เพื่อส่งเสริมความรู้และฝึกอาชีพให้กลุ่ม/องค์กรในหมู่บ้าน โดยใช้เวลาว่างให้เกิด ประโยชน์ และเป็นการสนับสนุนพัฒนาให้เกิดความเข้มแข็งเป็นกาลังสาคัญในการพัฒนาท้องถิ่น ผลิตภัณฑ์ชุมชนรายได้/สภาพเศรษฐกิจ 1 อาชีพหลักของครัวเรือน (1 ) อาชีพ ทานา จานวน..........35...........ครัวเรือน (2 ) อาชีพ ทาไร่ จานวน............8.........ครัวเรือน (3 ) อาชีพ รับจ้าง จานวน.........43........ครัวเรือน (4 ) อาชีพ ค้าขาย จานวน...........26……ครัวเรือน (5 ) อาชีพอื่น ๆ จานวน...........23……ครัวเรือน การประกอบอาชีพและการมีรายได้
  • 5. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี 2 อาชีพเสริมหรืออาชีพรอง (1 ) อาชีพ เลี้ยงปลา จานวน............5.........ครัวเรือน (2 ) อาชีพ รับจ้าง จานวน............43.........ครัวเรือน หมู่บ้านมีรายได้ 12,234,450 บาท/ปี รายจ่าย 8,098,235.บาท/ปี มีหนี้สิน.345,656 .บาท/ปี รายได้เฉลี่ยของประชากร (ตามเกณฑ์ จปฐ. ปี 2560) จานวน.......... 70,163,93 …. บาท/ปี ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง 38,000 บาท / คน / ปี ) จานวน.......-..........ครัวเรือน องค์กรต่าง ๆ ที่มีในหมู่บ้าน จานวนกลุ่มกิจกรรม/อาชีพ มีจานวน .........8...........กลุ่ม ดังนี้ 1. กลุ่มน้าพริกตามือ 2. กลุ่มอาชีพทาปุ๋ยหมักชีวภาพ 3. กลุ่มแปรรูปไม้ไผ่ 4. กลุ่มทาขนมไทย 5. กลุ่มไข่อินทรีย์ 6. กลุ่มแปรรูปเห็ด 7. กลุ่มดินถุง 8. กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต คณะทางานของหมู่บ้าน ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้าน และคนในชุมชน
  • 6. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี แหล่งท่องเที่ยวและการบริการ วัดบัวขวัญ เป็นวัดเก่าแก่ของอ่าเภอลาดหลุมแก้ว ที่วัดนี้มีพระพุทธรูปทองส่าริด ปางบ่าเพ็ญทุกข กิริยา ซึ่งสร้างขึ้นสมัยรัชกาลที่ ๕ พร้อมกับ พระพุทธรูปตามระเบียงวัดเบญจมบพิตร นอกจากนี้ยังมีรอยพระ พุทธบาท จ่าลอง ซึ่งจ่าลองมาจากวัดพระพุทธบาท จังหวัดสระบุรีและพลับพลาที่ประทับแรกนาขวัญ สมัย รัชกาลที่ ๖ เดิมเรียกว่า “ศาลาแดง” ตั้งอยู่ที่วังพญาไท ในกรุงเทพฯ การเดินทาง ไปตามทางหลวงหมายเลข ๓๔๑ (ปทุมธานี -ลาดหลุมแก้ว) เลี้ยวซ้ายที่หลักกิโลเมตรที่ ๒๑ – ๒๒ ไปอีก ๕ กิโลเมตร
  • 7. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี วัดเจดีย์หอย ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ต่าบลบ่อเงิน บริเวณวัดมีการขุดพบซาก หอยนางรมยักษ์อายุนับล้านปี จ่านวนมาก หลวงพ่อทองกลึงจึงน่าซากหอยโบราณ มาก่อเป็นเจดีย์ขึ้นที่ด้านหน้าทางเข้าและในวัด นอกจากนี้ยังมี พิพิธภัณฑ์รวบรวมพระพุทธรูปและศิลปวัตถุ โบราณวัตถุ ข้าวของเครื่องใช้ เก่าๆ จ่านวนมาก เช่น ตุ่มสามโคก ถ้วยชามดินเผา ไม้แกะสลัก เครื่องคิดเลข เป็นต้น ในบริเวณวัดมีสวนสมุนไพร บ่อเลี้ยงเต่า และบ่อปลา ส่าหรับให้นักท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจกับการให้อาหารสัตว์เหล่านี้ วัดลามหาเมฆ ตั้งอยู่ที่บ้านล่ามหาเมฆ หมู่ ๕ ต่าบลบ่อเงิน ห่างจากตัวจังหวัดตามเส้นทางสาย ปทุมธานีบางเลน ประมาณ ๑๔ กิโลเมตร สิ่งที่น่าสนใจคือ บริเวณบึงน้่าไหลของวัดมีนกมากมายหลายชนิด อาศัย สร้างรังฟักไข่ตามธรรมชาติจ่านวนมาก ได้แก่ นกกระยางขาว นกกระสา นกกาน้่าและนกชนิดอื่นๆ ตลาดร้อยปีระแหง ตั้งอยู่ที่ชายคลองระแหง ติดกับคลองพระอุดม ต่าบล ระแหง ทางอ่าเภอลาดหลุม แก้วได้ร่วมกับเทศบาลต่าบลระแหง และชาวตลาดระแหงอนุรักษ์ตลาดเก่าที่ยังรักษาชุมชนเดิมไว้ โดยจัดเป็น ตลาดน้่าเหมือนในอดีตเพื่อให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ของจังหวัดปทุมธานีในอดีตผู้คนจ่านวนมากต้อง
  • 8. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี สัญจรกันทางเรือและทางรถไฟ โดยมีทางรถไฟสายแรก คือ สายตลาดระแหง – บางบัวทอง สิ้นสุดเส้นทางที่ โรงเรียนวรพงษ์ หมู่ ๔ ต่าบลระแหง ต่อมาการคมนาคมเจริญขึ้น มีถนนผ่านหน้าอ่าเภอลาดหลุมแก้ว ผู้คนหัน มาสัญจรทางรถยนต์เพิ่มขึ้นกิจกรรมรถไฟ จึงล้มเลิกไป แต่ยังคงเหลือตลาดไว้ให้เป็นอนุสรณ์อยู่จนทุกวันนี้ ตลาดสองฝั่งคลองปลูกสร้างด้วยไม้ เป็นห้องแถวยาวติดต่อกันจ่าหน่ายสินค้าทุกวันเสาร์และวันอาทิตย์ เช่น ขนมพื้นบ้าน ขนมไทยโบราณ ผลิตผลทางการเกษตร ในตลาดมีร้านขายอุปกรณ์จับสัตว์น้่าอายุกว่า ๙๐ ปี ร้านขายยาจีนและยาแผนโบราณ ร้านตัดผมรุ่นคุณปู่ ร้านขายอุปกรณ์การเกษตรซึ่งมีทั้งเคียวเกี่ยวข้าว จอบ เสียม ค้อน ตะปู เครื่องใช้ในครัวเรือน ปุ๋ยหมัก หม้อดินเผาหุ้งข้าว ร้านอาหารขึ้นชื่อ คือ ร้านแปโภชนา ซึ่งเป็น ร้านเก่าแก่ ขายมาเกือบ ๗๐ ปีแล้ว นอกจากนี้ที่บ้านของนายเกียรติคุณ สุทธาภิรมย์ นายกเทศมนตรีต่าบล ระแหง ยังจัดท่าเป็นพิพิธภัณฑ์แสดงข้าวของเครื่องใช้ในสมัยโบราณ บริเวณคลองระแหงหน้าลานวัดบัวแก้ว เกษรซึ่งอยู่ติดกับตลาดจัดเป็นสถานที่เลี้ยงปลา ศาลาริมน้่าข้างห้องสมุดเป็นท่าเรือรับ – ส่งนักท่องเที่ยว ตั้งแต่ สะพานคลองระแหงจะท่าทางเดินเชื่อมต่อกันระหว่างลานวัดกับตลาด โดยยังอนุรักษ์ชุมชนดั้งเดิมไว้ตั้งแต่รุ่น ทวด จนได้รับรางวัลจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เปิดให้เข้าชมโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ผู้สนใจสามารถเดินทางมาชมตลาดระแหงได้ทุกวัน (ชาวบ้านจะเปิดร้านสินค้าส่าหรับนักท่องเที่ยวกันในวัน เสาร์และอาทิตย์ ติดต่อ เทศบาลต่าบลระแหง) โทร. ๐ ๒๕๙๙ ๑๖๐๖
  • 9. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี เทศกาล ภูมิปัญญาท้องถิ่น การค้นหาและใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในการสร้างคุณค่า - ชุมชนมีการสืบทอดวัฒนธรรมแต่โบราณได้อนุรักษ์เพื่อสืบต่อให้คนรุ่นหลัง การละเล่นต่าง ๆ
