SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward
Design
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
วิชา งานช่าง ๑ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๓
ชั่วโมง
หัวเรื่อง /Theme / หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ งานแก๊สเบื้องต้น
๑. การกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้
๑. แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม
๒.คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส
๓.คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ
๔. ถังแก๊สหุงต้ม
๕. ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส
๖. ความปลอดภัยและข้อควรปฏิบัติในงานระบบแก๊สเบื้องต้น
๗. การใช้แก๊สหุงต้ม
๘.การป้องกันอัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส
๙.เทคนิควิธีการใช้แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและปลอดภัย
๑๐. ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน
ผัง (Big Idea)
๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมาย
61
งานแก๊ส
เบื้องต้น
ส่วนประกอบของ
อุปกรณ์หุงต้มที่
ใช้แก๊ส
ถังแก๊สหุง
ต้ม
ความปลอดภัยและข้อ
ควรปฏิบัติ
ในงานระบบแก๊สเบื้อง
ต้น
การใช้แก๊ส
หุงต้ม
แก๊สธรรมชาติ
และ
แก๊สหุงต้ม
คุณสมบัติพื้นฐาน
ของแก๊ส
คุณสมบัติของ
แก๊สธรรมชาติ
การป้องกันอัคคี
ภัย
ที่เกิดจากแก๊ส
เทคนิควิธีการใช้
แก๊สหุงต้ม
อย่างประหยัดและ
ปลอดภัย
ใช้แก๊สหุงต้มให้
ถูกวิธี
ลดอัคคีภัยในบ้าน
มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต
และครอบครัว
๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน
๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ
๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล
๔. เป้าหมายการเรียนรู้
๑. ความเข้าใจที่คงทน
ในการประกอบอาหารในปัจจุบันต้องใช้เตาแก๊ส การใช้เตา
แก๊สซึ่งโครงสร้างพื้นฐานของ
เตาแก๊สจะประกอบด้วยถังแก๊สหุงต้ม เครื่องปรับความดันของแก๊สและ
ท่อสายยางที่เชื่อมต่อระหว่าง
ถังแก๊สกับเตาแก๊ส โดยแก๊สที่นำามาใช้ในการหุงต้มนี้เรียกว่า แก๊ส
ปิโตรเลียมเหลว เรียกสั้นๆ ว่า แก๊สแอลพีจี
อย่างไรก็ตาม แก๊สแอลพีจีนี้จะเกิดขึ้นได้ ๒ กรณี ด้วยกัน กรณีแรก
จะผลิตมาจากกระบวนการแยกแก๊ส
จากธรรมชาติ กรณีที่ ๒ ผลิตมาจากกระบวนการกลั่นนำ้ามันจากโรง
กลั่นนำ้ามันต่างๆ นั่นเอง
๒.จิตพิสัย
๑)การมีความสุขในการเรียนรู้
๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม
๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง
๓.สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน
๑)ความสามารถในการสื่อสาร
๒)ความสามารถในการคิด
๓)ความสามารถในการแก้ปัญหา
๔)ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
62
๕)ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒)ซื่อสัตย์สุจริต
๓)มีวินัย
๔)ใฝ่เรียนรู้
๕)อยู่อย่างพอเพียง
๖)มุ่งมั่นในการทำางาน
๗) รักความเป็นไทย
๘)มีจิตสาธารณะ
๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา
๑) อธิบายแก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้มได้
๒) บอกคุณสมบัติพื้นฐานของแก๊สได้
๓) อธิบายคุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติได้
๔)ประกอบและทดสอบถังแก๊สหุงต้มได้อย่างปลอดภัย
๕)สังเกตถังแก๊สหุงต้มที่มีคุณภาพ
๖)วางแผนและปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดตั้งถังบรรจุแก๊สหุงต้ม
๗) บอกวิธีการติดตั้งแก๊สหุงต้มได้
๘)เลือกใช้แก๊สหุงต้มอย่างปลอดภัยได้
๙) จำาแนกประเภทของแก๊สหุงต้มได้
๑๐) อธิบายส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊สได้
๑๑) ติดตั้งถังแก๊สได้อย่างปลอดภัย
๑๒) เลือกใช้ถังแก๊สหุงต้ม อุปกรณ์ปรับความดันแก๊สและท่อ
แก๊สได้อย่างปลอดภัย
๑๓) บอกวิธีการหารอยรั่วที่ถังแก๊สได้
๑๔) อธิบายวิธีการใช้แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและปลอดภัยได้
๑๕) เลือกใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธีลดอัคคีภัยในบ้านได้
๖.ทักษะคร่อมวิชา
๑)การเขียนรายงาน คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊สและแก๊ส
ธรรมชาติ
๒) การนำาเสนอวิธีการใช้แก๊สอย่างประหยัด
และปลอดภัย
63
๓) ทักษะการทำางานกลุ่ม มีกระบวนการ
ทำางานเป็นกลุ่มร่วมกัน
64
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕
วิชา งานช่าง ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ งานแก๊สเบื้องต้น
เวลา ๓ ชั่วโมง
๑. เป้าหมายการเรียนรู้
แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส คุณสมบัติ
ของแก๊สธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม
ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส ความปลอดภัยและข้อควร
ปฏิบัติในงานระบบแก๊สเบื้องต้น
การใช้แก๊สหุงต้ม การป้องกันอัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส เทคนิควิธีการใช้
แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและ
ปลอดภัย ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน
๒.สาระสำาคัญ
ในการประกอบอาหารในปัจจุบันต้องใช้เตาแก๊ส การใช้เตาแก๊ส
ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานของเตาแก๊ส
จะประกอบด้วยถังแก๊สหุงต้ม เครื่องปรับความดันของแก๊สและท่อสาย
ยางที่เชื่อมต่อระหว่างถังแก๊สกับ
เตาแก๊ส โดยแก๊สที่นำามาใช้ในการหุงต้มนี้เรียกว่า แก๊สปิโตรเลียม
เหลว เรียกสั้นๆ ว่า แก๊สแอลพีจี
อย่างไรก็ตาม แก๊สแอลพีจีนี้จะเกิดขึ้นได้ ๒ กรณี ด้วยกัน กรณีแรก
จะผลิตมาจากกระบวนการแยกแก๊ส
จากธรรมชาติ กรณีที่ ๒ ผลิตมาจากกระบวนการกลั่นนำ้ามันจากโรง
กลั่นนำ้ามันต่างๆ นั่นเอง
๓.มาตรฐานและตัวชี้วัด
มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ
กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ
แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ
ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต
และครอบครัว
65
ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้
๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน
๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ
๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล
๔. สาระการเรียนรู้
๑. แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม
๒.คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส
๓.คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ
๔. ถังแก๊สหุงต้ม
๕. ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส
๖. ความปลอดภัยและข้อควรปฏิบัติในงานระบบแก๊สเบื้องต้น
๗. การใช้แก๊สหุงต้ม
๘.การป้องกันอัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส
๙.เทคนิควิธีการใช้แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและปลอดภัย
๑๐. ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน
๕.จุดประสงค์การเรียนรู้
K (Knowledge)
ความรู้ ความ
เข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
๑. อธิบายแก๊ส
ธรรมชาติและแก๊ส
หุงต้มได้
๒.บอกคุณสมบัติพื้น
ฐานของแก๊สได้
๓.อธิบายคุณสมบัติ
ของ
แก๊สธรรมชาติได้
๔.อธิบายขั้นตอนการ
ประกอบและ
ทดสอบถังแก๊สหุง
ต้มได้อย่าง
ปลอดภัย
๑.รู้จักแก๊สธรรมชาติ
และ
แก๊สหุงต้มได้
๒.รู้จักคุณสมบัติพื้น
ฐานของแก๊ส
๓.สามารถอธิบาย
คุณสมบัติของแก๊ส
ธรรมชาติได้
๔.สามารถประกอบและ
ทดสอบ
ถังแก๊สหุงต้มได้อย่าง
ปลอดภัย
๕.สังเกตถังแก๊สหุงต้ม
๑. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
๒.ซื่อสัตย์สุจริต
๓.มีวินัย
๔.ใฝ่เรียนรู้
๕.อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการ
ทำางาน
๗. รัก
ความเป็นไทย
๘.มีจิตสาธารณะ
66
๕.สังเกตถังแก๊สหุง
ต้มที่มีคุณภาพ
๖.วางแผนปฏิบัติงาน
เกี่ยวกับการจัดตั้ง
ถังบรรจุแก๊สหุงต้ม
๗. บอกวิธี
การติดตั้งแก๊สหุง
ต้มได้
๘. อธิบายขั้น
ตอนการเลือกใช้
แก๊สหุงต้มอย่าง
ปลอดภัยได้
ที่มีคุณภาพ
๖.สามารถวางแผนและ
ปฏิบัติงาน เกี่ยวกับ
การจัดตั้งถังบรรจุ
แก๊สหุงต้ม
๗. สามารถ
บอกวิธีการติดตั้ง
แก๊สหุงต้มได้
๘.สามารถเลือกใช้แก๊ส
หุงต้มอย่างปลอดภัย
ได้
๙. สามารถ
จำาแนกประเภทของ
แก๊สหุงต้มได้
K (Knowledge)
ความรู้ ความ
เข้าใจ
P (Practice)
การฝึกปฏิบัติ
A (Attitude)
คุณลักษณะอัน
พึงประสงค์
๙. อธิบายขั้นตอน
การจำาแนก
ประเภทของแก๊ส
หุงต้มได้
๑๐. อธิบาย
ส่วนประกอบของ
อุปกรณ์หุงต้มที่ใช้
แก๊สได้
๑๑. อธิบายขั้น
ตอนการติดตั้ง
ถังแก๊สได้อย่าง
ปลอดภัย
๑๒. อธิบายขั้น
ตอนการเลือกใช้
ถังแก๊สหุงต้ม
อุปกรณ์ปรับความ
๑๐. สามารถ
อธิบายส่วนประกอบ
ของอุปกรณ์หุงต้มที่
ใช้แก๊สได้
๑๑. สามารถติด
ตั้งถังแก๊สได้
อย่างปลอดภัย
๑๒. สามารถ
เลือกใช้ถังแก๊สหุง
ต้ม อุปกรณ์ปรับ
ความดันแก๊สและ
ท่อแก๊สได้อย่าง
ปลอดภัย
๑๓. สามารถ
บอกวิธีการหารอย
รั่วที่ถังแก๊สได้
67
ดันแก๊สและท่อ
แก๊สได้อย่าง
ปลอดภัย
๑๓. บอกวิธี
การหารอยรั่วที่
ถังแก๊สได้
๑๔. อธิบายขั้น
ตอนวิธีการใช้
แก๊สหุงต้มอย่าง
ประหยัดและ
ปลอดภัยได้
๑๕. อธิบายขั้น
ตอนวิธีการเลือก
ใช้แก๊สหุงต้มให้
ถูกวิธีลดอัคคีภัย
ในบ้านได้
๑๔. สามารถใช้
แก๊สหุงต้มอย่าง
ประหยัดและ
ปลอดภัยได้
๑๕. สามารถ
เลือกใช้แก๊สหุงต้ม
ให้ถูกวิธีลดอัคคีภัย
ในบ้านได้
๖.การวัดและประเมินผล
๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล
๑)แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๒)แบบทดสอบ
๓)ใบงาน
๔)แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
๕)แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖)แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๒.วิธีวัดผล
๑)ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน
๒)ตรวจแบบทดสอบ
๓)ตรวจใบงาน
๔)สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม
๕)สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
๖)สังเกตสมรรถนะของนักเรียน
๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล
68
๑)สำาหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน
เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับ
คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน
๒)การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบ
เกินร้อยละ ๕๐
๓)การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ
การนำาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐
๔)การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ต้อง
ผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ
เกินร้อยละ ๕๐
๕)การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ
ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง
๖)การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้น
อยู่กับการประเมินตาม
สภาพจริง
๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ
การประเมินตามสภาพจริง
๗. หลักฐาน/ผลงาน
๑. ผลการทำาแบบทดสอบ
๒. ผลการทำาใบงาน
๘.กิจกรรมการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
๑) ครูทบทวนเรื่อง งานไม้เบื้องต้น ที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว
ขั้นสอน
๒)ครูอธิบายเนื้อหาสาระสำาคัญ เรื่อง แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม
คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส
คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม จากหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน งานช่าง ๑
ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์
๓)ให้นักเรียนซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ ครูสุ่มถามคำาถามกับ
นักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้
69
๔) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่อง
แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส
คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม จากหนังสือเรียน
รายวิชา
พื้นฐาน งานช่าง ๑ เอกสาร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู
คอยให้คำาแนะนำา นำาผลงาน
ที่ได้มาร่วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำาเสนอหน้า
ชั้นเรียน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๕) ครูแนะนำาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำาเสนอ
๖) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญ เรื่อง แก๊สธรรมชาติ
และแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส คุณสมบัติของแก๊ส
ธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม เพื่อให้เข้าใจร่วมกัน ครูสังเกต
สมรรถนะ
ของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๗)นักเรียนทำากิจกรรมหรือใบงานตามที่ครูแนะนำาดังนี้
- ใบงานที่ ๕.๑ - ใ บ
งานที่ ๕.๓
- ใบงานที่ ๕.๒
ชั่วโมงที่ ๒-๓
ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน
๘) ครูทบทวนเรื่อง แก๊ส
ธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส คุณสมบัติ
ของ
แก๊สธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม
ขั้นสอน
๙) ครูอธิบายเรื่อง ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส
ความปลอดภัยและข้อควรปฏิบัติ
ในงานระบบแก๊สเบื้องต้น การใช้แก๊สหุงต้ม การป้องกันอัคคีภัย
ที่เกิดจากแก๊ส เทคนิควิธีการใช้
แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและปลอดภัย ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลด
อัคคีภัยในบ้าน
70
๑๐) ให้นักเรียนซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ ครูสุ่มถามคำาถาม
กับนักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้
๑๑) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้า เรื่อง
ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส ความปลอดภัยและ
ข้อควรปฏิบัติในงานระบบแก๊สเบื้องต้น การใช้แก๊สหุงต้ม การ
ป้องกัน
อัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส เทคนิควิธีการใช้แก๊สหุงต้มอย่าง
ประหยัดและปลอดภัย ใช้แก๊สหุงต้ม
ให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน
ขั้นสรุปและการประยุกต์
๑๒)ครูแนะนำาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำาเสนอ
๑๓)ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญ เรื่อง งานแก๊สเบื้องต้น
เพื่อให้เข้าใจร่วมกัน ครูสังเกต
สมรรถนะของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑๔)นักเรียนทำากิจกรรมหรือใบงานตามที่ครูแนะนำาดังนี้
- ใบงานที่ ๕.๔ - ใบงานที่
๕.๗
- ใบงานที่ ๕.๕ - ใบงานที่
๕.๘
- ใบงานที่ ๕.๖ - ใบงานที่
๕.๙
๑๕)ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๕
๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอม
พันธ์
๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอม
พันธ์
๑๐. การบูรณาการ
บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน
รายงาน ทักษะการนำาเสนอรายงาน
71
คำาชี้แจง : ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง
๑. ลักษณะเด่นของแก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้มคืออะไร
๒.สารที่เป็นกลิ่นเหม็นที่เติมลงไปในแก๊สหุงต้มชื่ออะไร มีหน้าที่
อย่างไร
๓.แก๊สหุงต้มเกิดขึ้นได้อย่างไร
๔. ค่าความถ่วงจำาเพาะแก๊สมีคุณสมบัติอย่างไร
๕. ความร้อนหรือเปลวไฟที่ได้จากแก๊สมาได้อย่างไร
๖. เชื้อเพลิงจะติดไฟได้ต้องมีองค์ประกอบใดบ้าง
๗. คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติมีลักษณะอย่างไร
๘.ถังแก๊สหุงต้มที่มีคุณภาพมีลักษณะอย่างไร
๙.วิธีการติดตั้งแก๊สหุงต้มที่ปลอดภัยมีวิธีการอย่างไร
๑๐. การตรวจสอบแก๊สรั่วทำาได้อย่างไร
๑๑. แก๊สหุงต้มมีกี่ประเภท อะไรบ้าง
๑๒. ถังแก๊สขนาดเล็กกับถังแก๊สขนาดใหญ่บรรจุแก๊สได้เท่าไร
๑๓. ลักษณะของสายนำาแก๊สมีลักษณะอย่างไร และความยาวของ
สายนำาแก๊สมีค่าเท่าไร
๑๔. การป้องกันแก๊สรั่วทำาได้อย่างไร
๑๕. ทำาอย่างไรเมื่อแก๊สรั่ว
คำาชี้แจง : ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบคำาตอบที่ถูกต้อง
72
๑. การใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธีและลดอัคคีภัยในบ้าน ควรทำาตามในข้อ
ใด
ก. หลังจากเลิกใช้ให้ปิดวาล์วที่เตาแก๊ส และให้ไปปิดวาล์วที่ถัง
แก๊ส
ข. เมื่อเริ่มใช้งานให้เปิดวาล์วที่เตาแก๊สและเปิดวาล์วที่ถังแก๊ส
ค. หลังจากเลิกใช้ให้ปิดวาล์วที่ถังแก๊สแล้วจึงปิดวาล์วที่เตาแก๊ส
ง. หลังจากเลิกใช้งานให้รอสักระยะแล้วจึงปิดวาล์วที่เตาแก๊ส
๒.ข้อใดเป็นการใช้แก๊สอย่างประหยัด
ก. ควรเปิดเตาแก๊สทิ้งไว้ระหว่างเตรียมอาหาร
ข. ภาชนะที่ใช้ไม่ควรหนาเกินไปและไม่ควรมีขี้ตะกรันจับจะทำาให้
เปลืองแก๊ส
ค. ขณะที่มีลมพัดแรงควรใช้แก๊สหุงต้มเพื่อประกอบอาหาร
ง. เปลวไฟของแก๊สหากเป็นสีนำ้าเงินจะให้ความร้อนตำ่าสุด
