SlideShare a Scribd company logo
กระบวนการเทคโนโลยี 
สารสนเทศ
ความหมายและขัน้ตอน การ 
แก้ปัญหา 
กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขัน้ตอนการทางานเพื่อสร้างสงิ่ของ 
เครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งขึน้มาเพื่อแก้ปัญหาหรือ 
สนองความต้องการของมนุษย์ 
กระบวนการในการแก้ปัญหา ซงึ่ประกอบด้วย 4 ขัน้ตอน ดังนี้
1.การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา 
การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา (State the problem) 
ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้าม 
ความสาคัญของขัน้ตอนนีอ้ยู่เสมอ จุดประสงค์ของขัน้ตอนนี้คือการทาความเข้าใจกับ 
ปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กาหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร 
และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทัง้วิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าว 
โดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้ 
1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา 
1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคาตอบ 
1.3 การกาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขัน้ตอนวิธีหาคาตอบหรือข้อมูลออก
การเลือกเครื่องมือและออกแบบขัน้ตอนวิธี(Tools and 
Algorithm development) ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนของการวางแผนในการ 
แก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทาความเข้าใจกับปัญหา พิจารณา 
ข้อมูลและเงื่อนไขที่มีอยู่ และสิ่งที่ต้องการหาในขัน้ตอนที่ 1 แล้ว เราสามารถ 
คาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา ขัน้ตอนนีจ้าเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ 
ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทานองนีม้าแล้วก็ 
สามารถดาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา
3. การดาเนินการแก้ปัญหา 
การดาเนินการแก้ปัญหา (Implementation) หลังจากที่ได้ออกแบบขัน้ตอน 
วิธีเรียบร้อยแล้ว ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือ 
ที่ได้เลือกไว้ หากการแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยง่าน 
ขัน้ตอนนีก้็เป็นการใช้โปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียน 
โปรแกรมแก้ปัญหา ขัน้ตอนนีต้้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ซงึ่ 
ผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่ดาเนินการหากพบ 
แนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้
4. การตรวจสอบและ 
ปรับปรุง 
การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้ 
แน่ใจว่าวิธีการนีใ้ห้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขัน้ตอนวิธีที่สร้างขึน้ 
สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซงึ่ได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อให้มนั่ใจว่าสามารถ 
รองรับข้อมุเข้าได้ในทุกกรณีอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการ 
เพื่อให้การแก้ปัญหานีไ้ด้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด 
ขัน้ตอนทัง้ 4 ขัน้ตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเสมือนขัน้บันได (stair) ที่ทาให้มนุษย์สามารถประสบ 
ความสาเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ รวมทัง้การเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ 
แก้ปัญหาก็ต้องใช้กระบวนการตามขัน้ตอนทัง้ 4 นีเ้ช่นกัน
ขัน้ตอนอัลกอริทึล 
อัลกอริทึม (อังกฤษ: algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถ 
เข้าใจได้ มีลาดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนงึ่อย่างเป็นขัน้เป็น 
ตอนและชัดเจน เมื่อนาเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจาก 
การแก้ปัญหาแบบสามัญสานึก หรือฮิวริสติก (heuristic) 
โดยทวั่ไป ขัน้ตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขัน้ๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซา้ 
(iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการ 
เปรียบเทียบ (comparison) ในขัน้ตอนต่างๆ จนกระทงั่เสร็จสนิ้การทางาน
การเขียนรหัสจาลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยค 
ภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่ก็สามารถใช้ 
รูปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ได้ 
โครงสร้างของรหัสจาลองเริ่มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขัน้ตอนการทางานโดย 
ใช้คาสงั่ต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น 
คาสงั่read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับคา่ข้อมูลตัวแปรตามที่กาหนดไว้ 
คาสงั่print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ 
พิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทางาน
การเขียนผังงาน 
ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึง 
ขัน้ตอนการทางานของโปรแกรมหรือระบบทีละขัน้ตอน รวมไปถึงทิศทางการ 
ไหลของข้อมูลตัง้แต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ มี 2 ประเภท คือ ผังงาน 
ระบบ และผังงานโปรแกรม
ประโยชน์ของผังงาน 
ช่วยลาดับขัน้ตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไป 
เขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน 
ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิด 
ข้อผิดพลาด 
ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว 
ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย 
และรวดเร็วมากขึน้
วิธีการเขียนผังงานที่ดี 
ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ 
ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา 
คาอธิบายในภาพควรสัน้กะทัดรัด และเข้าใจง่าย 
ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก 
ไมค่วรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน 
ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม
ผังงานระบบ
ผังงานโปรแกรม
กระบวนการสารสนเทศ5.2
กระบวนการสารสนเทศ5.2