  • 10. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ส่วนที่ 2 การดาเนินงานสัมมาชีพ ปี 2561 แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลทีมวิทยากรสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน บ้านคลองขวางบน หมู่ที่ 6 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ที่ ชื่อ – สกุล บ้านเลขที่ อายุ (ปี) เบอร์โทรศัพท์ อาชีพหลัก อาชีพที่ปราชญ์มีความ เชี่ยวชาญ/ประสบ ความสาเร็จ (ระบุอาชีพ) ประเภทอาชีพ (ระบุเลข) หมายเหตุ 1 นางประชิด รอดพล 50 58 087-904-9006 เกษตรกร น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/ เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป 24 2 นางสาวธนพร โพธิ์มั่น 40 58 061-590-7638 เกษตรกร น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/ เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป 24 3 นางสาวภัชราภรณ์ สิทธิค่า 13/1 28 083-854-0599 เกษตรกร น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/ เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป 24 4 นางสาวสมปอง ก้านทอง 40/1 56 083-548-6500 เกษตรกร น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/ เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป 24 5 นางสารภี ดวนใหญ่ 2 64 - เกษตรกร น้่าพริกต่ามือ/ แปรรูปเห็ด/ เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป 24
  • 11. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชน บ้านคลองขวางบน หมู่ที่ 6 ตาบลลาดหลุมแก้ว อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี จานวนหมู่บ้านละ 26 ครัวเรือน (ครัวเรือนละ 1 คน) ที่ ชื่อ - สกุล บ้านเลขที่ อายุ (ปี) อาชีพหลัก รายได้เฉลี่ย (คน) จปฐ. 2561 จานวนสมาชิก ในครัวเรือน (คน) อาชีพที่อบรม ประเภทอาชีพที่อบรม (ระบุเลข) หมายเหตุ 1 นายเอก หนูหน่าย 40/2 37 รับจ้าง 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 2 นายวุฒิพงษ์ โพธิ์มั่น 40/1 34 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 3 น.ส.ปานรวี สวนทรัพย์ 75/2 22 นักศึกษา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 4 น.ส.ดารดาวรรณ ศรีม่วง 7 50 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 5 นายอนุวัติ แสงพยับ 50 32 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 6 น.ส.เจียม ชูพุทธพงษ์ 13/1 50 ท่านา 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 7 นายถวิล เฮงประเสริฐ 1/1 71 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 8 นางมาริสา โพธิ์มั่น 40/3 59 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 9 น.ส.ปรางทิพย์ ฤทธิกุล 9/1 59 รับจ้าง 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 10 น.ส.สมปอง โพธิ์มั่น 32 56 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 11 น.ส.สอาจ ธูปแก้ว 36 51 ท่านา 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
  • 12. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ที่ ชื่อ - สกุล บ้านเลขที่ อายุ (ปี) อาชีพหลัก รายได้เฉลี่ย (คน) จปฐ. 2561 จานวนสมาชิก ในครัวเรือน (คน) อาชีพที่อบรม ประเภทอาชีพที่อบรม (ระบุเลข) หมายเหตุ 12 นายบุญเลิศ หนูหน่าย 8/3 55 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 13 นายธานี แสงพยับ 6/1 50 ท่านา 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 14 น.ส.บุญมา หนูหน่าย 83/4 61 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 15 น.ส.บุญส่ง จับบัง 75/5 72 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 16 นางศศิธร สวนทรัพย์ 75/2 58 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 17 นางส่าอาง ชูศรี 17 59 รับจ้าง 40,000 4 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 18 น.ส.สัมฤทธิ์ หนูหน่าย 8 59 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 19 น.ส.สังเวียน บัวเกา 41 57 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 20 น.ส.ประนอม ศรีมันตะ 8/1 52 ท่านา 40,000 4 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 21 น.ส.กัณฒิมา นุ่มนาค 34/2 30 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 22 นายเสน่ห์ โพธิ์มั่น 40/1 52 ท่านา 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 23 นายบุญเตือน ชูศรี 46/3 42 ท่านา 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 24 นายมานะ หนูหน่าย 8/2 51 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 25 นางสงาน โพธิ์มั่น 40 43 รับจ้าง 40,000 3 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24 26 พยนต์ เผือกยิ้ม 9 48 รับจ้าง 40,000 2 แปรรูปเก้าอี้ไม้ไผ่ 24
  • 13. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี แบบฟอร์มข้อมูลกลุ่มอาชีพที่จัดตั้งตามแนวทางสัมมาชีพชุมชน แบบฟอร์มทะเบียนข้อมูลกลุ่มอาชีพที่จัดตั้งขึ้นตามแนวทางสัมมาชีพชุมชน บ้านคลองขวางบน ม.6 ต.ลาดหลุมแก้ว อ.ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี จานวนกลุ่มอาชีพ 1 กลุ่ม ที่ ชื่อกลุ่ม ผลิตภัณฑ์กลุ่ม ที่ตั้งกลุ่ม ชื่อ – สกุล ประธานกลุ่ม เบอร์โทรศัพท์ ระบุอาชีพ/ผลิตภัณฑ์ตามกลุ่ม หมายเหตุ เลขที่ หมู่ที่ ตาบล อาเภอ รหัส ประเภทผลิตภัณฑ์ 1 กลุ่มเก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป 40 6 ลาดหลุมแก้ว ลาดหลุมแก้ว นางสาวธนพร โพธิ์มั่น 061-590-7638 24 แปรรูป: ของใช้ ประดับ ตกแต่ง
  • 14. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี แบบการประเมินครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง 1. ข้อมูลครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนตัวอย่าง ชื่อ นางสาวธนพร โพธิ์มั่น เพศ หญิง อายุ 58 ปี ที่อยู่ปัจจุบัน เลขที่ 40 หมู่ที่ 6 ตาบล ลาดหลุมแก้ว อาเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัด ปทุมธานี โทรศัพท์ 061-590-7638 อาชีพ เกษตรกร (ฟาร์มเห็ด) จานวนสมาชิกในครัวเรือน 6 คน 2. กลุ่ม/องค์ที่เป็นสมาชิก 1) สมาชิกกองทุนพัฒนาบทบาทสตรี 2) สมาชิกกองทุนหมู่บ้านและชุมเมืองบ้านคลองขวางบน ม.6 3) สมาชิกกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตบ้านคลองขวางบน ม.6 4) สมาชิกกลุ่มสัมมาชีพน้่าพริกต่ามือ/เก้าอี้ไม้ไผ่แปรรูป/แปรรูปเห็ด 5) สมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนฟาร์มเห็ด 6) สมาชิกกลุ่มดินปลูก 3. การดารงตาแหน่ง 1) ประธานกลุ่มสัมมาชีพน้่าพริกต่ามือ 2) คณะกรรมการพัฒนาสตรีระดับหมู่บ้าน 3) คณะกรรมการกองทุนพัฒนาบทบาทสตรีระดับต่าบล 4) ปราชญ์ชุมชน 5) ผู้น่าสัมมาชีพชุมชนระดับหมู่บ้าน 6) คณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน ด้านการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ระดับอาเภอ ระดับอาเภอ 1. มีสัมมาชีพ 1.1 ครัวเรือนประสบผลส่าเร็จในการประกอบ สัมมาชีพสามารถเป็นแบบอย่างได้ 1) ครัวเรือนสามารถเป็นที่ศึกษาดูงานให้กับครัวเรือนอื่นได้ 2) ครัวเรือนอื่นสามารถปฏิบัติได้ 3) ครัวเรือนประกอบอาชีพที่ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น 4) สามารถเป็นวิทยากรถ่ายทอดความรู้เกี่ยวกับอาชีพในชุมชนตนเอง และชุมชนอื่นได้  ผ่าน 4 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ
  • 15. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ด้านการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ระดับอาเภอ ระดับอาเภอ 1.2 มีการจัดท่าบัญชีครัวเรือน 1) ครัวเรือนมีการจัดท่าบัญชีครัวเรือนอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง 2) ครัวเรือนมีแผนการใช้จ่ายเงินครอบครัว 3) มีรายได้มากกว่ารายจ่าย  ผ่าน 3 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ 1.3 ครัวเรือนมีการออม 1) สมาชิกในครัวเรือนมีการฝากเงินไว้กับธนาคาร กลุ่มออมทรัพย์เพื่อ การผลิต หรือกลุ่มอื่นๆ ที่มีการรับฝากเงินกับสมาชิก  ผ่าน ไม่ผ่าน 2. มีความสัมพันธ์ที่ดี 2.1 สมาชิกในครัวเรือนมีวิถีชีวิตประชาธิปไตย และท่ากิจกรรมร่วมกันสม่่าเสมอ 1) สมาชิกในครอบครัวยอมรับความคิดเห็นซึ่งกันและกัน 2) สมาชิกในครอบครัวเข้าร่วมกิจกรรมในชุมชน กลุ่ม/องค์กร อย่าง สม่่าเสมอ อย่างน้อย 1 ครั้ง/กลุ่ม/ชุมชน ต่อ 1 เดือน 3) สมาชิกในครอบครัวใช้เวลาอยู่กับครอบครัวอย่างพร้อมหน้าเป็น ประจ่า 4) สมาชิกในครัวเรือนแบ่งงานในครอบครัวให้ทั้งหญิงและชายอย่าง เหมาะสม  ผ่าน 4 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ 2.2 สมาชิกในครัวเรือนไม่มีการใช้ความรุนแรง 1) สมาชิกในครัวเรือนแก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยเหตุด้วยผล 2) สมาชิกในครัวเรือนไม่มีการใช้ก่าลังท่าร้ายร่างกายและทุบตี  ผ่าน 2 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ 2.3 สมาชิกในครัวเรือนเป็นสมาชิกกลุ่มองค์กรใน ขุมชนอย่างน้อย 1 กลุ่ม/องค์กร เช่น กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต  ผ่าน ไม่ผ่าน 3. มีสภาพแวดล้อม เหมาะสม 3.1 มีป้ายครัวเรือนและจัดระเบียบบ้านให้สะอาด ถูกสุขลักษณะ 1) มีป้ายครัวเรือน 2) จัดระเบียบบ้านให้น่าอยู่/ท่าความสะอาดบ้านสม่่าเสมอ อย่างน้อย อาทิตย์ละ 1 ครั้ง 3) ครัวเรือนมีกิจกรรม 5ส อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง  ผ่าน 3 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ
  • 16. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ด้านการประเมิน เกณฑ์การประเมิน ตัวชี้วัด ผลการประเมิน ระดับอาเภอ ระดับอาเภอ 3.2 มีการบริหารจัดการขยะอย่างเหมาะสมไม่เป็น มลพิษต่อสิ่งแวดล้อม 1) ไม่เผาขยะ หญ้าแห้ง หรือตอซังข้าว 2) มีการแยกขยะในครัวเรือน 3) มีการน่าวัสดุที่ใช้แล้วกลับมาใช้ซ้่า 4. ลด/เลิกการใช้สารเคมี 5.มีการน่าขยะไปขาย เพื่อเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัว  ผ่าน 5 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ 3.3 มีส่วนร่วมในกิจกรรมอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมหรือ สาธารณประโยชน์ 1) ครัวเรือนร่วมกับกลุ่ม/องค์กร ชุมชน หมู่บ้านในการวางแผนอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม 2. มีการปลูกต้นไม้บริเวณบ้าน เช่นผักสวนครัวรั้วกินได้ หรือไม้กระถาง 3) รักษาความสะอาดสถานที่สาธารณะ เช่น ถนน ศาลาเอนกประสงค์ หมู่บ้าน เป็นต้น 4) ดูแลรักษาแหล่งน้่า ล่าคลองหรือที่สาธารณะ เช่น ไม่ทิ้งขยะลงใน แม่น้่าล่าคลอง  ผ่าน 4 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ 4. ไม่ติดยาเสพติด สมาชิกในครัวเรือนไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และ อบายมุขอื่นๆ 1) สมาชิกในครัวเรือนไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งผิดกฎหมาย เช่น การขายของ ผิดกฎหมาย 2) สมาชิกในครัวเรือนไม่เกี่ยวข้องกับยาเสพติด ทั้งการเป็นผู้เสพผู้ค้า 3) สมาชิกในครัวเรือนไม่เกี่ยวข้องกับการพนันในรูปแบบต่างๆ เช่นการ เล่นไพ่  ผ่าน 3 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ 5. ไม่มีหนี้นอกระบบ สมาชิกในครัวเรือนไม่มีการกู้ยืมเงินนอกระบบ และไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว 1) ครัวเรือนมีรายรับมากกว่ารายจ่าย 2) ครัวเรือนไม่มีการกู้ยืมเงินนอกระบบ  ผ่าน 2 ข้อ ไม่ผ่าน - ข้อ ผลการประเมินผ่านจานวน 5 ด้าน 32 ตัวชี้วัด ระดับอาเภอ (ลงชื่อ)..................................................................พัฒนาการอ่าเภอ (...........................................................) วันที่........เดือน................................. พ.ศ. .................
