SlideShare a Scribd company logo
ความพร้อมของผู้สอนและผู้เรียนความพร้อมของผู้สอนและผู้เรียน
ในระบบอีเลิร์นนิงในระบบอีเลิร์นนิง
ในระบบอีเลิร์นนิงในระบบอีเลิร์นนิง
ประสิทธิภาพ
ต้องประกอบด้วยความพร้อมใน 4 ด้าน คือ
ต้องประกอบด้วยความพร้อมใน 4 ด้าน คือ
ด้านนโยบาย
ด้านบุคลากร
ด้านผู้สอน/ผู้เรียน
ด้านเครื่องมือ/อุปกรณ์/โครงสร้าง ICT
การดำาเนินการด้าน e-Learning ของ มสธ.
2528 VITAL (Videotext Integrated
Teaching and Learning System)
2537 Toolbook, Authorware
2540 VUP ใช้ LMS “Lotus Learning
Space”
2545 STOU Online Learning
2547 ATutor
2551 T5 Model: D4L
e-Learning เป็นการเรียนการสอนแบบใด
เป็นการศึกษาทางไกล (Distance Learning)
ผู้เรียนมีทางเลือกมากขึ้น/เรียนตามความ
สามารถของตนเอง
ผู้เรียนสามารถแสดงออก/แสดงความคิดเห็น
ได้หลายทาง
เป็นการแบ่งปันความรู้/ความคิด ผ่าน
โปรแกรมต่างๆ เช่น Myspace, Facebook,
Wiki
ผู้สอนเปลี่ยนบทบาทจากผู้นำา เป็นผู้ให้การ
สนับสนุน
บทเรียนต้องออกแบบมาอย่างดี เพื่อให้ผู้เรียน
ได้รับความรู้/ประสบการณ์ที่ เท่าเทียมหรือดี
กว่าการสอนในชั้นเรียน
การเรียนการสอนแบบอีเลิร์นนิง เป็นสภาพ
การเรียนการสอนแบบ 24/7
ต้องตามให้ทันเทคโนโลยี ซึ่งต้องใช้เวลาและ
ความพยายามอย่างมาก
e-Learning เป็นการเรียนการสอนแบบใด
คุณสมบัติของผู้สอน
ยอมรับในการเปลี่ยนแปลง และเต็มใจที่จะ
ทดลองสิ่งใหม่ๆ
มีทักษะในการพิมพ์
สามารถใช้เครื่องมือ หรือระบบที่ใช้สอน
ออนไลน์ได้
มีประสบการณ์ในการเรียนออนไลน์
มีทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเครือข่าย
อินเทอร์เน็ต
ผู้สอนต้องมีความพร้อมทางด้าน
การเปลี่ยนบทบาทจากผู้ชี้นำาเป็นผู้ให้คำา
แนะนำา อำานวยความสะดวก ยึดผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง กระตุ้นให้ผู้เรียนอยากรู้ อยากเห็น
อยากทำากิจกรรม
ต้องสามารถทำางานอยู่หน้าจอได้อย่างน้อยวัน
ละ 1-2 ชั่วโมง
ผลิตและเผยแพร่บทเรียนออนไลน์
เรียนรู้เครื่องมือ โปรแกรม และเทคโนโลยี
ใหม่ๆ
มีเครื่องคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย
คุณสมบัติของผู้เรียน
มีทักษะทางด้านภาษาอังกฤษ
มีทักษะทางด้านการสื่อสาร
สามารถทำางานร่วมกับผู้อื่นได้ (ทำางานเป็น
ทีม)
มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล
มีความรับผิดชอบและมีวินัยในการเรียน
ทักษะทางด้านเทคโนโลยี และทักษะในการ
เรียนออนไลน์
ผู้เรียนต้องมีความพร้อมทางด้าน
สภาพแวดล้อมในการเรียน (PC, Internet
connection, softwares)
มีความรับผิดชอบในการเรียนด้วยตนเอง
แสดงความคิดเห็น และศึกษาหาความรู้ใหม่ๆ
เปลี่ยนจาก Passive learner เป็น Active
learner
สภาพของผู้สอน
มีทักษะในการสอนทางไกล
ขาดทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์ และ
เทคโนโลยี
ขาดทักษะทางด้านการพิมพ์ดีด
ไม่ค่อยยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ขาดประสบการณ์ในการเรียนออนไลน์
สภาพของผู้เรียน
มีความหลากหลายทางด้านอายุ พื้นฐานการ
ศึกษา
สภาพแวดล้อมทางการเรียนหลากหลายและ
ต่างกันมาก
ฐานะทางเศรษฐกิจต่างกัน
โอกาสในการเข้าถึงเทคโนโลยี
ทักษะด้านเทคโนโลยี/คอมพิวเตอร์
ขาดทักษะในการเรียนออนไลน์
การเตรียมความพร้อมให้ผู้สอน
จัดบรรยาย/ฝึกอบรม
ดูงานการเรียนการสอนด้าน e-Learning
จัดหาคอมพิวเตอร์ Notebook ให้ใช้งาน
ให้ทดลองเข้าเรียนในระบบออนไลน์
กำาหนดอัตราค่าตอบแทนในระบบการสอน
ออนไลน์
Courses ที่จัดฝึกอบรมให้ผู้สอนการออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
Interactive Teaching via
Internet/Satellite
การสอนผ่านเครือข่ายโดยใช้ LMS ATutor,
D4L
การผลิต e-Book: Acrobat
การผลิตบทเรียนอีเลิร์นนิงอย่างง่าย:
Captivate
เครื่องมือสื่อสารบนอินเทอร์เน็ต สำาหรับการ
เรียนการสอนทางไกล
ผลที่ได้จากการให้ผู้สอนทดลองเรียน
ทราบว่าโปรแกรมที่ใช้มีปัญหาอะไรบ้าง
ควรออกแบบกิจกรรมอย่างไรจึงจะเหมาะสม
ทราบถึงขีดความสามารถของโปรแกรม
ทราบสมรรถนะ/ปัญหาด้านโครงสร้าง ICT
ของมหาวิทยาลัย
ทราบถึงปัญหาในการใช้งานของผู้เรียน
การเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียน
ทำาคู่มือประกอบการเรียน e-Learning (สิ่ง
พิมพ์, online)
จัดปฐมนิเทศแนะนำาชุดวิชาและการเรียน e-
Learning
จัดฝึกอบรมการใช้งาน ATutor, D4L
จัดตั้ง Help desk
อบรมการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
สิ่งที่พบจากประสบการณ์ที่ผ่านมา
ผู้สอน
ผู้ที่ไม่สนใจ e-Learning ก็ยังคงไม่สนใจอยู่
เหมือนเดิม
ขาดทักษะในการพิมพ์
ขาดทักษะทางด้านคอมพิวเตอร์/เทคโนโลยี
ขาดแรงจูงใจ
ผู้เรียน
การเข้าถึงเทคโนโลยียังมีปัญหา
ยังไม่คุ้นเคยกับการเรียนออนไลน์
ยังไม่ถนัดในการทำากิจกรรมออนไลน์ร่วมกัน
จากการสำารวจ ยังไม่ชอบ e-Learning
สิ่งที่พบจากประสบการณ์ที่ผ่านมา
ผลการสำารวจปีผลการสำารวจปี 20082008
การเข้าถึงสื่อการเข้าถึงสื่อ
n = 9,416n = 9,416
ความต้องการสื่อความต้องการสื่อ
n = 9,416n = 9,416
ผลการสำารวจปีผลการสำารวจปี 20082008
ข้อเสนอแนะ
ควรกำาหนดความรู้พื้นฐานด้าน
คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยี สำาหรับผู้เรียนและผู้
สอน
สร้าง/รวบรวมแหล่งความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี
และโปรแกรม ที่เหมาะสมกับการนำามาใช้ใน
การสอนออนไลน์
มีแหล่งที่จะแบ่งปันความรู้/ประสบการณ์ เช่น
weblog, wiki
มี incentive ให้ผู้สอนในระบบอีเลิร์นนิง
5 thanit