More Related Content

Viewers also liked

เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
Kob07432
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
Aii S'saii
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศ
เทคโนโลยีสาระสนเทศเทคโนโลยีสาระสนเทศ
เทคโนโลยีสาระสนเทศ
Aii'fon Kyky
 
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
sasithon_soot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
Nongpech Boonchuai
 
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
fhasia
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
noonlove09
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
Sukkhawit Chamruang
 
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
เทคโนโลยี
Anchisa Ingkhanon
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหเทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
Aii Wayu
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
Aii Wayu
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
รังสิมันตุ์ ชัยเชียงเอม
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
รังสิมันตุ์ ชัยเชียงเอม
 

Viewers also liked (16)

เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศ
เทคโนโลยีสาระสนเทศเทคโนโลยีสาระสนเทศ
เทคโนโลยีสาระสนเทศ
 
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
เทคโนโลยี
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
เทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยี
เทคโนโลยีเทคโนโลยี
เทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหเทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยให
 
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสาระสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similar to กระบวนการสารสนเทศ5.2

หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
Kitti Santiparaphop
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Thitikorn Prakrongyad
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Rattana Wongphu-nga
 
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Noeyy
 
It1
It1It1
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
krubeau
 
กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1
patchu0625
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
benz18
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
warathip pongkan
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestWeerachat Martluplao
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์prang00
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
เอ็ม พุฒิพงษ์
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
thanaluhk
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
Pongspak kamonsri
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Nattakan Panchoo
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
jzturbo
 
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
LPpitcha
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Latcha MaMiew
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
Nuchy Suchanuch
 

Similar to กระบวนการสารสนเทศ5.2 (20)

หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
[NTUN]การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
It1
It1It1
It1
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1กระบวนการเทคโนโลยี1
กระบวนการเทคโนโลยี1
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Design process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontestDesign process onwebforrobotcontest
Design process onwebforrobotcontest
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
นางสาวพิชชา ล้อมวงศ์ 03-5-5
 
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 2 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