๓.เพราะเหตุใดจึงไม่นิยมกลิ้งถังแก๊ส
ก. แก๊สจะแตกตัวช้า ข. แก๊สจะหายไปหมด
ค. แก๊สจะมีกลิ่นเหม็น ง. อาจเกิดระเบิดขึ้นได้
๔. ข้อใดไม่ใช่หลักปฏิบัติเมื่อแก๊สรั่ว
ก. จะเกิดกลิ่นเหม็นของแก๊ส ข. ปิดวาล์วที่เตาแก๊สและหัวถังแก๊ส
ค. รีบปิดวาล์วที่หัวถังและเตาแก๊ส ง. ห้ามทำา ประกายไฟบริเวณ
ใกล้เคียง
๕. วิธีตรวจสอบแก๊สรั่วควรทำาตามข้อใด
ก. ใช้นำ้ามันลูบไปที่ถังแก๊ส ข. ใช้นำ้าส้มสายชูลูบไปที่สายนำา
แก๊ส
ค. ใช้นำ้าสบู่ลูบไปที่ถังแก๊ส ง. ใช้นำ้ามันหล่อลื่นลูบไปที่สายนำา
แก๊ส
๖. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของท่ออ่อนหรือเข็มขัดรัดท่อในงานระบบ
แก๊ส
ก. ความยาวของท่อสาย ๑๐ เมตรข.ความยาวของท่อสาย ๒
เมตร
ค. ใช้สายยางชนิดพลาสติกหนา PVC ง. ต้องใช้เข็มขัดรัด
ท่อถ้าเป็นท่ออ่อน
๗. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของเครื่องปรับความดันของแก๊ส
ก. ต้องใช้กับแก๊สเฉพาะ LPG
73
ข. เครื่องปรับความดันแก๊สจะต้องแข็งแรงและคงทน
ค. ต้องเป็นชนิดที่มีแรงดันตำ่า
ง. ต้องเป็นชนิดที่มีแรงดันสูง
๘.ข้อใดไม่ใช่อัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส
ก. แก๊สผสมกับนำ้ามัน ข. แก๊สผสมกับอากาศ
ค. มีแก๊สรั่ว ง. มีเปลวไฟออกมา
๙.องค์ประกอบของงานระบบแก๊สคืออะไร
ก. ถังแก๊สกับเตาแก๊ส
ข. ถังแก๊ส ท่อสาย และเครื่องปรับความดันแก๊ส
ค. เตาแก๊สกับท่อสาย
ง. ท่อสายกับเครื่องปรับความดันแก๊ส
๑๐. ถ้าหากเกิดไฟลุกไหม้ที่ถังแก๊สควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ใช้นำ้าสาดแรงๆ ข. ใช้นำ้ามันสาดแรงๆ
ค. ใช้ทรายสาดแรงๆ ง. เอาผ้าคลุมไฟที่ติด
๑๑. การที่จะถ่ายแก๊สถังหนึ่งไปสู่อีกถังหนึ่งสมควรปฏิบัติหรือไม่
อย่างไร
ก. สมควรเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ข.ไม่สมควร อาจทำาให้ระเบิด
ได้
ค. สมควรเพราะปฏิบัติกันมานานแล้ว ง. ไ ม่ ส ม ค ว ร จ ะ
ทำาให้ร้านขายแก๊สขาดทุน
๑๒. ข้อใดไม่ใช่หลักปฏิบัติความปลอดภัยเกี่ยวกับเตาแก๊ส
ก. ตั้งเตาแก๊สห่างจากผนัง ๑.๕ - ๒ เมตร ข. ตั้งเตาแก๊สบริเวณ
ที่เปียกชื้น
ค. ห้ามนำาเตาแก๊สไปอยู่ในที่ๆ ลมพัดแรง ง. ตั้งเตาแก๊สห่าง
จากผนัง ๐.๕ เมตร
๑๓. การติดไฟแก๊สโดยใช้ไฟแช็กจุดเตาแก๊สสมควรหรือไม่
อย่างไร
ก. ไม่สมควร อาจทำาให้ไหม้มือได้ข.สมควรเป็นการประหยัด
ค. ไม่สมควร อาจทำาให้เกิดอันตรายได้ ง. สมควรเป็นการลด
รายจ่าย
๑๔. เมื่อแก๊สรั่วลักษณะของถังแก๊สจะตรงกับข้อใด
74
ก. มีไอนวลขาวลอยออกมา ข. มีเกล็ดนำ้า แข็งสีขาวเย็นจับ
บริเวณนั้นๆ
ค. มีเกล็ดขาวร้อนจับบริเวณนั้นๆ ง. มีควันโขมงเต็มรอบๆ ถังแก๊ส
๑๕. อุปกรณ์ใดของระบบแก๊สที่มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้แก๊สรั่ว
ก. ถังแก๊ส ข. สายนำาแก๊ส
ค. เครื่องปรับความดันแก๊ส ง. ลิ้นนิรภัย
๑๖. แก๊สหุงต้มเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร
ก. PGL ข. LPG
ค. GLP ง. LGP
๑๗. แก๊สหุงต้ม ๒ ลิตรหนักเท่าไร
ก. ๐.๒ กิโลกรัม ข. ๐.๓ กิโลกรัม
ค. ๐.๔ กิโลกรัม ง. ๐.๕ กิโลกรัม
๑๘. แก๊สธรรมชาติจะมีแก๊สใดเป็นส่วนใหญ่
ก. อีเทน ข. บิวเทน
ค. มีเทน ง. โพรเพน
๑๙. อุณหภูมิที่จะจุดติดไฟอัตโนมัติของแก๊สมีเทนคือข้อใด
ก. ๔๗๐ ํำC ข. ๓๖๕ ํำC
ค. ๕๓๗ ํำC ง. ๕๕๐ ํำC
๒๐. อุณหภูมิที่จะจุดติดไฟอัตโนมัติของแก๊สโพรเพนมีกี่องศา
เซลเซียส
ก. ๔๗๐ ํำC ข. ๓๖๕ ํำC
ค. ๕๓๗ ํำC ง. ๕๕๐ ํำC
คำาชี้แจง : ตอนที่ ๓ ให้นักเรียนนำาตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวามือ
มาใส่ในช่องว่างหน้าข้อความด้านซ้ายมือ
ให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน
๑. ................ อุ ป ก ร ณ์ ที่ เ ชื่ อ ม ต่ อ
ระหว่างหัวถังกับเตาแก๊ส ก. แอลพีจี (LPG)
๒................. แก๊สหุงต้ม ข. แ ก๊ ส
มีเทน
๓................. เป็นแก๊สมีเทนเป็นส่วน
ใหญ่ ค. แก๊สอีเทน
75
๔. ................ แก๊สโพรเพนรวมกับ
แก๊สบิวเทน ง. ให้ความร้อนสูง
๕. ................ เป็นส่วนผสมหลักของ
แก๊สธรรมชาติ จ. ลิ้นนิรภัย
๖. ................ บิวเทนร้อยละ ๓๐ กับ
โพรเพนร้อยละ ๗๐ ฉ.สายนำาแก๊ส
๗. ................ มาจากการกลั่นนำ้ามันที่
มีอยู่ในแก๊สธรรมชาติ ช.แก๊สโพรเพน
๘................. แก๊สมีเทน ซ. แ ก๊ ส
ธรรมชาติ
๙................. ปนอยู่ในแก๊สธรรมชาติ
ฌ. แก๊สปิโตรเลียมเหลว
๑๐. ................ ป้องกันการรั่วของแก๊ส
ญ. แก๊สหุงต้ม
บันทึกหลังการสอน
๑. ผลการสอน
………………………………………………………………………
…………………………….
76
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
๒. ปัญหา/อุปสรรค
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
77
………………………………………………………………………
…………………………….
ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน
(..................................
.............)
วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............
๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบ
หมาย
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
………………………………………………………………………
…………………………….
ลงชื่อ...............................................................
(......................
......................................)
78

More Related Content

Featured

Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Applitools
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at WorkGetSmarter
 

Featured (20)

Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
Unlocking the Power of ChatGPT and AI in Testing - A Real-World Look, present...
 
12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work12 Ways to Increase Your Influence at Work
12 Ways to Increase Your Influence at Work
 

แผนการเรียนรู้งานช่าง 5

  • 1. การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบ Backward Design กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี วิชา งานช่าง ๑ ชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๓ ชั่วโมง หัวเรื่อง /Theme / หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ งานแก๊สเบื้องต้น ๑. การกำาหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ๑. แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม ๒.คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส ๓.คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ ๔. ถังแก๊สหุงต้ม ๕. ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส ๖. ความปลอดภัยและข้อควรปฏิบัติในงานระบบแก๊สเบื้องต้น ๗. การใช้แก๊สหุงต้ม ๘.การป้องกันอัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส ๙.เทคนิควิธีการใช้แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและปลอดภัย ๑๐. ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน ผัง (Big Idea) ๒. มาตรฐานการเรียนรู้ที่เป็นเป้าหมาย 61 งานแก๊ส เบื้องต้น ส่วนประกอบของ อุปกรณ์หุงต้มที่ ใช้แก๊ส ถังแก๊สหุง ต้ม ความปลอดภัยและข้อ ควรปฏิบัติ ในงานระบบแก๊สเบื้อง ต้น การใช้แก๊ส หุงต้ม แก๊สธรรมชาติ และ แก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐาน ของแก๊ส คุณสมบัติของ แก๊สธรรมชาติ การป้องกันอัคคี ภัย ที่เกิดจากแก๊ส เทคนิควิธีการใช้ แก๊สหุงต้ม อย่างประหยัดและ ปลอดภัย ใช้แก๊สหุงต้มให้ ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน
  • 2. มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต และครอบครัว ๓. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล ๔. เป้าหมายการเรียนรู้ ๑. ความเข้าใจที่คงทน ในการประกอบอาหารในปัจจุบันต้องใช้เตาแก๊ส การใช้เตา แก๊สซึ่งโครงสร้างพื้นฐานของ เตาแก๊สจะประกอบด้วยถังแก๊สหุงต้ม เครื่องปรับความดันของแก๊สและ ท่อสายยางที่เชื่อมต่อระหว่าง ถังแก๊สกับเตาแก๊ส โดยแก๊สที่นำามาใช้ในการหุงต้มนี้เรียกว่า แก๊ส ปิโตรเลียมเหลว เรียกสั้นๆ ว่า แก๊สแอลพีจี อย่างไรก็ตาม แก๊สแอลพีจีนี้จะเกิดขึ้นได้ ๒ กรณี ด้วยกัน กรณีแรก จะผลิตมาจากกระบวนการแยกแก๊ส จากธรรมชาติ กรณีที่ ๒ ผลิตมาจากกระบวนการกลั่นนำ้ามันจากโรง กลั่นนำ้ามันต่างๆ นั่นเอง ๒.จิตพิสัย ๑)การมีความสุขในการเรียนรู้ ๒) มีความรับผิดชอบต่องานและส่วนรวม ๓) มีเจตคติที่ดีต่อครอบครัวของตนเอง ๓.สมรรถนะสำาคัญของนักเรียน ๑)ความสามารถในการสื่อสาร ๒)ความสามารถในการคิด ๓)ความสามารถในการแก้ปัญหา ๔)ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต 62
  • 3. ๕)ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑)รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒)ซื่อสัตย์สุจริต ๓)มีวินัย ๔)ใฝ่เรียนรู้ ๕)อยู่อย่างพอเพียง ๖)มุ่งมั่นในการทำางาน ๗) รักความเป็นไทย ๘)มีจิตสาธารณะ ๕. ความรู้และทักษะเฉพาะวิชา ๑) อธิบายแก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้มได้ ๒) บอกคุณสมบัติพื้นฐานของแก๊สได้ ๓) อธิบายคุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติได้ ๔)ประกอบและทดสอบถังแก๊สหุงต้มได้อย่างปลอดภัย ๕)สังเกตถังแก๊สหุงต้มที่มีคุณภาพ ๖)วางแผนและปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดตั้งถังบรรจุแก๊สหุงต้ม ๗) บอกวิธีการติดตั้งแก๊สหุงต้มได้ ๘)เลือกใช้แก๊สหุงต้มอย่างปลอดภัยได้ ๙) จำาแนกประเภทของแก๊สหุงต้มได้ ๑๐) อธิบายส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊สได้ ๑๑) ติดตั้งถังแก๊สได้อย่างปลอดภัย ๑๒) เลือกใช้ถังแก๊สหุงต้ม อุปกรณ์ปรับความดันแก๊สและท่อ แก๊สได้อย่างปลอดภัย ๑๓) บอกวิธีการหารอยรั่วที่ถังแก๊สได้ ๑๔) อธิบายวิธีการใช้แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและปลอดภัยได้ ๑๕) เลือกใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธีลดอัคคีภัยในบ้านได้ ๖.ทักษะคร่อมวิชา ๑)การเขียนรายงาน คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊สและแก๊ส ธรรมชาติ ๒) การนำาเสนอวิธีการใช้แก๊สอย่างประหยัด และปลอดภัย 63
  • 5. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ วิชา งานช่าง ๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ งานแก๊สเบื้องต้น เวลา ๓ ชั่วโมง ๑. เป้าหมายการเรียนรู้ แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส คุณสมบัติ ของแก๊สธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส ความปลอดภัยและข้อควร ปฏิบัติในงานระบบแก๊สเบื้องต้น การใช้แก๊สหุงต้ม การป้องกันอัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส เทคนิควิธีการใช้ แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและ ปลอดภัย ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน ๒.สาระสำาคัญ ในการประกอบอาหารในปัจจุบันต้องใช้เตาแก๊ส การใช้เตาแก๊ส ซึ่งโครงสร้างพื้นฐานของเตาแก๊ส จะประกอบด้วยถังแก๊สหุงต้ม เครื่องปรับความดันของแก๊สและท่อสาย ยางที่เชื่อมต่อระหว่างถังแก๊สกับ เตาแก๊ส โดยแก๊สที่นำามาใช้ในการหุงต้มนี้เรียกว่า แก๊สปิโตรเลียม เหลว เรียกสั้นๆ ว่า แก๊สแอลพีจี อย่างไรก็ตาม แก๊สแอลพีจีนี้จะเกิดขึ้นได้ ๒ กรณี ด้วยกัน กรณีแรก จะผลิตมาจากกระบวนการแยกแก๊ส จากธรรมชาติ กรณีที่ ๒ ผลิตมาจากกระบวนการกลั่นนำ้ามันจากโรง กลั่นนำ้ามันต่างๆ นั่นเอง ๓.มาตรฐานและตัวชี้วัด มาตรฐาน ง ๑.๑ : เข้าใจการทำางาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะ กระบวนการทำางาน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทำางานร่วมกัน และทักษะการ แสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และ ลักษณะนิสัยในการทำางาน มีจิตสำานึกในการใช้พลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม เพื่อการดำารงชีวิต และครอบครัว 65
  • 6. ตัวชี้วัด : สิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ ๑. วิเคราะห์ขั้นตอนการทำางานตามกระบวนการทำางาน ๒. ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำางานด้วยความเสียสละ ๓. ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำางานอย่างมีเหตุผล ๔. สาระการเรียนรู้ ๑. แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม ๒.คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส ๓.คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ ๔. ถังแก๊สหุงต้ม ๕. ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส ๖. ความปลอดภัยและข้อควรปฏิบัติในงานระบบแก๊สเบื้องต้น ๗. การใช้แก๊สหุงต้ม ๘.การป้องกันอัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส ๙.เทคนิควิธีการใช้แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและปลอดภัย ๑๐. ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน ๕.จุดประสงค์การเรียนรู้ K (Knowledge) ความรู้ ความ เข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ๑. อธิบายแก๊ส ธรรมชาติและแก๊ส หุงต้มได้ ๒.บอกคุณสมบัติพื้น ฐานของแก๊สได้ ๓.อธิบายคุณสมบัติ ของ แก๊สธรรมชาติได้ ๔.อธิบายขั้นตอนการ ประกอบและ ทดสอบถังแก๊สหุง ต้มได้อย่าง ปลอดภัย ๑.รู้จักแก๊สธรรมชาติ และ แก๊สหุงต้มได้ ๒.รู้จักคุณสมบัติพื้น ฐานของแก๊ส ๓.สามารถอธิบาย คุณสมบัติของแก๊ส ธรรมชาติได้ ๔.สามารถประกอบและ ทดสอบ ถังแก๊สหุงต้มได้อย่าง ปลอดภัย ๕.สังเกตถังแก๊สหุงต้ม ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒.ซื่อสัตย์สุจริต ๓.มีวินัย ๔.ใฝ่เรียนรู้ ๕.อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการ ทำางาน ๗. รัก ความเป็นไทย ๘.มีจิตสาธารณะ 66
  • 7. ๕.สังเกตถังแก๊สหุง ต้มที่มีคุณภาพ ๖.วางแผนปฏิบัติงาน เกี่ยวกับการจัดตั้ง ถังบรรจุแก๊สหุงต้ม ๗. บอกวิธี การติดตั้งแก๊สหุง ต้มได้ ๘. อธิบายขั้น ตอนการเลือกใช้ แก๊สหุงต้มอย่าง ปลอดภัยได้ ที่มีคุณภาพ ๖.สามารถวางแผนและ ปฏิบัติงาน เกี่ยวกับ การจัดตั้งถังบรรจุ แก๊สหุงต้ม ๗. สามารถ บอกวิธีการติดตั้ง แก๊สหุงต้มได้ ๘.สามารถเลือกใช้แก๊ส หุงต้มอย่างปลอดภัย ได้ ๙. สามารถ จำาแนกประเภทของ แก๊สหุงต้มได้ K (Knowledge) ความรู้ ความ เข้าใจ P (Practice) การฝึกปฏิบัติ A (Attitude) คุณลักษณะอัน พึงประสงค์ ๙. อธิบายขั้นตอน การจำาแนก ประเภทของแก๊ส หุงต้มได้ ๑๐. อธิบาย ส่วนประกอบของ อุปกรณ์หุงต้มที่ใช้ แก๊สได้ ๑๑. อธิบายขั้น ตอนการติดตั้ง ถังแก๊สได้อย่าง ปลอดภัย ๑๒. อธิบายขั้น ตอนการเลือกใช้ ถังแก๊สหุงต้ม อุปกรณ์ปรับความ ๑๐. สามารถ อธิบายส่วนประกอบ ของอุปกรณ์หุงต้มที่ ใช้แก๊สได้ ๑๑. สามารถติด ตั้งถังแก๊สได้ อย่างปลอดภัย ๑๒. สามารถ เลือกใช้ถังแก๊สหุง ต้ม อุปกรณ์ปรับ ความดันแก๊สและ ท่อแก๊สได้อย่าง ปลอดภัย ๑๓. สามารถ บอกวิธีการหารอย รั่วที่ถังแก๊สได้ 67
  • 8. ดันแก๊สและท่อ แก๊สได้อย่าง ปลอดภัย ๑๓. บอกวิธี การหารอยรั่วที่ ถังแก๊สได้ ๑๔. อธิบายขั้น ตอนวิธีการใช้ แก๊สหุงต้มอย่าง ประหยัดและ ปลอดภัยได้ ๑๕. อธิบายขั้น ตอนวิธีการเลือก ใช้แก๊สหุงต้มให้ ถูกวิธีลดอัคคีภัย ในบ้านได้ ๑๔. สามารถใช้ แก๊สหุงต้มอย่าง ประหยัดและ ปลอดภัยได้ ๑๕. สามารถ เลือกใช้แก๊สหุงต้ม ให้ถูกวิธีลดอัคคีภัย ในบ้านได้ ๖.การวัดและประเมินผล ๑. เครื่องมือวัดและประเมินผล ๑)แบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒)แบบทดสอบ ๓)ใบงาน ๔)แบบประเมินพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕)แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖)แบบสังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๗) แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๒.วิธีวัดผล ๑)ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน/หลังเรียน ๒)ตรวจแบบทดสอบ ๓)ตรวจใบงาน ๔)สังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ๕)สังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ๖)สังเกตสมรรถนะของนักเรียน ๗) สังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๓.เกณฑ์การวัดและประเมินผล 68