  • 18. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี  กลุ่มไข่ไก่อินทรีย์ => เป็นอีกหนึ่งครัวเรือนที่ปฏิบัติตามและประสบความส่าเร็จตามครัวเรือนตัวอย่างได้ ปัจจุบันเป็นกลุ่มที่ได้รับคัดเลือกให้เข้าสู่กลุ่มประชารัฐระดับอ่าเภอลาดหลุมแก้ว
  • 19. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี  ศูนย์การเรียนรู้บ้านคลองขวางบน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน ศูนย์เรียนรู้ชุมชน ด่าเนินการจัดตั้งโดยชุมชน ตั้งแต่ปี 2551 – ปัจจุบันโดยมีศูนย์เรียนรู้ชุมชน ที่อยู่ใน ความรับผิดชอบของกรมการพัฒนาชุมชน จ่านวน 904 แห่ง มีคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชนที่ประชาชนใน หมู่บ้าน/ชุมชนเป็นผู้คัดเลือกเป็นผู้บริหารจัดการ ซึ่งมีเป้าหมายเพื่อใช้เป็นเครื่องมือส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ ของประชาชนในชุมชน เป็นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองและชุมชน เป็นแหล่งส่งเสริมการ เรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนที่สมดุลทั้ง 4 ด้าน 1. เรียนเพื่อให้มีความรู้ 2. เรียนเพื่อให้เอาไปท่าเป็น 3. เรียนเพื่อให้ใช้ชีวิตร่วมกับคนอื่น 4. เรียนเพื่อให้มีความเป็นคน กรมการพัฒนาชุมชน จึงจัดท่าหลักเกณฑ์การจัดระดับศูนย์เรียนรู้ชุมชน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการ ก่าหนดแผนการพัฒนาการบริหารจัดการศูนย์เรียนรู้ชุมชน ให้มีศักยภาพ เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและชุมชน และเป็นที่ยอมรับของหน่วยงานภาคีต่างๆทั้งภาครัฐและเอกชน ต่อไป วัตถุประสงค์ เพื่อใช้เกณฑ์การประเมิน เป็นเครื่องมือในการจัดระดับศูนย์เรียนรู้ชุมชนก่าหนดแผนการด่าเนินงาน พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชน ข้อมูลทั่วไป ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน หมู่ที่ 6 ต่าบลลาดหลุมแก้ว อ่าเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี วันเดือนปีที่ก่อตั้งศูนย์เรียนรู้ชุมชน วันที่......-......เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2554 ชื่อประธานศูนย์เรียนรู้ชุมชนคนปัจจุบัน (นาย/นาง/นางสาว) นายส่ารวย เกาะแก้ว โทร 06-1590-07638 จ่านวนคณะกรรมการศูนย์เรียนรู้ชุมชน ........12 .......คน 1. นายส่ารวย เกาะแก้ว ประธาน 2. นางสาวธนพร โพธิ์มั่น รองประธาน 3. นางประชิต รอดพล รองประธาน 4. นางสาวอนันตา แสงพายับ เหรัญญิก 5. นางสมปอง ก้านทอง เลขานุการ 6. นางสาวภัชราภรณ์ สิทธิค่า ประชาสัมพันธ์ 7. นางสารภี ดอนใหญ่ กรรมการ 8. นางศศิธร สวนทรัพย์ กรรมการ
  • 20. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี 9. นายถวิล เฮงประเสริฐ กรรมการ 10.นายประทีป ฤทธิกุล กรรมการ 11.นางสุมาลี หน่าหน่าย กรรมการ 12.นางลัดดา บางภูมิ กรรมการ สรุปกระบวนการศูนย์เรียนบ้านคลองขวางบน 1. การเรียนรู้อดีต ซึ่งเป็นการสะท้อนภาพ 2. การเรียนรู้ปัจจุบัน ซึ่งเป็นการมองสภาพปัญหาโดยรวมที่มีอยู่ 3. การเรียนรู้อนาคต เป็นการแสดงความต้องการ/แผนปฏิบัติการ การก่อเกิดและพัฒนาการของศูนย์เรียนรู้บ้านคลองขวางบน การพัฒนาตนเองของชุมชน บนฐานการจัดการความรู้ที่มีในชุมชนอันมีสถานที่ที่เป็นศูนย์กลางการบริหาร ศูนย์เรียนรู้ ใช้ในการประชุม และเปลี่ยนเรียนรู้เป็นเอกเทศจัดแสดงแผนผัง/โครงสร้างการบริหาร แผนที่แสดงจุด เรียนรู้/ศูนย์เรียนรู้ย่อย สามารถให้บริการข้อมูลข่าวสาร ความรู้ แก่ผู้สนใจ มีการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มี ศูนย์เรียนรู้ย่อย หรือจุดเรียนรู้กระจายตัวท่ากิจกรรมทั่วพื้นที่ ทั้ง 7 กิจกรรมการเรียนรู้ประเภทของศูนย์เรียนรู้ ชุมชนบ้านขวางบน เกิดขึ้นจากความต้องการในการแก้ไขปัญหาความยากจนโดยมุ่งเน้นให้ชาวบ้านขวางบนช่วย ตนเองให้พ้นความยากจนด้วยภูมิปัญญาของคนในชุมชนและแสวงหาความรู้ ความร่วมมือจากภายนอกเพิ่มเติม โดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาตั้งแต่ต้น กระบวนการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยส่านักงานพัฒนาชุมชนอ่าเภอลาดหลุมแก้ว ได้มีการด่าเนินงาน อย่างต่อเนื่อง ทั้งกิจกรรมส่งเสริมอาชีพท่าเห็ด แปรรูปเห็ด มาตั้งแต่ปี 2554 การส่งเสริมพัฒนาผู้น่าชุมชน ฯลฯ ในพื้นที่บ้านขวางบน ศูนย์เรียนรู้ จึงเป็นอีกกิจกรรมหนึ่งที่ทางส่านักงานพัฒนาชุมชนอ่าเภอลาดหลุมแก้ว ได้มีการ พยายามส่งเสริมให้เกิดการจัดการความรู้ในชุมชนมาตั้งแต่ปี 2555 1) กิจกรรมการเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้มากกว่า 4 เวที โดยมีการพบปะกับผู้น่าชุมชน เพื่อรวมกันวิเคราะห์แนว ทางการจัดท่าศูนย์เรียนรู้และช่วยกันวิเคราะห์ถึงความส่าคัญของศูนย์เรียนรู้ชุมชน 2) กิจกรรมการศึกษาดูงาน
  • 21. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี หลังจากมีการทาความเข้าใจในการดาเนินงานศูนย์เรียนรู้ชุมชน พบว่า ผู้นาชุมชน มีความต้องการใน การศึกษาดูงานเพื่อการ นาองค์ความรู้ใหม่เข้ามาสู่การจัดการองค์ความรู้ ศูนย์การเรียนรู้ของชุมชน ทั้งนี้ คณะกรรมการ และผู้นาชุมชน บ้านคลองขวางบน ได้ พากันไปศึกษาข้อมูลและแลกเปลี่ยนความรู้กับ ศูนย์เรียนรู้ จังหวัดชลบุรี 3) กิจกรรมปรับปรุงและพัฒนาศูนย์เรียนรู้ หลังจากการเรียนรู้จาก ศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบแล้ว ทางศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านคลองขวางบน ได้นาไปสู่ กระบวนการพัฒนาตนเอง ด้วยการจัดการองค์ความรู้ในชุมชนให้เป็นระบบ แล้ว ก็นาไปสู่การปรับปรุงและพัฒนา แหล่งเรียนรู้ 4) กิจกรรมถอดองค์ความรู้ ในการจัดการองค์ความรู้พบว่ามีทั้งหมด 5 ฐานองค์ความรู้ที่มีการจัดท่าระบบองค์ความรู้ และมีวิทยากร ประจ่าฐานการเรียนรู้คอยให้ข้อมูลองค์วามรู้คือ ฐานการเรียนรู้ วิทยากรประจาฐานการเรียนรู้ 1. การท่าเห็ด 2. การท่าชีวภาพ 3. การท่าน้่าพริกต่ามือ 4. การท่าดินปลูกต้นไม้ 5. การกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต นางสาวธนพร โพธิ์มั่น นางสาวธนพร โพธิ์มั่น นางสมปอง ก้านทอง นางสาวธนพร โพธิ์มั่น นางสาวธนพร โพธิ์มั่น
  • 24. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี วัน/เดือน/ปี หรือระยะเวลา เริ่มดาเนินการตั้งแต่ปี 2557 สถานที่ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน หมู่6 ต่าบลลาดหลุมแก้ว  มีการจัดทาบัญชีครัวเรือน 2. มีความสัมพันธ์ที่ดี  ด้านสังคม-จิตใจ เวทีประชาคมหมู่บ้าน -ประชาคมแผนพัฒนาหมู่บ้าน – เวทีประชาธิปไตย
  • 25. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี การประชาคมหมู่บ้าน จัดทาแผนพัฒนาชุมชน การมีส่วนร่วมการพัฒนาหมู่บ้านของคนในหมู่บ้าน / ชุมชน  มีข้อปฏิบัติของหมู่บ้าน / ชุมชน มีการร่างกฎธรรมนูญหมู่บ้าน และทาประชาคมหมู่บ้าน ถือปฏิบัติร่วมกันประชาคมหมู่บ้านได้ดาเนินการจัด เวทีประชาคม เพื่อออกกฎข้อบังคับหมู่บ้าน วัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวปฏิบัติของสมาชิกครัวเรือนในหมู่บ้าน ใน ด้านต่างๆอาทิ เช่น ยาเสพติด การไม่เข้าร่วมพัฒนา และไม่เข้าร่วมกิจกรรม หมู่บ้านลักขโมย สัตว์เลี้ยง/พืชทาง การเกษตร หรือสิ่งของ ยิงปืน พ่นสารเคมี /เผาถ่านและเผาขยะ ก่อเหตุทะเลาะวิวาท ห้ามจับปลาใช้ไฟฟ้า/ แบตเตอรี่ ใช้ยาเบื่อ ห้ามเล่นการพนันทุกชนิด และห้ามจัดเลี้ยงสุรา ในงานฌาปนกิจศพ ซึ่งกฎหมู่บ้าน ได้กาหนด โทษปรับและลงโทษไว้ชัดเจน 3. มีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
  • 26. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี  การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ของหมู่บ้าน กิจกรรมการมีส่วนร่วมของครัวเรือนในหมู่บ้าน มีหลากหลาย อนึ่ง คณะกรรมการหมู่บ้าน(กม.) กาหนดการแบ่งงานของหมู่บ้าน จะมอบหมายงานแก่เขตต่างๆ ดาเนินการกิจกรรมที่ดาเนินการโดยการน้อมนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ แห่งราชวงศ์จักรี มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันของครัวเรือนในหมู่บ้าน ก่อเกิดการ พัฒนาที่ยั่งยืน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ในระดับหนึ่ง อาทิเช่น การทาป้ายเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ ปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ ๙ การพัฒนาหมู่บ้าน/สาธารณะประจาเดือน ทุกวันที่ ๑๕ ของเดือน การ พัฒนาคูคลอง การดาเนินงานของคณะกรรมการหมู่บ้าน ประจาเดือน เพื่อสอดส่องดูแล ตามโครงการคลองสวย น้าใส ของนายอาเภอลาดหลุมแก้ว คนปัจจุบัน 4. ไม่ติดยาเสพติด
  • 27. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี “คนในหมู่บ้าน ชุมชนปลอดอบายมุข” เป็นหมู่บ้านปลอดยาเสพติด มีกฎระเบียบ ข้อบังคับหมู่บ้าน กาหนดตาม ข้อที่ ๒.กฎระเบียบเรื่องยาเสพ ติด ถ้าผู้ใด ค้ายาเสพติด ๑ ครั้ง และผู้เสพยาเสพติด ๓ ครั้ง ถูกจับดาเนินคดี จะถูกตัดออกจากการเป็นสมาชิก ฌาปนกิจฯ และตัดความช่วยเหลือต่างๆ จากชุมชน วิธีและกิจกรรม ๑. มีการประชาคม เพื่อค้นหา คนในหมู่บ้าน/ชุมชนที่เป็น ผู้ค้ายาเสพติด และผู้เสพยาเสพติด ๒. คนในหมู่บ้าน/ชุมชนไม่ให้มี การเลี้ยง สุรา และบุรี ในงานฌาปนกิจศพ ๓. คนในหมู่บ้าน/ชุมชนไม่ให้มี การเล่นการพนัน ในหมู่บ้าน และในงานฌาปนกิจศพ ๔. คนในหมู่บ้าน/ชุมชน มีกิจกรรมงดเหล้าเข้าพรรษา 5. ไม่มีหนี้นอกระบบ  มีกิจกรรมลดรายจ่ายและสร้างรายได้ โดยครอบครัวและสมาชิกต้องรู้จักพึ่งตนเองโดยทากิจกรรมร่วมกัน ลดรายจ่าย เช่น ลด ละเลิกอบายมุข ไม่ ใช้จ่ายฟุ่มเฟือย ไม่สร้างหนี้ลดรายจ่าย/ลดต้นทุนการผลิต เช่น ผลิตปุ๋ยชีวภาพ ลดการใช้สารเคมีในการเกษตร ปลูก พืชผักสวนครัวและเลี้ยงสัตว์เล็กไว้บริโภค โดยยึดหลัก ปลูกทุกอย่างที่กิน/กินทุกอย่างที่ปลูกและใช้ทุกอย่างที่ทา/ทา ทุกอย่างที่ใช้ ปลูกพืชสมุนไพรเพื่อใช้รักษาโรคและรู้จักเก็บออม เป็นต้น - รณรงค์ให้มีพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง เช่น การปลูกพืชผักสวนครัว ผักปลอดสารพิษ การส่งเสริม อาชีพ มีการระดมทุนในการประกอบอาชีพ มีการประชุมร่วมกันทั้งเป็นทางการ และไม่เป็นทางการ - ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกษตรกรในหมู่บ้านดาเนินการตามแนวพระราชดาริเศรษฐกิจพอเพียงโดย แนะนาการปลูกผักสวนครัว เพื่อบริโภคและลดรายจ่ายในครัวเรือน  มีการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพหลักของหมู่บ้าน - ชุมชนบ้านคลองขวางบนเป็นชุมชนที่เข็มแข็งจะเห็นได้จากผู้นาชุมชนที่มีความเข็มแข็งสามารถรวมกลุ่ม ประชาชนให้มีการอยู่ร่วมกันด้วยความรักความสามัคคีมีความเอื้ออาทรในลักษณะสังคมเมืองและสังคมชนบท สามารถอยู่กันได้อย่างเอื้ออาทร ดังนี้ 1. กลุ่มแปรรูปเห็ดเป็นกลุ่มในหมู่บ้านได้รวมตัวกัน เช่น สามารถทารายได้ให้กับกลุ่มเป็นกอบเป็นกา 5,000 – 150,000 บาท ต่อเดือน 2. กลุ่มน้าพริกตามือ ที่ผลิตและจาหน่ายในหมู่บ้าน และจาหน่ายทั่วไป  มีกิจกรรมการออมที่หลากหลาย - ชุมชนบ้านคลองขวางบน ลักษณะเป็นกึ่งเมืองกึ่งชนบทประชาชนที่ทาการเกษตรดาเนินกิจกรรมการลด รายจ่ายในระดับครัวเรือนที่ทาให้ครัวเรือนประหยัดค่าใช้จ่าย และทาให้มีเงินออมมากขึ้น กิจกรรมลดต้นทุนการ ผลิตในหมู่บ้าน/ชุมชน ชาวบ้านที่ทาการเกษตร ได้ทากิจกรรมลดต้นทุนดังนี้ 1. มีการปลูกพืชผักสวนครัวไว้กินเองและไว้ให้เพื่อนบ้านที่ไม่ได้ปลูกมาขอไปรับประทาน และที่เหลือน่าไป จ่าหน่าย เช่น ข่า ตะไคร้ ถั่วฝักยาว กล้วยน้่าว้า กระถิน ชะอม
  • 28. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี 2. ได้ท่าปุ๋ยหมักใช้เอง โดยการน่ามูลสัตว์ ใบหญ้า มาผลิตท่าเชื้อแล้วโรยตามต้นไม้ โดยใช้ภูมิปัญญาของ คนในชุมชนเองไม่ใช้สารเคมี ยาฆ่าแมลง ใช้สมุนไพรทดแทนป้องกันแมลง เช่น ตะไคร้หอม ใบสะเดา ฝึกอบรมการ ท่าปุ๋ยชีวภาพใช้ส่าหรับพืชสวนแล้วน่าความรู้ที่ได้มาท่าปุ๋ยหมัก ปุ๋ยน้่าชีวภาพไว้ใช้กับพืชผักผลไม้ในสวนของ ตนเองมีการแปรรูปอาหารและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร เช่น มะม่วงกวน ส่วนที่ 3 รายงาน ภูมิสารสนเทศครัวเรือนสัมมาชีพชุมชนหมู่บ้าน Credit : ส่านักงานเกษตรอ่าเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี กลุ่มสัมมาชีพ ม.6 บ้านคลองขวางบน
  • 29. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี องค์ความรู้ปราชญ์สัมมาชีพ (KM) การจัดการองค์ความรู้การสร้างอาชีพทางเลือกให้กับคนในชุมชน ๑. ชื่อ - สกุล นางสาวธนพร โพธิ์มั่น วัน เดือน ปีเกิด 29 สิงหาคม 2503 อายุ 56 ปี ที่อยู่ (ที่ติดต่อสะดวก) บ้านเลขที่ 40 หมู่ที่ 6 ต่าบลลาดหลุมแก้ว อ่าเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี รหัสไปรษณีย์ 12140 เบอร์โทรศัพท์ (ที่ติดต่อสะดวก) 06-1590-07638 การประพฤติปฏิบัติตน ด้านการบริหารตนเอง 1. มีบุคลิกภาพดี แต่งกายถูกต้องตามกาลเทศะ ใช้ค่าพูดและการแสดงท่าทางให้เกียรติผู้อื่นที่มาติดต่อ และสามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้ดี โดยแสดงออกเป็นที่ยกย่องให้เกียรติผู้ที่มาติดต่อประสานงานด้วยความบริสุทธิ์ใจ อย่างเสมอต้นเสมอปลาย
  • 30. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี 2. เป็นผู้ที่มีความประพฤติเรียบร้อย ปฏิบัติตามท่านองครองธรรมตลอดเวลา 3. พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องให้มีความรอบรู้ ความสามารถ และเป็นคนที่มีเหตุผล 4. เสียสละ อุทิศตนโดยไม่หวังผลตอบแทน เช่น ไปประชุมทุกครั้ง และร่วมกิจกรรมต่าง ๆ 5. มีคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม ได้เข้าวัดฟังธรรม อยู่เป็นนิจ มีความวิริยะอุตสาหะในการ ประกอบอาชีพ เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาเป็นประจ่าทุกวันพระและปฏิบัติธรรมถือศีลห้า และสามารถถ่ายทอด ให้ผู้อื่นได้และแสดงตนเป็นแบบอย่างที่ดีตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี จนสามารถโน้มน้าวให้ผู้อื่นปฏิบัติ ตามด้วยความยกย่อง ศรัทธารวมถึงแสดงออกถึงความพยายามในการลด ละ เลิกอบายมุขประเภทต่าง ๆ ที่บั่น ทอนอุปนิสัยอันดีงามของตนเอง 6. เข้าร่วมกิจกรรมศาสนาประเพณีของชุมชนอย่างสม่่าเสมอและแสดงออกถึงการปฏิบัติถือศีลห้าโดยการ ลด ละ เลิกอบายมุขต่างๆ และร่วมในการคัดค้าน ปกป้องการกระท่าที่ขัดต่อหลักศาสนา คุณธรรมและวัฒนธรรม อันดีงามของสังคมโดยไม่เปลี่ยนจุดยืนถึงแม้จะมีผลประโยชน์เข้ามาเกี่ยวข้องก็ตาม 7. มีความคิดริเริ่มโดยน่าเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาปรับปรุงงานอยู่เสมอ 8. ให้ความรู้ต่อบุคคลทั่วไป เช่น เป็นวิทยากรในการฝึกอาชีพ
  • 31. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี 9. พัฒนาตนเองโดยการเข้ารับการฝึกอบรมตามโครงการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาศักยภาพเป็นประจ่าทุกปี เพื่อให้ได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบ กฎหมายและการน่าไปปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ต่อทางราชการ เพิ่มพูนประสิทธิภาพ สร้างจิตส่านึก แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างสมาชิก ผู้น่า ชุมชน น่าไปสู่การพัฒนาองค์กรให้เข้มแข็ง 10. สามารถใช้ความรู้ความสามารถของตนเองในการแก้ไขปัญหาตามสถานการณ์และสามารถน่า ประสบการณ์จริงไปเผยแพร่/ถ่ายทอดให้กับคนในชุมชนและนอกชุมชนได้ 11. สามารถนยสร้างและเผยแพร่องค์ความรู้ที่แสดงถึงการประยุกต์ใช้จากประสบการณ์จริงแก่บุคคล ทั้ง ภายในและภายนอกชุมชน และสามารถเพิ่มผลงานที่มีทรัพยากรที่อยู่ในชุมชนใช้เป็นทุนทางสังคมอย่างเต็มที่ได้รับ การยกย่องว่าเป็นประโยชน์จริง
  • 32. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี 12. สามารถพึ่งตนเองได้ในทางเศรษฐกิจไม่มีหนี้สินล้นพ้นตัว สามารถดูแลและรับผิดชอบต่อตนเองและ ครอบครัวได้อย่างเหมาะสมตามสภาพ 13. สามารถดูแลและรับผิดชอบต่อตนเองและครอบครัวได้อย่างเหมาะสม ตามสภาพความเป็นอยู่ ใช้เวลา ตามล่าดับความส่าคัญของชีวิตในด้านต่าง ๆ ทั้งส่วนตัว การงาน การพัฒนาตนเองเพื่อสาธารณประโยชน์ คุณลักษณะของบุคคล มีความประพฤติ ส่วนตัวและการปฏิบัติตน เป็นผู้มีความประพฤติดียึดมั่นในคุณธรรมของศาสนา ไม่หมกมุ่น อบายมุข ประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดีของประชาชน โดยการเป็นผู้น่าและมีส่วนร่วมกับราษฎร ชุมชนร่วมกิจกรรม ทางศาสนาและประเพณี วัฒนธรรม ในวันส่าคัญต่างๆ โดยมีการประสานการท่างานโรงเรียนกับองค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น เพื่อเป็นการบูรณาการร่วมกัน การพัฒนาด้านคุณสมบัติส่วนตัว ได้แก่ การช่วยเสริมบุคลิกภาพที่ดีส่งเสริมให้ สามารถ ปฏิบัติงานร่วมกับบุคคลอื่น ได้อย่างราบรื่นและมีประสิทธิภาพมีมนุษย์สัมพันธ์ในการท่างานด้านศีลธรรม คุณธรรมและจริยธรรม ได้แก่ การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน การประพฤติปฏิบัติตน 1. การครองตน การพึ่งตนเอง ขยันมั่นเพียร และมีความรับผิดชอบในงานหน้าที่ ตั้งใจท่างานในหน้าที่ให้ได้รับ ความส่าเร็จด้วยตนเอง อดทนไม่ย่อท้อต่อปัญหา อุปสรรค รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว และผู้อื่น ใช้จ่ายตาม ฐานะ ใช้ทรัพย์สินทางราชการเป็นประโยชน์และประหยัด เป็นผู้รักษาปฏิบัติตามระเบียบและกฎหมายที่ก่าหนดไว้ ประพฤติและปฏิบัติตน เป็นตัวอย่างแก่บุคคลทั่วไป เป็นผู้ตรงต่อเวลา ไม่ประพฤติชั่ว ไม่ลุ่มหลงอบายมุข มีความ
  • 33. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ซื่อสัตย์ต่อตนเอง และผู้อื่น มีความเมตตากรุณา โอบอ้อมอารีต่อผู้อื่น มีความจงรักภักดี ต่อชาติ ศาสนา และ พระมหากษัตริย์ สนับสนุนระบบประชาธิปไตยเข้าร่วมในศาสนกิจทางศาสนา เป็นพลเมืองดีเสียภาษีแก่รัฐ เข้าร่วม พิธีในโอกาสส่าคัญอย่างสม่่าเสมอประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี 2. การครองตน เป็นผู้มีมนุษยสัมพันธ์ดี ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีน้่าใจ ช่วยเหลือ และให้ความร่วมมือในการ ปฏิบัติงาน ให้ความเห็น ปรึกษา และเสนอแนะงานที่ตนรับผิดชอบ มีความสามารถในการคิดและเสนอเหตุผล มอบหมายงานในการปฏิบัติตามความรู้ ความสามารถ ให้บริการแก่ผู้มาติดต่องานด้วยความเสมอภาค แนะน่าสิ่งที่ เป็นประโยชน์ ช่วยเหลือ แนะน่าในสิ่งที่ดี รวมทั้งข้อมูล ข่าวสารที่เป็นประโยชน์ ด้วยความเต็มใจ และเสมอภาค ต่อทุกคน มีอัธยาศัยดี เป็นกันเอง สุภาพต่อทุกคน ประพฤติปฏิบัติตามระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการก่าหนด ตัดสิน วินิจฉัย แก้ไขปัญหา โดยใช้เหตุผล ให้ความร่วมมือ และเข้าร่วมกิจกรรมที่จัดขึ้น 3. การครองงาน มีความตั้งใจปฏิบัติงานให้ได้ความส่าเร็จ สนใจและเอาใจใส่งานที่รับผิดชอบ ปฏิบัติงานในหน้าที่ความ รับผิดชอบ และที่ได้รับมอบหมาย อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการน่าความรู้ที่มีอยู่ไปใช้ในการ ปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี มีความสามารถในการท่างานที่ยาก หรืองานใหม่ให้ส่าเร็จเป็นผลดี มีความขยันหมั่นเพียร เสียสละ อุทิศเวลาให้แก่ราชการ ได้รับการยกย่องชมเชยในความส่าเร็จของงาน ด่าเนินงานเป็นไปตามความ ต้องการของส่วนร่วม และประชาชน ร่วมมือ ช่วยเหลือ และประสานงานระหว่างราชการกับประชาชน
  • 34. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี ด้านการบริหารงาน 1. สามารถอธิบายแนวโน้มสถานการณ์ทั้งภายในและภายนอกของชุมชนตนเองได้อย่างมีหลักการและมี เหตุผล 2. ใช้หลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชน สามารถวางเป้าหมายและแผนการพัฒนาชุมชน ตนเองได้ ประยุกต์ใช้ขั้นตอนการวางแผนยุทธศาสตร์มาก่าหนดทิศทางการพัฒนาภายในชุมชนได้อย่างเป็นระบบ 3. มีความสามารถในการวางแผนการท่างานอย่างเป็นระบบและสามารถก่าหนดแนวทางในการ ด่าเนินงานขององค์กรได้ 4. สามารถวิเคราะห์ความส่าคัญของปัญหาและจัดล่าดับความส่าคัญก่อนหลังได้เป็นอย่างดี และเลือก แนวทางในการแก้ไขปัญหาโดยค่านึงถึงสาเหตุด้านข้อเท็จจริง ด้านอารมณ์และด้านผลประโยชน์ของผู้เกี่ยวข้องใน ลักษณะที่สนับสนุนหรือน่าไปสู่เป้าหมายที่ก่าหนดไว้ โดยประเมินถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นตามมา 5. สามารถเลือกแนวทางการแก้ไขปัญหาของชุมชนตนเองได้อย่างเหมาะสม และยุติธรรม และสามารถ เลือกแนวทางการป้องกันปัญหาที่ยังไม่เกิดขึ้น ได้เป็นการล่วงหน้า โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจ่ากัดให้เกิด ประโยชน์สูงสุด 6. มีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยความสุขุมและแนวทางที่ปฏิบัติ ก่าหนดวิธีการที่เหมาะสมในการจัดการ กับสาเหตุของปัญหาได้อย่างเหมาะสม 7. มีความสามารถในการพัฒนาทีมงานให้เข้มแข็ง 8. ประชาสัมพันธ์การด่าเนินงานด้านอาชีพในหมู่บ้าน ต่าบลของตนเองให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย 9. น่าข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เช่น ด้านการตลาดแจ้งให้กลุ่มอาชีพและประชาชนผู้สนใจได้ทราบเป็นประจ่า สม่่าเสมอ 10. เป็นวิทยากรสาธิตการท่างานให้กลุ่มองค์กรต่าง ๆ ประชาชน ผู้สนใจได้ชมตลอดทุกขั้นตอนของ กิจการอาชีพที่ท่าอยู่ 11. ไม่ปัดความรับผิดชอบให้ผู้อื่นๆ เมื่อเกิดข้อผิดพลาด แสดงออกถึงการยอมรับข้อผิดพลาดในหน้าที่ ก่อน โดยไม่ต้องรอให้ผู้อื่นต่าหนิหรือจ่านนต่อหลักฐาน ด้านการบริหารงาน 1. มีความสามารถในการวางแผนการท่างานอย่างเป็นระบบ 2. มีการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นด้วยความสุขุมและแนวทางที่ปฏิบัติ 3. มีความสามารถในการพัฒนาทีมงานให้เข้มแข็ง ผลงานด้านการครองงาน 1. การพัฒนาองค์กร ย่อมมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา การพัฒนาองค์กรนั้นต้องมี ผู้บริหาร ผู้น่าการพัฒนาเป็นหลัก วางแผนพัฒนาองค์กรอย่างต่อเนื่องเป็นระบบ มีการวางแผนอย่างเหมาะสมจัด บรรยากาศในการท่างานให้เป็นไปด้วยความเหมาะสม เพื่อส่งเสริมประสิทธิภาพในการท่างานให้สูงขึ้น
  • 35. อำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี 2. ส่งเสริมการท่างานเป็นหมู่คณะ ด้วยการบริหารงาน การจัดการภายในองค์กร ให้ท่างานในรูปแบบ คณะท่างาน กลุ่มงาน เพื่อให้เกิดการท่างานแบบประชาธิปไตย มีการปรึกษาหารือกัน มีความคิดที่หลากหลาย และเกิดรูปแบบ ร่วมคิด ร่วมท่า ร่วมแก้ปัญหา 3. การมีความจริงใจและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี แสดงออกซึ่งความจริงใจในการท่างาน ดังนั้นจึงใช้หลักการ ให้ความรัก ความจริงใจ และความไว้วางใจแก่ทุกคนอย่างเสมอต้นเสมอปลาย 4. การประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดี อยู่ในกรอบระเบียบ วินัย แบบแผน จรรยาบรรณและมารยาท มีความ ยึดมั่น ค่านึงถึงการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขด้วยความบริสุทธิ์ใจและยึด มั่นในประเพณีวัฒนธรรมไทยเป็นแบบอย่างการด่าเนินชีวิต หลักในการทางาน 1. จะต้องเป็นนักแก้ปัญหาจ่าเป็นจะต้องใช้การตัดสินใจอยู่ตลอดเวลา 2. ใช้หลักธรรมในการบริหารงาน บริหารคน โดยการใช้ธรรมาธิปไตยในการบริหารงาน ซึ่งประกอบด้วย พละ 4 ได้แก่ o ปัญญาพละ คือ การรู้ตน รู้คน รู้งาน o วิระยะพละ คือ ก่าลังแห่งความเพียร o อนวัชชพละ คือ ก่าลังงานที่ไม่มีโทษ หรือความสุจริต o สังคมพละ คือ ก่าลังการสงเคราะห์หรือความมีมนุษยสัมพันธ์ ซึ่งประกอบด้วยพรหมวิหาร 4 สังควัตถุ 4 อิทธิบาทม4 3. มีแนวคิดว่าการพัฒนามิใช่การผลิตวัตถุแต่เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางความรู้ทักษะ เจตคติ ทั้งใน ตัวบุคคลและสังคม โดยมุ่งหมายให้ทุกคน มีชีวิตและสังคมที่ดีขึ้น หลักการทางานให้บรรลุวัตถุประสงค์ มีความยุติธรรม มีความเป็นอิสรภาพ มีความเชื่อมั่นในการปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบ ประสบการณ์ในการทางาน ผลงานในอดีต 1. ประพฤติและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีทั้งกาย วาจา ใจและอยู่ในศีลธรรมอันดีงามรักและเมตตา ให้กับทุกคนโดยเอาใจใส่ให้ความช่วยเหลือ 2. ศึกษาค้นคว้าและแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องและทันสมัยต่อเหตุการณ์