More Related Content

What's hot

What's hot (9)

Kaka
KakaKaka
Kaka
 
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายของโครงงานใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เรื่องขอบข่ายของโครงงาน
 
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
อินโฟกราฟิกในยุคการศึกษา 4.0 (Infographic in Education 4.0)
 
K4 2
K4 2K4 2
K4 2
 
D L M S
D L M SD L M S
D L M S
 
3
33
3
 
งานคอม4
งานคอม4งานคอม4
งานคอม4
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
E-learning
E-learningE-learning
E-learning
 

Similar to 5 thanit

คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareNECTEC, NSTDA
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานAtima Teraksee
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ StadSandee Toearsa
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติTee Lek
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11wanneemayss
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11nattawad147
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826gam030
 

Similar to 5 thanit (20)

คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquareคู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
คู่มือการใช้งานระบบ LearnSquare
 
Learnsquare manual
Learnsquare manualLearnsquare manual
Learnsquare manual
 
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
 
คู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodleคู่มือการใช้งาน Moodle
คู่มือการใช้งาน Moodle
 
55102 ภาษาไทย utq
55102  ภาษาไทย utq55102  ภาษาไทย utq
55102 ภาษาไทย utq
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)Socialmedia(group4)
Socialmedia(group4)
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
11 170819173826
11 17081917382611 170819173826
11 170819173826
 

5 thanit