  • 9. ๑)สำาหรับชั่วโมงแรกที่ใช้แบบทดสอบก่อนเรียนไม่มีเกณฑ์ผ่าน เก็บคะแนนไว้เปรียบเทียบกับ คะแนนที่ได้จากการทดสอบหลังเรียน ๒)การประเมินผลจากแบบทดสอบ ต้องผ่านเกณฑ์การทดสอบ เกินร้อยละ ๕๐ ๓)การประเมินจากแบบตรวจใบงาน ต้องผ่านเกณฑ์การ ประเมิน เรื่องความรู้ความเข้าใจ การนำาไปใช้ ทักษะ และจิตพิสัย ทุกช่องเกินร้อยละ ๕๐ ๔)การประเมินผลจากการสังเกตพฤติกรรมการทำางานกลุ่ม ต้อง ผ่านเกณฑ์การประเมิน คือ เกินร้อยละ ๕๐ ๕)การประเมินผลการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล เกณฑ์ผ่านการ ประเมิน ต้องไม่มีช่องปรับปรุง ๖)การประเมินผลการสังเกตสมรรถนะของนักเรียน คะแนนขึ้น อยู่กับการประเมินตาม สภาพจริง ๗) การประเมินผลการสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ นักเรียน คะแนนขึ้นอยู่กับ การประเมินตามสภาพจริง ๗. หลักฐาน/ผลงาน ๑. ผลการทำาแบบทดสอบ ๒. ผลการทำาใบงาน ๘.กิจกรรมการเรียนรู้ ชั่วโมงที่ ๑ ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน ๑) ครูทบทวนเรื่อง งานไม้เบื้องต้น ที่ได้เรียนรู้ไปแล้ว ขั้นสอน ๒)ครูอธิบายเนื้อหาสาระสำาคัญ เรื่อง แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม จากหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอมพันธ์ ๓)ให้นักเรียนซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ ครูสุ่มถามคำาถามกับ นักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้ 69
  • 10. ๔) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้าหาความรู้เรื่อง แก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม จากหนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐาน งานช่าง ๑ เอกสาร ผู้รู้ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ โดยมีคุณครู คอยให้คำาแนะนำา นำาผลงาน ที่ได้มาร่วมกันอภิปรายวิเคราะห์ ข้อดี ข้อเสีย แล้วนำาเสนอหน้า ชั้นเรียน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๕) ครูแนะนำาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำาเสนอ ๖) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญ เรื่อง แก๊สธรรมชาติ และแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส คุณสมบัติของแก๊ส ธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม เพื่อให้เข้าใจร่วมกัน ครูสังเกต สมรรถนะ ของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๗)นักเรียนทำากิจกรรมหรือใบงานตามที่ครูแนะนำาดังนี้ - ใบงานที่ ๕.๑ - ใ บ งานที่ ๕.๓ - ใบงานที่ ๕.๒ ชั่วโมงที่ ๒-๓ ขั้นนำาเข้าสู่บทเรียน ๘) ครูทบทวนเรื่อง แก๊ส ธรรมชาติและแก๊สหุงต้ม คุณสมบัติพื้นฐานของแก๊ส คุณสมบัติ ของ แก๊สธรรมชาติ ถังแก๊สหุงต้ม ขั้นสอน ๙) ครูอธิบายเรื่อง ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส ความปลอดภัยและข้อควรปฏิบัติ ในงานระบบแก๊สเบื้องต้น การใช้แก๊สหุงต้ม การป้องกันอัคคีภัย ที่เกิดจากแก๊ส เทคนิควิธีการใช้ แก๊สหุงต้มอย่างประหยัดและปลอดภัย ใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธี ลด อัคคีภัยในบ้าน 70
  • 11. ๑๐) ให้นักเรียนซักถามในเรื่องที่ไม่เข้าใจ ครูสุ่มถามคำาถาม กับนักเรียน ชมเชยนักเรียนที่ตอบได้ ๑๑) นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน ศึกษาค้นคว้า เรื่อง ส่วนประกอบของอุปกรณ์หุงต้มที่ใช้แก๊ส ความปลอดภัยและ ข้อควรปฏิบัติในงานระบบแก๊สเบื้องต้น การใช้แก๊สหุงต้ม การ ป้องกัน อัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส เทคนิควิธีการใช้แก๊สหุงต้มอย่าง ประหยัดและปลอดภัย ใช้แก๊สหุงต้ม ให้ถูกวิธี ลดอัคคีภัยในบ้าน ขั้นสรุปและการประยุกต์ ๑๒)ครูแนะนำาเพิ่มเติมเกี่ยวกับผลงานที่นักเรียนนำาเสนอ ๑๓)ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปประเด็นสำาคัญ เรื่อง งานแก๊สเบื้องต้น เพื่อให้เข้าใจร่วมกัน ครูสังเกต สมรรถนะของนักเรียนและสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๑๔)นักเรียนทำากิจกรรมหรือใบงานตามที่ครูแนะนำาดังนี้ - ใบงานที่ ๕.๔ - ใบงานที่ ๕.๗ - ใบงานที่ ๕.๕ - ใบงานที่ ๕.๘ - ใบงานที่ ๕.๖ - ใบงานที่ ๕.๙ ๑๕)ให้นักเรียนทำาแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ ๙. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอม พันธ์ ๒. หนังสือเสริมฝึกประสบการณ์ งานช่าง ๑ ของสำานักพิมพ์เอม พันธ์ ๑๐. การบูรณาการ บูรณาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ได้แก่ ทักษะการเขียน รายงาน ทักษะการนำาเสนอรายงาน 71
  • 12. คำาชี้แจง : ตอนที่ ๑ ให้นักเรียนตอบคำาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้อง ๑. ลักษณะเด่นของแก๊สธรรมชาติและแก๊สหุงต้มคืออะไร ๒.สารที่เป็นกลิ่นเหม็นที่เติมลงไปในแก๊สหุงต้มชื่ออะไร มีหน้าที่ อย่างไร ๓.แก๊สหุงต้มเกิดขึ้นได้อย่างไร ๔. ค่าความถ่วงจำาเพาะแก๊สมีคุณสมบัติอย่างไร ๕. ความร้อนหรือเปลวไฟที่ได้จากแก๊สมาได้อย่างไร ๖. เชื้อเพลิงจะติดไฟได้ต้องมีองค์ประกอบใดบ้าง ๗. คุณสมบัติของแก๊สธรรมชาติมีลักษณะอย่างไร ๘.ถังแก๊สหุงต้มที่มีคุณภาพมีลักษณะอย่างไร ๙.วิธีการติดตั้งแก๊สหุงต้มที่ปลอดภัยมีวิธีการอย่างไร ๑๐. การตรวจสอบแก๊สรั่วทำาได้อย่างไร ๑๑. แก๊สหุงต้มมีกี่ประเภท อะไรบ้าง ๑๒. ถังแก๊สขนาดเล็กกับถังแก๊สขนาดใหญ่บรรจุแก๊สได้เท่าไร ๑๓. ลักษณะของสายนำาแก๊สมีลักษณะอย่างไร และความยาวของ สายนำาแก๊สมีค่าเท่าไร ๑๔. การป้องกันแก๊สรั่วทำาได้อย่างไร ๑๕. ทำาอย่างไรเมื่อแก๊สรั่ว คำาชี้แจง : ตอนที่ ๒ ให้นักเรียนเขียน  ล้อมรอบคำาตอบที่ถูกต้อง 72
  • 13. ๑. การใช้แก๊สหุงต้มให้ถูกวิธีและลดอัคคีภัยในบ้าน ควรทำาตามในข้อ ใด ก. หลังจากเลิกใช้ให้ปิดวาล์วที่เตาแก๊ส และให้ไปปิดวาล์วที่ถัง แก๊ส ข. เมื่อเริ่มใช้งานให้เปิดวาล์วที่เตาแก๊สและเปิดวาล์วที่ถังแก๊ส ค. หลังจากเลิกใช้ให้ปิดวาล์วที่ถังแก๊สแล้วจึงปิดวาล์วที่เตาแก๊ส ง. หลังจากเลิกใช้งานให้รอสักระยะแล้วจึงปิดวาล์วที่เตาแก๊ส ๒.ข้อใดเป็นการใช้แก๊สอย่างประหยัด ก. ควรเปิดเตาแก๊สทิ้งไว้ระหว่างเตรียมอาหาร ข. ภาชนะที่ใช้ไม่ควรหนาเกินไปและไม่ควรมีขี้ตะกรันจับจะทำาให้ เปลืองแก๊ส ค. ขณะที่มีลมพัดแรงควรใช้แก๊สหุงต้มเพื่อประกอบอาหาร ง. เปลวไฟของแก๊สหากเป็นสีนำ้าเงินจะให้ความร้อนตำ่าสุด ๓.เพราะเหตุใดจึงไม่นิยมกลิ้งถังแก๊ส ก. แก๊สจะแตกตัวช้า ข. แก๊สจะหายไปหมด ค. แก๊สจะมีกลิ่นเหม็น ง. อาจเกิดระเบิดขึ้นได้ ๔. ข้อใดไม่ใช่หลักปฏิบัติเมื่อแก๊สรั่ว ก. จะเกิดกลิ่นเหม็นของแก๊ส ข. ปิดวาล์วที่เตาแก๊สและหัวถังแก๊ส ค. รีบปิดวาล์วที่หัวถังและเตาแก๊ส ง. ห้ามทำา ประกายไฟบริเวณ ใกล้เคียง ๕. วิธีตรวจสอบแก๊สรั่วควรทำาตามข้อใด ก. ใช้นำ้ามันลูบไปที่ถังแก๊ส ข. ใช้นำ้าส้มสายชูลูบไปที่สายนำา แก๊ส ค. ใช้นำ้าสบู่ลูบไปที่ถังแก๊ส ง. ใช้นำ้ามันหล่อลื่นลูบไปที่สายนำา แก๊ส ๖. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของท่ออ่อนหรือเข็มขัดรัดท่อในงานระบบ แก๊ส ก. ความยาวของท่อสาย ๑๐ เมตรข.ความยาวของท่อสาย ๒ เมตร ค. ใช้สายยางชนิดพลาสติกหนา PVC ง. ต้องใช้เข็มขัดรัด ท่อถ้าเป็นท่ออ่อน ๗. ข้อใดไม่ใช่คุณสมบัติของเครื่องปรับความดันของแก๊ส ก. ต้องใช้กับแก๊สเฉพาะ LPG 73
  • 14. ข. เครื่องปรับความดันแก๊สจะต้องแข็งแรงและคงทน ค. ต้องเป็นชนิดที่มีแรงดันตำ่า ง. ต้องเป็นชนิดที่มีแรงดันสูง ๘.ข้อใดไม่ใช่อัคคีภัยที่เกิดจากแก๊ส ก. แก๊สผสมกับนำ้ามัน ข. แก๊สผสมกับอากาศ ค. มีแก๊สรั่ว ง. มีเปลวไฟออกมา ๙.องค์ประกอบของงานระบบแก๊สคืออะไร ก. ถังแก๊สกับเตาแก๊ส ข. ถังแก๊ส ท่อสาย และเครื่องปรับความดันแก๊ส ค. เตาแก๊สกับท่อสาย ง. ท่อสายกับเครื่องปรับความดันแก๊ส ๑๐. ถ้าหากเกิดไฟลุกไหม้ที่ถังแก๊สควรปฏิบัติอย่างไร ก. ใช้นำ้าสาดแรงๆ ข. ใช้นำ้ามันสาดแรงๆ ค. ใช้ทรายสาดแรงๆ ง. เอาผ้าคลุมไฟที่ติด ๑๑. การที่จะถ่ายแก๊สถังหนึ่งไปสู่อีกถังหนึ่งสมควรปฏิบัติหรือไม่ อย่างไร ก. สมควรเพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย ข.ไม่สมควร อาจทำาให้ระเบิด ได้ ค. สมควรเพราะปฏิบัติกันมานานแล้ว ง. ไ ม่ ส ม ค ว ร จ ะ ทำาให้ร้านขายแก๊สขาดทุน ๑๒. ข้อใดไม่ใช่หลักปฏิบัติความปลอดภัยเกี่ยวกับเตาแก๊ส ก. ตั้งเตาแก๊สห่างจากผนัง ๑.๕ - ๒ เมตร ข. ตั้งเตาแก๊สบริเวณ ที่เปียกชื้น ค. ห้ามนำาเตาแก๊สไปอยู่ในที่ๆ ลมพัดแรง ง. ตั้งเตาแก๊สห่าง จากผนัง ๐.๕ เมตร ๑๓. การติดไฟแก๊สโดยใช้ไฟแช็กจุดเตาแก๊สสมควรหรือไม่ อย่างไร ก. ไม่สมควร อาจทำาให้ไหม้มือได้ข.สมควรเป็นการประหยัด ค. ไม่สมควร อาจทำาให้เกิดอันตรายได้ ง. สมควรเป็นการลด รายจ่าย ๑๔. เมื่อแก๊สรั่วลักษณะของถังแก๊สจะตรงกับข้อใด 74
  • 15. ก. มีไอนวลขาวลอยออกมา ข. มีเกล็ดนำ้า แข็งสีขาวเย็นจับ บริเวณนั้นๆ ค. มีเกล็ดขาวร้อนจับบริเวณนั้นๆ ง. มีควันโขมงเต็มรอบๆ ถังแก๊ส ๑๕. อุปกรณ์ใดของระบบแก๊สที่มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้แก๊สรั่ว ก. ถังแก๊ส ข. สายนำาแก๊ส ค. เครื่องปรับความดันแก๊ส ง. ลิ้นนิรภัย ๑๖. แก๊สหุงต้มเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอะไร ก. PGL ข. LPG ค. GLP ง. LGP ๑๗. แก๊สหุงต้ม ๒ ลิตรหนักเท่าไร ก. ๐.๒ กิโลกรัม ข. ๐.๓ กิโลกรัม ค. ๐.๔ กิโลกรัม ง. ๐.๕ กิโลกรัม ๑๘. แก๊สธรรมชาติจะมีแก๊สใดเป็นส่วนใหญ่ ก. อีเทน ข. บิวเทน ค. มีเทน ง. โพรเพน ๑๙. อุณหภูมิที่จะจุดติดไฟอัตโนมัติของแก๊สมีเทนคือข้อใด ก. ๔๗๐ ํำC ข. ๓๖๕ ํำC ค. ๕๓๗ ํำC ง. ๕๕๐ ํำC ๒๐. อุณหภูมิที่จะจุดติดไฟอัตโนมัติของแก๊สโพรเพนมีกี่องศา เซลเซียส ก. ๔๗๐ ํำC ข. ๓๖๕ ํำC ค. ๕๓๗ ํำC ง. ๕๕๐ ํำC คำาชี้แจง : ตอนที่ ๓ ให้นักเรียนนำาตัวอักษรหน้าข้อความด้านขวามือ มาใส่ในช่องว่างหน้าข้อความด้านซ้ายมือ ให้ถูกต้องและสัมพันธ์กัน ๑. ................ อุ ป ก ร ณ์ ที่ เ ชื่ อ ม ต่ อ ระหว่างหัวถังกับเตาแก๊ส ก. แอลพีจี (LPG) ๒................. แก๊สหุงต้ม ข. แ ก๊ ส มีเทน ๓................. เป็นแก๊สมีเทนเป็นส่วน ใหญ่ ค. แก๊สอีเทน 75
  • 16. ๔. ................ แก๊สโพรเพนรวมกับ แก๊สบิวเทน ง. ให้ความร้อนสูง ๕. ................ เป็นส่วนผสมหลักของ แก๊สธรรมชาติ จ. ลิ้นนิรภัย ๖. ................ บิวเทนร้อยละ ๓๐ กับ โพรเพนร้อยละ ๗๐ ฉ.สายนำาแก๊ส ๗. ................ มาจากการกลั่นนำ้ามันที่ มีอยู่ในแก๊สธรรมชาติ ช.แก๊สโพรเพน ๘................. แก๊สมีเทน ซ. แ ก๊ ส ธรรมชาติ ๙................. ปนอยู่ในแก๊สธรรมชาติ ฌ. แก๊สปิโตรเลียมเหลว ๑๐. ................ ป้องกันการรั่วของแก๊ส ญ. แก๊สหุงต้ม บันทึกหลังการสอน ๑. ผลการสอน ……………………………………………………………………… ……………………………. 76
  • 17. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ๓. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. 77
  • 18. ……………………………………………………………………… ……………………………. ลงชื่อ...............................................ครูผู้สอน (.................................. .............) วันที่.......เดือน..........................พ.ศ. ............ ๔. ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบ หมาย ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ……………………………………………………………………… ……………………………. ลงชื่อ............................................................... (...................... ......................................) 78