กระบวนการสารสนเทศ5.2

  • 2. ความหมายและขัน้ตอน การ แก้ปัญหา กระบวนการเทคโนโลยี เป็นขัน้ตอนการทางานเพื่อสร้างสงิ่ของ เครื่องใช้หรือวิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งขึน้มาเพื่อแก้ปัญหาหรือ สนองความต้องการของมนุษย์ กระบวนการในการแก้ปัญหา ซงึ่ประกอบด้วย 4 ขัน้ตอน ดังนี้
  • 3. 1.การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา (State the problem) ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนแรกสุดก่อนที่จะลงมือแก้ปัญหา แต่ผู้แก้ปัญหามักจะมองข้าม ความสาคัญของขัน้ตอนนีอ้ยู่เสมอ จุดประสงค์ของขัน้ตอนนี้คือการทาความเข้าใจกับ ปัญหาเพื่อแยกให้ออกว่าข้อมูลที่กาหนดมาในปัญหาหรือเงื่อนไขของปัญหาคืออะไร และสิ่งที่ต้องการคืออะไร อีกทัง้วิธีการที่ใช้ประมวลผล ในการวิเคราะห์ปัญหาใด กล่าว โดยสรุปมีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้ 1.1 การระบุข้อมูลเข้า ได้แก่ การพิจารณาข้อมูลและเงื่อนไขที่กาหนดมาในปัญหา 1.2 การระบุข้อมูลออก ได้แก่ การพิจารณาเป้าหมายหรือสิ่งที่ต้องหาคาตอบ 1.3 การกาหนดวิธีประมวลผล ได้แก่ การพิจารณาขัน้ตอนวิธีหาคาตอบหรือข้อมูลออก
  • 4. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขัน้ตอนวิธี(Tools and Algorithm development) ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนของการวางแผนในการ แก้ปัญหาอย่างละเอียดถี่ถ้วน หลังจากที่เราทาความเข้าใจกับปัญหา พิจารณา ข้อมูลและเงื่อนไขที่มีอยู่ และสิ่งที่ต้องการหาในขัน้ตอนที่ 1 แล้ว เราสามารถ คาดคะเนวิธีการที่จะใช้ในการแก้ปัญหา ขัน้ตอนนีจ้าเป็นต้องอาศัยประสบการณ์ ของผู้แก้ปัญหาเป็นหลัก หากผู้แก้ปัญหาเคยพบกับปัญหาทานองนีม้าแล้วก็ สามารถดาเนินการตามแนวทางที่เคยปฏิบัติมา
  • 5. 3. การดาเนินการแก้ปัญหา การดาเนินการแก้ปัญหา (Implementation) หลังจากที่ได้ออกแบบขัน้ตอน วิธีเรียบร้อยแล้ว ขัน้ตอนนีเ้ป็นขัน้ตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือ ที่ได้เลือกไว้ หากการแก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยง่าน ขัน้ตอนนีก้็เป็นการใช้โปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียน โปรแกรมแก้ปัญหา ขัน้ตอนนีต้้องอาศัยความรู้เกี่ยวกับเครื่องมือที่เลือกใช้ซงึ่ ผู้แก้ปัญหาต้องศึกษาให้เข้าใจและเชี่ยวชาญ ในขณะที่ดาเนินการหากพบ แนวทางที่ดีกว่าที่ออกแบบไว้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้
  • 6. 4. การตรวจสอบและ ปรับปรุง การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้ว ต้องตรวจสอบให้ แน่ใจว่าวิธีการนีใ้ห้ผลลัพธ์ที่ถูกต้อง โดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขัน้ตอนวิธีที่สร้างขึน้ สอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ซงึ่ได้แก่ ข้อมูลเข้า และข้อมูลออก เพื่อให้มนั่ใจว่าสามารถ รองรับข้อมุเข้าได้ในทุกกรณีอย่างถูกต้องและสมบูรณ์ ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุงวิธีการ เพื่อให้การแก้ปัญหานีไ้ด้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุด ขัน้ตอนทัง้ 4 ขัน้ตอนดังกล่าวข้างต้น เป็นเสมือนขัน้บันได (stair) ที่ทาให้มนุษย์สามารถประสบ ความสาเร็จในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ รวมทัง้การเขียนหรือพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อ แก้ปัญหาก็ต้องใช้กระบวนการตามขัน้ตอนทัง้ 4 นีเ้ช่นกัน
  • 7. ขัน้ตอนอัลกอริทึล อัลกอริทึม (อังกฤษ: algorithm) หมายถึงกระบวนการแก้ปัญหาที่สามารถ เข้าใจได้ มีลาดับหรือวิธีการในการแก้ไขปัญหาใดปัญหาหนงึ่อย่างเป็นขัน้เป็น ตอนและชัดเจน เมื่อนาเข้าอะไร แล้วจะต้องได้ผลลัพธ์เช่นไร ซึ่งแตกต่างจาก การแก้ปัญหาแบบสามัญสานึก หรือฮิวริสติก (heuristic) โดยทวั่ไป ขัน้ตอนวิธี จะประกอบด้วย วิธีการเป็นขัน้ๆ และมีส่วนที่ต้องทาแบบวนซา้ (iterate) หรือ เวียนเกิด (recursive) โดยใช้ตรรกะ (logic) และ/หรือ ในการ เปรียบเทียบ (comparison) ในขัน้ตอนต่างๆ จนกระทงั่เสร็จสนิ้การทางาน
  • 8. การเขียนรหัสจาลอง (Pseudo Code) คือการเขียนอัลกอริทึมโดยใช้ประโยค ภาษาอังกฤษที่สื่อความหมายง่าย ๆ สามารถอ่านแล้วเข้าใจได้โดยทันที แต่ก็สามารถใช้ รูปแบบที่เป็นภาษาพูดด้วยภาษาไทยและภาษาอังกฤษก็ได้ โครงสร้างของรหัสจาลองเริ่มต้นด้วยข้อความ Begin แล้วอธิบายขัน้ตอนการทางานโดย ใช้คาสงั่ต่าง ๆ ที่ใกล้เคียงกับภาษาคอมพิวเตอร์ในการเขียนโปรแกรม เช่น คาสงั่read หมายถึง การอ่านค่าหรือรับคา่ข้อมูลตัวแปรตามที่กาหนดไว้ คาสงั่print หมายถึง การแสดงผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ พิมพ์ข้อความ End เมื่อจบการทางาน
  • 9. การเขียนผังงาน ผังงาน คือ แผนภาพที่มีการใช้สัญลักษณ์รูปภาพและลูกศรที่แสดงถึง ขัน้ตอนการทางานของโปรแกรมหรือระบบทีละขัน้ตอน รวมไปถึงทิศทางการ ไหลของข้อมูลตัง้แต่แรกจนได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ มี 2 ประเภท คือ ผังงาน ระบบ และผังงานโปรแกรม
  • 10. ประโยชน์ของผังงาน ช่วยลาดับขัน้ตอนการทางานของโปรแกรม และสามารถนาไป เขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน ช่วยในการตรวจสอบ และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมื่อเกิด ข้อผิดพลาด ช่วยให้การดัดแปลง แก้ไข ทาได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย และรวดเร็วมากขึน้
  • 11. วิธีการเขียนผังงานที่ดี ใช้สัญลักษณ์ตามที่กาหนดไว้ ใช้ลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่าง หรือจากซ้ายไปขวา คาอธิบายในภาพควรสัน้กะทัดรัด และเข้าใจง่าย ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า - ออก ไมค่วรโยงเส้นเชื่อมผังงานที่อยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สัญลักษณ์จุดเชื่อมต่อแทน ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนนาไปเขียนโปรแกรม