SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้
เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงาน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ซอฟต์แวร์ที่เหมาะกับงาน เวลา 2 ชั่วโมง
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตัวชี้วัด
ม 3/3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน
การนาเสนอ คืออะไร
การนาเสนอ ถือเป็นทักษะที่จาเป็นของคนทางานทั้งในสังคมธุรกิจ และงานราชการ ที่จะเป็นส่วน
หนึ่งนาไปสู่ ความสาเร็จในหน้าที่การงาน การที่จะประสบความสาเร็จในการนาเสนอที่ดี ผู้นาเสนอจะต้องมี
ความเข้าใจในความหมาย ความสาคัญของการนาเสนอ ต้องเป็นผู้ที่รู้รูปแบบ ขั้นตอนของการนาเสนอ รู้
ลักษณะของการนาเสนอที่ดี เสริมสร้างคุณสมบัติ ลักษณะของตัวตน รวมถึงพัฒนาทักษะที่เป็นตัวตนเป็น
เอกลักษณ์ในการนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของการนาเสนองาน
1. เพื่อให้ผู้รับสารทราบข้อมูลหรือความรู้ตามที่ผู้ส่งสารต้องการถ่ายทอด
2. เพื่อให้ผู้รับสารเกิดการเรียนรู้และเข้าใจสิ่งที่ผู้รับสารเกิดการเรียนรู้และเข้าใจสิ่งที่ผู้ส่งสารต้องการ
สื่อสารได้อย่างชัดเจน
3. เพื่อโน้มน้าวใจของผู้รับสารให้เกิดการยอมรับตามที่ผู้ส่งสารต้องการ
การนาเสนอ(Presenting)
เป็นศาสตร์(วิธีการ)ของการสื่อสาร(Communication) ซึ่งเป็นกระบวนการถ่ายทอด สาร
(message) จากฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้ส่งสาร(sender)ไปสู่อีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับสาร(receiver) โดยผ่าน
ช่องทานของ สื่อ(channel)
ความหมายของคาว่า การนาเสนอ
การนาเสนอ คือ กระบวนการ วิธีการ เพื่อให้รู้ ให้ทราบ ให้เข้าใจ ในกิจกรรมขององค์กร ของสถาบัน
ของหน่วยงาน ได้อย่างชัดเจน
การนาเสนอ คือ การถ่ายทอดเนื้อหา สาระที่ผสมผสานกันระหว่าง ศิลปะการพูด กับ การแสดงข้อมูล
ในรูปแบบต่างๆ ผ่านสื่อและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
ลักษณะและรูปแบบการนาเสนอ รูปแบบการนาเสนอ(ที่นิยมใช้) มี 3 วิธีการ คือ
1. มี ผู้นาเสนอ และใช้ เอกสารประกอบ(Handout)เป็นส่วนร่วมในการนาเสนอ
2. มี ผู้นาเสนอ ใช้ วัสดุ-อุปกรณ์เครื่องฉาย เป็นสื่อ และมี เอกสารประกอบ เป็นส่วนร่วม
3. จัดเป็น Display ในรูปของนิทรรศการ ที่ใช้ Post line เป็นเส้นนาทาง และ(อาจ)มี เอกสาร
ประกอบ เป็นส่วนร่วม
ประเภทของสื่อนาเสนอ
สื่อเพื่อการนาเสนอโครงการ(กิจกรรม)
1. สื่อเพื่อสรุปโครงการ(กิจกรรม)
2. สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์
3. สื่อประกอบการบรรยาย
องค์ประกอบของสื่อนาเสนอ
หากจะแบ่งสื่อนาเสนอออกเป็นส่วนๆ ควรประกอบด้วย 3 ส่วน คือ
1. ส่วนนาเรื่อง Beginning
2. ส่วนเนื้อหา Middle
3. ส่วนท้ายเรื่อง End
โดยในการนาเสนอนั้น จะแบ่งทั้ง 3 ส่วน อัตราส่วน ส่วนนาเรื่องและส่วนท้ายเรื่อง รวมกัน 20-25%
ส่วนเนื้อหา 75-80%
1. สื่อเพื่อการนาเสนอโครงการ(กิจกรรม) จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้
1.1 ส่วนนาเรื่อง Beginning
1.2 บอกชื่อเรื่อง บอกวัตถุประสงค์ของโครงการ รวมถึงสาระสาคัญของโครงการ
1.3 ส่วนเนื้อหา Middleส่วนนี้จะบอกในส่วนขององค์ประกอบหรือขั้นตอนของกิจกรรม
หลักๆของโครงการ
1.4 ส่วนท้ายเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนที่แสดงให้ผู้ฟังรับทราบว่าสิ้นโครงการนี้ จะได้ อะไร
2.สื่อเพื่อสรุปโครงการ(กิจกรรม) จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้
2.1 ส่วนนาเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง รวมถึงต้องบอกความเป็นมาของโครงการ
2.2 ส่วนเนื้อหา Middleส่วนนี้จะสรุปขั้นตอนของการดาเนินการของโครงการ
2.3 ส่วนท้ายเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนสรุปผล ประเด็นปัญหา อุปสรรค ข้อจากัดในการ
ดาเนินการ และข้อเสนอแนะที่ผู้ดาเนินการเห็นว่าควรนาเสนอ
3.สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้
3.1 ส่วนนาเรื่อง Beginning
เป็นส่วนเริ่มต้นที่จะมีชื่อเรื่องหรือไม่ก็ได้ โดยปกติจะเป็นสื่อแนะนาหน่วยงาน ซึ่งอาจจะเริ่มด้วยสภาพ บริบท
บทบาทหน้าที่หรือภารกิจหลักในภาพรวม ของหน่วยงาน
3.2 ส่วนเนื้อหา Middleส่วนนี้อาจเป็นส่วนการนาเสนอโครงสร้าง อธิบายภารกิจ
กิจกรรมที่ดาเนินการ
3.3 ส่วนท้ายเรื่อง Endส่วนแสดงถึงผลงานที่ดีเด่น อาจจะปิดท้ายด้วยคาขวัญหรือปรัชญา
ขององค์กร
4.สื่อประกอบการบรรยาย จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้
4.1 ส่วนนาเรื่อง Beginning
บอกชื่อเรื่อง และหัวข้อเรื่องต่างๆที่จะบรรยายหรือที่จะนาเสนอ
4.2 ส่วนเนื้อหา Middleส่วนนี้เป็นส่วนนาเสนอเนื้อหา ซึ่งจะต้องนาเสนออย่างเป็นขั้นเป็น
ตอน พร้อมทั้งมีตัวอย่างแทรก
4.3 ส่วนท้ายเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนสรุปประเด็นที่สาคัญของเนื้อหา รวมถึงเป็นช่วงการ
ตอบปัญหา ซักถาม
สื่อทั้ง 4 ดังที่กล่าวในข้างต้น จะมีจุดประสงค์ในการนาไปใช้ 2 สถานะ
1.Self media presenting
เป็นสื่อที่นาเสนอเรื่องราวด้วยตัวของมันเอง ในลักษณะแบบต่อเนื่อง คล้ายวิดีทัศนื หรือภาพยนตร์ โปรแกรม
นาเสนอแบบนี้ ที่นิยมใช้ก็มีหลายโปรแกรม อาทิ
2.Benefit media presenting
เป็นสื่อที่ใช้ประกอบการบรรยายหรือการนาเสนอ ซึ่งโปรแกรมนาเสนอประเภทนี้ที่นิยมใช้มากที่สุดก็คือ
PowerPoint
การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับการนาเสนองาน
เมื่อก่อนการนาเสนองานในชั้นเรียนหรือการประชุมนิยมใช้แผ่นโปร่งใสและเครื่องฉายแผ่นสไลด์ ซึ่ง
งานนาเสนอจะดึงดูดความสนใจของผู้รับสารได้น้อย แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบของซอฟต์แวร์
ประยุกต์ทาให้การนาเสนองานที่ทาได้สะดวกและง่ายอีกทั้งยังผลิตผลงานนาเสนอที่สวยงามและมีเทคนิคที่ทา
ให้ดึงดูดความสนใจของผู้รับสารได้อย่างต่อเนื่อง
3.1 การเลือกใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation Software)
ซอฟต์แวร์นาเสนอ เป็นโปรแกรมที่ใช้นาเสนอข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นซอฟต์แวร์
ประยุกต์ที่สามารถนาเสนอข้อมูลในรูปแบบตัวอักษร ตาราง กราฟ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ทาให้
งานนาเสนอมีรูปแบบที่หลากหลายส่งผลให้ผู้รับสารสนใจและเข้าใจผู้ใช้ที่สามารถสร้างได้อย่างง่ายดายในเวลา
ที่รวดเร็ว
ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ
การทางานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จาเป็นต้อง
เลือกหาซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการนั้นๆ โดยเฉพาะ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน นาเสนองาน จัดทาบัญชี
ตกแต่งภาพ ออกแบบเว็บไซต์
ซอฟต์แวร์นาเสนอที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มี 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์ ที่ผู้ใช้ต้องซื้อจากบริษัท
ผู้เป็นเจ้าของ ได้แก่ ไมโครซอฟต์ พาวเวอร์พอยต์ โลตัส ฟรีแลนต์กราฟิก โครเรล พรีเซ็นเทชัน กราฟิก และ
ซอฟต์แวร์เปิดเผยรหัส ได้แก่โอเพน ออฟฟิศ ปลาดาวออฟฟิศ อิมเพรส ที่ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี
3.2 ซอฟต์แวร์กราฟิก แอนิเมชัน และมัลติมีเดีย
ซอฟต์แวร์กราฟิกและแอนนิเมชัน เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการตกแต่งภาพและการสร้าง
ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนาภาพหรือภาพเคลื่อนไหวดังกล่าวไปใช้ในซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์ ได้แก่ อะโดบี โฟโต้ช็อป
(adobe photoshop) อะโดบีแฟลช (adoby flash) อะโดบี และแคปติเวท (adoby captivate)
อะโดบีโฟโตชอป (adobe photoshop) เป็นโปรแกรมประยุกต์ด้านกราฟิกสาหรับจัดการแก้ไขและ
ตกแต่งรูปภาพ (photo editting and retouching) โฟโตชอปสามารถจัดการไฟล์ได้หลากหลายประเภท เช่น
JPG, GIF, PNG, TIF, TGA ปัจจุบันโฟโตชอปได้มีการพัฒนามาถึงรุ่น Cs6
อะโดบี แฟลช (adoby flash) เป็นแปรแกรมประยุกต์ด้านกราฟิกสาหรับสร้างภาพเคลื่อนไหว
(Animation) จากภาพเสียงโดยสามารถสร้างสื่อที่มีความสามารถในการโต้ตอบ (Interachtive) กับผู้ใช้อะโด
บี แฟลช จึงนิยมใช้ผลิตสื่อนาเสนอเกม ภาพยนต์การ์ตูนแอนิเมชัน เป็นต้น
อะโดบี แคปติเวท (Adoby captivate ) เป็นโปรแกรมประยุกต์ด้านกราฟิกสาหรับสื่อเพื่อการศึกษา
ซึ่งรองรับรับไฟล์มัลติมีเดีย ได้แก่ ภาพ เสียง การบรรยายผ่านไมโครโฟน พร้อมจับหน้าจอภาพ การตัดต่อ
วีดีโอ เป็นต้น
อุปกรณ์ดิจิทัลที่ช่วยในการนาเสนอผลงาน
อุปปกรณ์ดิจิทัลที่สามารถถ่ายทอดภาพและเสียงในงานนาเสนอเพื่อให้งานนาเสนอมีคุณภาพ เข้าถึง
ผู้ชมและผู้ฟังได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีดังนี้
1. โพรเจกเตอร์ (Projector) เป็นอุปกรณ์ฉายภาพที่ใช้ในการนาเสนอ โดยสามารถรองรับสัญญาณ
ภาพจากคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นวีซีดี เครื่องเล่นดีวีดี และเครื่องกาเนิดภาพอื่น ๆ แล้วแสดงผล ขยายขนาดบน
จอรับภาพช่วยให้มองเห็นได้ไกลขึ้น เหมาะสาหรับการนาเสนอข้อมูลในห้องประชุม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุม
สามารถมองเห็นภาพหรือข้อความได้อย่างชัดเจน
2. วิชวลไลเซอร์ (Visualizer) เป็นอุปกรณ์ฉายภาพระบบดิจิทัลประเภทหนึ่ง ซึ่งพัฒนามาจากโอเวอร์
เฮดหรือเครื่องฉายข้ามศีรษะ ใช้แสดงภาพวัตถุและเอกสารสู่จอรับภาพที่มีอยู่จริงได้เลย โดยไม่ต้องดัดแปลง
อุปกรณ์นี้เหมาะสาหรับใช้ในการนาเสนองานต่าง ๆ โดยเฉพาะครู-อาจารย์ที่สอนหนังสือ และใช้ได้ดีในการ
นาเสนอภาพนิ่งมากกว่าภาพเคลื่อนไหว แต่ภาพที่แสดงออกมานั้นก็ให้ความคมชัด มีสีสดใส และมีโหมดของ
การแสดงภาพให้ปรับการทางานด้วย การควบคุมการทางานสามารถทาได้โดยใช้รีโมต
3. กล้องถ่ายรูปดิจิทัล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับภาพที่เปลี่ยนจากฟิล์มมาเป็นอุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเมื่อถ่ายรูปที่ต้องการแล้ว รูปจะถูกเก็บลงในหน่วยความจา (memory) ที่อยู่ในกล้อง เมื่อ
ต้องการดูรูปทาได้โดยการถ่ายข้อมูลจากหน่วยความจาลงบนเครื่องพิมพ์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาพที่ได้จะมี
ขนาดตามที่ต้องการ สามารถย่อหรือขยาย ปรับแสงหรือเงาแล้วแต่ความพอใจหรือจะเพิ่มรูปแบบก็สามารถทา
ได้ และเมื่อจะถ่ายใหม่ ก็สามารถใช้หน่วยความจาเดิมได้เลย โดยไม่ต้องเสียเงินซื้อฟิล์ม
4. กล้องถ่ายวีดิทัศน์ดิจิทัล เป็นอุปกรณ์รับภาพที่บันทึกข้อมูล ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เก็บ
ไว้ในหน่วยความจาแบบแฟลชภายในกล้อง สามารถย่อหรือขยาย ปรับแสงเงาของภาพได้ และในปัจจุบัน
สามารถคัดลอกข้อมูลลงในแผ่นดีวีดีได้เลย โดยไม่ต้องโอนลงในเครื่องคอมพิวเตอร์
5. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึกหรือโน้ตบุ๊ก เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สร้างงาน
นาเสนอ เป็นสื่อกลางในการเชื่อมโยงอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น โพรเจกเตอร์ เพื่อนาเสนองาน และใช้นาเสนองาน
ผ่านจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์
6. เครื่องเล่นเสียง หรือเครื่องเล่นเอ็มพีสาม (MP3) เป็นอุปกรณ์ซึ่งบรรจุข้อมูลเสียงที่ใช้เล่นใน
คอมพิวเตอร์และสามารถถ่ายโอนข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้ โดยข้อมูลเสียงนั้นใช้เทคโนโลยีบีบอัดให้มี
ขนาดเล็กลงมากกว่าข้อมูลเสียงปกติถึง 12 เท่า แม้ขนาดข้อมูลจะเล็กลง แต่คุณภาพเสียงไม่ได้เสียไป อย่างไร
ก็ตาม หากเรานาข้อมูลเสียงจากเครื่องเล่น MP3 ไปเล่นในเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นเก่า จะได้เสียงในลักษณะ
กระตุกหรือใช้การไม่ได้เลย
7. โทรศัพท์เคลื่อนที่บางรุ่น เป็นอุปกรณ์ตัวกลางที่ผู้ใช้สามารถนาเสนองานที่สร้างด้วยซอฟต์แวร์
ไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์ผ่านเครื่องโพรเจกเตอร์ได้สะดวก ง่ายต่อการติดตั้ง เพียงเชื่อมต่อโพรเจกเตอร์เข้า
กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านสายเคเบิล แล้วเชื่อมต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วยบลูทูธนอกจากอุปกรณ์ดิจิทัลที่ช่วยใน
การนาเสนอผลงานแล้ว ยังมีส่วนประกอบที่สาคัญในการนาเสนองานคือ คาบรรยาย หรือบทพากย์ ซึ่งเป็น
องค์ประกอบด้านโสตหรือเสียงนั่นเอง โดยมีวิธีการและหลักในการพิจารณาดังนี้
1. การบรรยายสด เหมาะสาหรับการประชุมหรือสัมมนาที่ต้องการให้ผู้ชมมีส่วนร่วม เพราะผู้บรรยาย
ในกรณีนี้เป็นผู้ที่รู้เรื่องราวเกี่ยวกับเนื้อหาเป็นอย่างดีรู้ว่าควรจะเน้นตรงจุดใดและปฏิกิริยาจากผู้ชมทาให้
ผู้บรรยายรู้ว่าผู้ชมสามารถติดตามทาความเข้าใจได้เพียงพอหรือไม่รู้ว่าส่วนไหนจะต้องอธิบายขยายความมาก
น้อยเพียงใด
2. การพากย์ เหมาะสาหรับเนื้อหาที่สามารถถ่ายทอดได้โดยไม่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ชม ข้อดี
คือสามารถเลือกใช้เสียงพากย์ที่มีความไพเราะน่าฟัง สามารถเลือกใช้ดนตรี หรือเสียงประกอบ (Sound
effect) เพื่อสร้างบรรยากาศ แต่ข้อเสียคือไม่มีความยืดหยุ่น ไม่สามารถปรับให้เหมาะสมกับความรู้สึกของผู้ชม
ในขณะนั้น
การพัฒนาผลงานนาเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของสื่อ
เมื่อพิจารณาคาว่า “สื่อ” ในภาษาไทยกับคาในภาษาอังกฤษ พบว่ามีความหมายตรงกับคาว่า
“media” (ในกรณีที่มีความหมายเป็นเอกพจน์จะใช้คาว่า “medium”)
คา ว่า “สื่อ” ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ ความหมายของคานี้ไว้ดังนี้ “สื่อ (กริยา)
หมายถึง ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย, ชักนาให้รู้จักกัน สื่อ (นาม) หมายถึง ผู้หรือสิ่งที่ติดต่อให้ถึงกัน
หรือชักนาให้รู้จักกัน เช่น เขาใช้จดหมายเป็นสื่อติดต่อกัน, เรียกผู้ที่ทาหน้าที่ชักนาให้ชายหญิงได้แต่งงานกันว่า
พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ; (ศิลปะ) วัสดุต่างๆ ที่นามาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมายตามแนวคิด ซึ่งศิลปิน
ประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่อผสม”
นักเทคโนโลยีการศึกษาได้มีการนิยามความหมายของคาว่า “สื่อ” ไว้ดังต่อไปนี้
Heinich และคณะ (1996) Heinich เป็นศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีระบบการเรียนการสอน ของ
มหาวิทยาลัยอินเดียน่า (Indiana University) ให้คาจากัดความคาว่า “media” ไว้ดังนี้ “Media is a
channel of communication.” ซึ่งสรุปความเป็นภาษาไทยได้ดังนี้ “สื่อ คือช่องทางในการติดต่อสื่อสาร”
Heinich และคณะยังได้ขยายความเพิ่มเติมอีกว่า “media มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า
ระหว่าง (between) หมายถึง อะไรก็ตามซึ่งทาการบรรทุกหรือนาพาข้อมูลหรือสารสนเทศ สื่อเป็นสิ่งที่อยู่
ระหว่างแหล่งกาเนิดสารกับผู้รับสาร”
A. J. Romiszowski (1992) ศาสตราจารย์ทางด้านการออกแบบ การพัฒนา และการประเมินผลสื่อการเรียน
การสอน ของมหาวิทยาลัยซีราคิวส์ (Syracuse University) ให้คาจากัดความคาว่า “media” ไว้ดังนี้ “the
carriers of messages, from some transmitting source (which may be a human being or an
inanimate object) to the receiver of the message (which in our case is the learner)” ซึ่งสรุป
ความเป็นภาษา ไทยได้ดังนี้ “ตัวนาสารจากแหล่งกาเนิดของการสื่อสาร (ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์หรือวัตถุที่ไม่มี
ชีวิต ) ไปยังผู้รับสาร (ซึ่งในกรณีของการเรียนการสอนก็คือ ผู้เรียน)”
ดัง นั้นจึงสรุปได้ว่า สื่อ หมายถึง สิ่งใดๆ ก็ตามที่เป็นตัวกลางระหว่างแหล่งกาเนิดของสารกับผู้รับสาร เป็นสิ่งที่
นาพาสารจากแหล่งกาเนินไปยังผู้รับสาร เพื่อให้เกิดผลใดๆ ตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร
การแบ่งประเภทของสื่อ
การแบ่งประเภทของสื่อ นักวิชาการได้แบ่งไว้หลายรูปแบบ ได้แก่
1. แบ่งประเภทของสื่อออกเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังนี้
1.1 สื่อสิ่งพิมพ์ (Printed Media) ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หนังสือ ภาพถ่าย
1.2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์
2. แบ่งประเภทของสื่อออกเป็นสื่อที่รับรู้โดยการฟังหรือสื่อโสต การเห็นหรือสื่อทัศน์ และทั้งการฟัง
และการมองเห็นหรือสื่อโสตทัศน์ ดังนี้
2.1สื่อโสต (Audio Media ) ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง เทป
2.2 สื่อทัศน์ ( Visual Media) ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หนังสือ ภาพถ่าย
3. แบ่งประเภทของสื่อเป็นสื่อร้อนและสื่อเย็น ดังนี้
3.1 สื่อร้อน (Hot Media) สื่อ ที่นาสารส่งไปยังผู้รับสาร และผู้รับสารไม่ได้มีส่วนร่วมในการส่งสาร
เลย ผู้รับสารไม่ต้องใช้ความพยายามใด เพื่อให้ได้สารที่สมบูรณ์ เพราะมีคนจัดคอยดูแลให้ เช่น ภาพยนตร์ มี
ช่างเทคนิคของโรงภาพยนตร์ได้จัดการฉายให้ชม เป็นต้น
3.2 สื่อเย็น (Cool Media) คือ สื่อที่นาข่าวสารไปยังผู้รับ โดยบางครั้ง ผู้รับสารจาเป็นต้องมีส่วน
ร่วมในการพยายามให้ได้ข่าวสารที่สมบูรณ์ เช่น วิทยุโทรทัศน์ภาพล้ม ผู้ชมต้องปรับภาพ เป็นต้น
4. การแบ่งประเภทของสื่อโดยธรรมชาติในการนาสาร ดังนี้
4.1 สื่อวัจนะ ได้แก่ สื่อที่นาสารในลักษณะที่เป็นภาษาพูด ภาษาเขียน เช่น การพูด การเขียน ทาง
สื่อมวลชนต่าง ๆ เป็นต้น
4.2 สื่ออวัจนะ ได้แก่สื่อที่นาสารซึ่งไม่เป็นภาษาพูด แต่เป็นสัญลักษณ์ เครื่องหมาย (Signs) และ
อากัปกิริยา การเคลื่อนไหวของร่างกาย ริมฝีปาก การแสดงออกบนใบหน้า นัยน์ตา การขมวดคิ้ว การใช้
สัญญาณมือ การสัมผัส การใช้สัญญาณไฟ การตีเกราะ กลอง การยิงพลุเพื่อขอความช่วยเหลือของผู้ที่รอดชีวิต
จากเครื่องบินตก หรือเรืออับปราง สัญญาณจราจร ป้ายทางเข้าออก ทางไปห้องน้าชาย – หญิง ฯลฯ
นอกจากนั้น ยังมีสื่อวัฒนธรรมหรือสื่อพื้นบ้าน เช่น ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน ดนตรี การแต่งกาย และสื่อ
ทัศนศิลป์
5. การแบ่งประเภทของสื่อ ตามรูปแบบและสถานการณ์การสื่อสาร สามารถแบ่งสื่อได้เป็น 3 ลักษณะ
ดังนี้
5.1 สื่อภายในบุคคล ( Intrapersonal Communication) เป็น การสื่อสารกับตนเอง หรือการส่ง
สารของบุคคลคนเดียว แต่ละบุคคลมีการสื่อสารภายในตนเองทุกคน เนื้อหาสาระในการสื่อสารมาจาก
ประสบการณ์ ข่าวสาร และข้อมูลที่แต่ละคนได้รับ ตัวบุคคลจึงนับได้ว่าเป็นสื่อหรือช่องทางในการสื่อสารกับ
ตนเอง หรือการสื่อสารภายในบุคคล
5.2 สื่อระหว่างบุคคล ( Interpersonal Communication) การสื่อสารระหว่างบุคคลเป็นรูปแบบ
ของการสื่อสารตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป สื่อที่ใช้ในการสื่อสารประเภทนี้ คือ สื่อบุคคล บุคคลได้มีการพูดกันอย่างเป็น
ทางการ และไม่เป็นทางการ ได้ติดต่อสื่อสารกันทางจดหมาน โทรเลข โทรศัพท์ โทรพิมพ์ เทเลคอมเฟอเร็นซ์
การสื่อสารระหว่างบุคคลนั้น ผู้ส่งสารรู้แน่ชัดว่าเป็นกลุ่มใด ผลสะท้อนกลับจากผู้รับสารก็มีได้ง่ายกว่า สื่อหรือ
ช่องทางการสื่อสารสามารถใช้นาสารได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ
5.3 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เป็นการแบ่งประเภทสื่อโดยอาศัยการรับรู้ผ่าน
ประสาทสัมผัสเป็นหลัก คือ
1. สื่อที่รับได้ด้วยการมองเห็น หรือสื่อทัศน์ (Visual Media) ได้แก่ หนังสือพิมพ์ (Newspaper)
ภาพถ่าย( Photography)
2. สื่อที่รับได้ด้วยการฟัง (Audio Media) หรือสื่อโสต ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง
3. สื่อไที่รับได้ด้วยการฟังและการมองเห็น หรือสื่อโสตทัศน์ (Audio-Visual Media) ผู้รับสารรับสาร
โดยการมองเห็นและการได้ยินพร้อม ๆ กัน ได้แก่ วิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ วีดิโอ (Video) วีดิโอดิส (
Videodise) การแสดงบนเวที ( Theatre) เช่น ละคร ดนตรี อุปรากร การฟ้อนรา เป็นต้น
6. การแบ่งประเภทของสื่อเป็นสื่อสนับสนุน ( Supporting Channels) แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้
6.1 สื่อสนับสนุนในการบันทึกข่าวสาร คือ โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับการพิมพ์ การบันทึกเสียง
การบันทึกภาพ ซึ่งต้องอาศัยเครื่องพิมพ์ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องเล่นแผ่นเสียง กล้องถ่ายรูป และวัสดุรองรับ
สาร ได้แก่ กระดาษ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ ฟิล์ม แผ่นเสียง เป็นต้น
6.2 สื่อสนับสนุนในการขนส่งข่าวสาร คือ โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับระบบการคมนาคม
(Transportation) และบริการไปรษณีย์ ( Postal Services) ได้แก่ เครือข่ายของเส้นทางคมนาคมทางบก
ทางอากาศ ทางเรือ ยานพาหนะ บริการส่งจดหมาย และไปรษณีย์ภัณฑ์ อื่น ๆ
6.3 สื่อสนับสนุนในการถ่ายทอดข่าวสาร เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยให้การถ่ายทอดข่าวสาร (
Transmission of messages) จาก ที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ถ่ายทอดสัญญาณผ่าน
ระบบสาย ระบบวิทยุ ระบบแสง และระบบสื่อสารดาวเทียม ซึ่งอาจเรียกรวมกันว่า “การสื่อสาร
โทรคมนาคม” (Telecommunication) หรือสื่อส่งสัญญาณ (Transmission Media) ได้แก่ โทรเลข ดทร
ศัพท์ โทรพิมพ์ โทรภาพ โทรสาร โทรทัศน์ตามสาย วิทยุคมนาคม เป็นต้น
ในที่นี้ จะพิจารณาเรื่องสื่อ ตามเหตุการณ์ท่างการสื่อสารตามลาดับ ( Chronology of Communication
Events)
ใบงานที่ 4
เรื่อง การออกแบบบทดาเนินเรื่อง
คาสั่ง ให้นักเรียนปฏิบัติตามคาสั่งต่อไปนี้
1. ให้นักเรียนแต่ละคนออกแบบบทดาเนินเรื่อง (storyboard) จากโครงงานที่นักเรียนเลือกมา
ออกแบบการนาเสนองาน
การออกแบบบทดาเนินเรื่อง (storyboard)
สไลด์ รายละเอียดสไลด์
ตัวอักษร
ภาพ
เสียง
เทคนิค
2. ให้นักเรียนเลือกใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอมาสร้างงานนาเสนอ
3. ให้นักเรียนแต่ละคนมานาเสนอหน้าชั้นเรียน เพื่อให้เพื่อนร่วมชั้นรวมทั้งครูผู้สอนตัดสิว่าโครงงาน
ใครดีที่สุด

More Related Content

What's hot

โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
peepee kullabut
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
jamiezaa123
 
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
Phans Chatch
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
jamiezaa123
 
Worksheet 2-8
Worksheet 2-8Worksheet 2-8
Worksheet 2-8
Kwang Hydra
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
Thanapon Seadthaisong
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์weerapon0955652023
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
karakas14
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Nattawatking
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
Nichakarnkvc
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์Thanakon504
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์kamonrat5626
 
03 14-2562-presentation3
03 14-2562-presentation303 14-2562-presentation3
03 14-2562-presentation3
SirasornChantaramano1
 

What's hot (19)

โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
การสร้างงานด้วยภาษาคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ เรื่อง ระบบปฏิบัติการ .
 
Worksheet 2-8
Worksheet 2-8Worksheet 2-8
Worksheet 2-8
 
โครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการโครงงานระบบปฏิบัติการ
โครงงานระบบปฏิบัติการ
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เส็ดแล้ว
เส็ดแล้วเส็ดแล้ว
เส็ดแล้ว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์ โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
08
0808
08
 
08
0808
08
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์คโครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
โครงงานโปรเจ็คเวิร์ค
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
03 14-2562-presentation3
03 14-2562-presentation303 14-2562-presentation3
03 14-2562-presentation3
 

Similar to ใบความรู้ที่4

ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8warangnan
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8warangnan
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8Yokyok' Nnp
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8Yokyok' Nnp
 
ใบงานที่ 8 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์kwangslideshare
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ไกรลาศ จิบจันทร์
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Thanat Suriyawong
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2Kamonthip Konkaew
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2Kamonthip Konkaew
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2Kamonthip Konkaew
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
Peem Jirayut
 
Unit2.1
Unit2.1Unit2.1
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
pattanan sabumoung
 
ใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดNoot Ting Tong
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศOrapan Chamnan
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
Orapan Chamnan
 

Similar to ใบความรู้ที่4 (20)

08
0808
08
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 8 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งานซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
ซอร์ฟแวร์และการเลือกใช้งาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่  3ใบงานที่  3
ใบงานที่ 3
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
 
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
Unit2.1
Unit2.1Unit2.1
Unit2.1
 
Computer maintenance
Computer maintenanceComputer maintenance
Computer maintenance
 
8
88
8
 
ใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปดใบงานมราเเปด
ใบงานมราเเปด
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ใบงาน8
ใบงาน8ใบงาน8
ใบงาน8
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ใบความรู้ที่4

  • 1. ใบความรู้ เรื่อง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนาเสนอผลงาน หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ซอฟต์แวร์ที่เหมาะกับงาน เวลา 2 ชั่วโมง -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตัวชี้วัด ม 3/3 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศนาเสนองานในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน การนาเสนอ คืออะไร การนาเสนอ ถือเป็นทักษะที่จาเป็นของคนทางานทั้งในสังคมธุรกิจ และงานราชการ ที่จะเป็นส่วน หนึ่งนาไปสู่ ความสาเร็จในหน้าที่การงาน การที่จะประสบความสาเร็จในการนาเสนอที่ดี ผู้นาเสนอจะต้องมี ความเข้าใจในความหมาย ความสาคัญของการนาเสนอ ต้องเป็นผู้ที่รู้รูปแบบ ขั้นตอนของการนาเสนอ รู้ ลักษณะของการนาเสนอที่ดี เสริมสร้างคุณสมบัติ ลักษณะของตัวตน รวมถึงพัฒนาทักษะที่เป็นตัวตนเป็น เอกลักษณ์ในการนาเสนออย่างมีประสิทธิภาพ วัตถุประสงค์ของการนาเสนองาน 1. เพื่อให้ผู้รับสารทราบข้อมูลหรือความรู้ตามที่ผู้ส่งสารต้องการถ่ายทอด 2. เพื่อให้ผู้รับสารเกิดการเรียนรู้และเข้าใจสิ่งที่ผู้รับสารเกิดการเรียนรู้และเข้าใจสิ่งที่ผู้ส่งสารต้องการ สื่อสารได้อย่างชัดเจน 3. เพื่อโน้มน้าวใจของผู้รับสารให้เกิดการยอมรับตามที่ผู้ส่งสารต้องการ การนาเสนอ(Presenting) เป็นศาสตร์(วิธีการ)ของการสื่อสาร(Communication) ซึ่งเป็นกระบวนการถ่ายทอด สาร (message) จากฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่าผู้ส่งสาร(sender)ไปสู่อีกฝ่ายหนึ่งที่เรียกว่า ผู้รับสาร(receiver) โดยผ่าน ช่องทานของ สื่อ(channel) ความหมายของคาว่า การนาเสนอ การนาเสนอ คือ กระบวนการ วิธีการ เพื่อให้รู้ ให้ทราบ ให้เข้าใจ ในกิจกรรมขององค์กร ของสถาบัน ของหน่วยงาน ได้อย่างชัดเจน การนาเสนอ คือ การถ่ายทอดเนื้อหา สาระที่ผสมผสานกันระหว่าง ศิลปะการพูด กับ การแสดงข้อมูล ในรูปแบบต่างๆ ผ่านสื่อและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม ลักษณะและรูปแบบการนาเสนอ รูปแบบการนาเสนอ(ที่นิยมใช้) มี 3 วิธีการ คือ 1. มี ผู้นาเสนอ และใช้ เอกสารประกอบ(Handout)เป็นส่วนร่วมในการนาเสนอ
  • 2. 2. มี ผู้นาเสนอ ใช้ วัสดุ-อุปกรณ์เครื่องฉาย เป็นสื่อ และมี เอกสารประกอบ เป็นส่วนร่วม 3. จัดเป็น Display ในรูปของนิทรรศการ ที่ใช้ Post line เป็นเส้นนาทาง และ(อาจ)มี เอกสาร ประกอบ เป็นส่วนร่วม ประเภทของสื่อนาเสนอ สื่อเพื่อการนาเสนอโครงการ(กิจกรรม) 1. สื่อเพื่อสรุปโครงการ(กิจกรรม) 2. สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ 3. สื่อประกอบการบรรยาย
  • 3. องค์ประกอบของสื่อนาเสนอ หากจะแบ่งสื่อนาเสนอออกเป็นส่วนๆ ควรประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1. ส่วนนาเรื่อง Beginning 2. ส่วนเนื้อหา Middle 3. ส่วนท้ายเรื่อง End โดยในการนาเสนอนั้น จะแบ่งทั้ง 3 ส่วน อัตราส่วน ส่วนนาเรื่องและส่วนท้ายเรื่อง รวมกัน 20-25% ส่วนเนื้อหา 75-80% 1. สื่อเพื่อการนาเสนอโครงการ(กิจกรรม) จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้ 1.1 ส่วนนาเรื่อง Beginning 1.2 บอกชื่อเรื่อง บอกวัตถุประสงค์ของโครงการ รวมถึงสาระสาคัญของโครงการ 1.3 ส่วนเนื้อหา Middleส่วนนี้จะบอกในส่วนขององค์ประกอบหรือขั้นตอนของกิจกรรม หลักๆของโครงการ 1.4 ส่วนท้ายเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนที่แสดงให้ผู้ฟังรับทราบว่าสิ้นโครงการนี้ จะได้ อะไร 2.สื่อเพื่อสรุปโครงการ(กิจกรรม) จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้ 2.1 ส่วนนาเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง รวมถึงต้องบอกความเป็นมาของโครงการ 2.2 ส่วนเนื้อหา Middleส่วนนี้จะสรุปขั้นตอนของการดาเนินการของโครงการ 2.3 ส่วนท้ายเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนสรุปผล ประเด็นปัญหา อุปสรรค ข้อจากัดในการ ดาเนินการ และข้อเสนอแนะที่ผู้ดาเนินการเห็นว่าควรนาเสนอ 3.สื่อเพื่อการประชาสัมพันธ์ จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้ 3.1 ส่วนนาเรื่อง Beginning เป็นส่วนเริ่มต้นที่จะมีชื่อเรื่องหรือไม่ก็ได้ โดยปกติจะเป็นสื่อแนะนาหน่วยงาน ซึ่งอาจจะเริ่มด้วยสภาพ บริบท บทบาทหน้าที่หรือภารกิจหลักในภาพรวม ของหน่วยงาน 3.2 ส่วนเนื้อหา Middleส่วนนี้อาจเป็นส่วนการนาเสนอโครงสร้าง อธิบายภารกิจ กิจกรรมที่ดาเนินการ 3.3 ส่วนท้ายเรื่อง Endส่วนแสดงถึงผลงานที่ดีเด่น อาจจะปิดท้ายด้วยคาขวัญหรือปรัชญา ขององค์กร 4.สื่อประกอบการบรรยาย จะมีโครงสร้าง โดยย่อ ดังนี้ 4.1 ส่วนนาเรื่อง Beginning บอกชื่อเรื่อง และหัวข้อเรื่องต่างๆที่จะบรรยายหรือที่จะนาเสนอ 4.2 ส่วนเนื้อหา Middleส่วนนี้เป็นส่วนนาเสนอเนื้อหา ซึ่งจะต้องนาเสนออย่างเป็นขั้นเป็น ตอน พร้อมทั้งมีตัวอย่างแทรก
  • 4. 4.3 ส่วนท้ายเรื่อง Endส่วนนี้เป็นส่วนสรุปประเด็นที่สาคัญของเนื้อหา รวมถึงเป็นช่วงการ ตอบปัญหา ซักถาม สื่อทั้ง 4 ดังที่กล่าวในข้างต้น จะมีจุดประสงค์ในการนาไปใช้ 2 สถานะ 1.Self media presenting เป็นสื่อที่นาเสนอเรื่องราวด้วยตัวของมันเอง ในลักษณะแบบต่อเนื่อง คล้ายวิดีทัศนื หรือภาพยนตร์ โปรแกรม นาเสนอแบบนี้ ที่นิยมใช้ก็มีหลายโปรแกรม อาทิ 2.Benefit media presenting เป็นสื่อที่ใช้ประกอบการบรรยายหรือการนาเสนอ ซึ่งโปรแกรมนาเสนอประเภทนี้ที่นิยมใช้มากที่สุดก็คือ PowerPoint การเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับการนาเสนองาน เมื่อก่อนการนาเสนองานในชั้นเรียนหรือการประชุมนิยมใช้แผ่นโปร่งใสและเครื่องฉายแผ่นสไลด์ ซึ่ง งานนาเสนอจะดึงดูดความสนใจของผู้รับสารได้น้อย แต่ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศในรูปแบบของซอฟต์แวร์ ประยุกต์ทาให้การนาเสนองานที่ทาได้สะดวกและง่ายอีกทั้งยังผลิตผลงานนาเสนอที่สวยงามและมีเทคนิคที่ทา ให้ดึงดูดความสนใจของผู้รับสารได้อย่างต่อเนื่อง 3.1 การเลือกใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอ (Presentation Software) ซอฟต์แวร์นาเสนอ เป็นโปรแกรมที่ใช้นาเสนอข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ และเป็นซอฟต์แวร์ ประยุกต์ที่สามารถนาเสนอข้อมูลในรูปแบบตัวอักษร ตาราง กราฟ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง ทาให้ งานนาเสนอมีรูปแบบที่หลากหลายส่งผลให้ผู้รับสารสนใจและเข้าใจผู้ใช้ที่สามารถสร้างได้อย่างง่ายดายในเวลา ที่รวดเร็ว ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทางานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ การทางานร่วมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับการควบคุมระบบ ผู้ใช้จาเป็นต้อง เลือกหาซอฟต์แวร์ให้ตรงตามความต้องการนั้นๆ โดยเฉพาะ เช่น การจัดพิมพ์รายงาน นาเสนองาน จัดทาบัญชี ตกแต่งภาพ ออกแบบเว็บไซต์ ซอฟต์แวร์นาเสนอที่นิยมใช้ในปัจจุบัน มี 2 ประเภท คือ ซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์ ที่ผู้ใช้ต้องซื้อจากบริษัท ผู้เป็นเจ้าของ ได้แก่ ไมโครซอฟต์ พาวเวอร์พอยต์ โลตัส ฟรีแลนต์กราฟิก โครเรล พรีเซ็นเทชัน กราฟิก และ ซอฟต์แวร์เปิดเผยรหัส ได้แก่โอเพน ออฟฟิศ ปลาดาวออฟฟิศ อิมเพรส ที่ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี 3.2 ซอฟต์แวร์กราฟิก แอนิเมชัน และมัลติมีเดีย ซอฟต์แวร์กราฟิกและแอนนิเมชัน เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้เป็นเครื่องมือในการตกแต่งภาพและการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว เพื่อนาภาพหรือภาพเคลื่อนไหวดังกล่าวไปใช้ในซอฟต์แวร์กรรมสิทธิ์ ได้แก่ อะโดบี โฟโต้ช็อป (adobe photoshop) อะโดบีแฟลช (adoby flash) อะโดบี และแคปติเวท (adoby captivate)
  • 5. อะโดบีโฟโตชอป (adobe photoshop) เป็นโปรแกรมประยุกต์ด้านกราฟิกสาหรับจัดการแก้ไขและ ตกแต่งรูปภาพ (photo editting and retouching) โฟโตชอปสามารถจัดการไฟล์ได้หลากหลายประเภท เช่น JPG, GIF, PNG, TIF, TGA ปัจจุบันโฟโตชอปได้มีการพัฒนามาถึงรุ่น Cs6 อะโดบี แฟลช (adoby flash) เป็นแปรแกรมประยุกต์ด้านกราฟิกสาหรับสร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation) จากภาพเสียงโดยสามารถสร้างสื่อที่มีความสามารถในการโต้ตอบ (Interachtive) กับผู้ใช้อะโด บี แฟลช จึงนิยมใช้ผลิตสื่อนาเสนอเกม ภาพยนต์การ์ตูนแอนิเมชัน เป็นต้น อะโดบี แคปติเวท (Adoby captivate ) เป็นโปรแกรมประยุกต์ด้านกราฟิกสาหรับสื่อเพื่อการศึกษา ซึ่งรองรับรับไฟล์มัลติมีเดีย ได้แก่ ภาพ เสียง การบรรยายผ่านไมโครโฟน พร้อมจับหน้าจอภาพ การตัดต่อ วีดีโอ เป็นต้น
  • 6. อุปกรณ์ดิจิทัลที่ช่วยในการนาเสนอผลงาน อุปปกรณ์ดิจิทัลที่สามารถถ่ายทอดภาพและเสียงในงานนาเสนอเพื่อให้งานนาเสนอมีคุณภาพ เข้าถึง ผู้ชมและผู้ฟังได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีดังนี้ 1. โพรเจกเตอร์ (Projector) เป็นอุปกรณ์ฉายภาพที่ใช้ในการนาเสนอ โดยสามารถรองรับสัญญาณ ภาพจากคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นวีซีดี เครื่องเล่นดีวีดี และเครื่องกาเนิดภาพอื่น ๆ แล้วแสดงผล ขยายขนาดบน จอรับภาพช่วยให้มองเห็นได้ไกลขึ้น เหมาะสาหรับการนาเสนอข้อมูลในห้องประชุม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมประชุม สามารถมองเห็นภาพหรือข้อความได้อย่างชัดเจน 2. วิชวลไลเซอร์ (Visualizer) เป็นอุปกรณ์ฉายภาพระบบดิจิทัลประเภทหนึ่ง ซึ่งพัฒนามาจากโอเวอร์ เฮดหรือเครื่องฉายข้ามศีรษะ ใช้แสดงภาพวัตถุและเอกสารสู่จอรับภาพที่มีอยู่จริงได้เลย โดยไม่ต้องดัดแปลง อุปกรณ์นี้เหมาะสาหรับใช้ในการนาเสนองานต่าง ๆ โดยเฉพาะครู-อาจารย์ที่สอนหนังสือ และใช้ได้ดีในการ นาเสนอภาพนิ่งมากกว่าภาพเคลื่อนไหว แต่ภาพที่แสดงออกมานั้นก็ให้ความคมชัด มีสีสดใส และมีโหมดของ การแสดงภาพให้ปรับการทางานด้วย การควบคุมการทางานสามารถทาได้โดยใช้รีโมต 3. กล้องถ่ายรูปดิจิทัล (Digital Camera) เป็นอุปกรณ์รับภาพที่เปลี่ยนจากฟิล์มมาเป็นอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเมื่อถ่ายรูปที่ต้องการแล้ว รูปจะถูกเก็บลงในหน่วยความจา (memory) ที่อยู่ในกล้อง เมื่อ ต้องการดูรูปทาได้โดยการถ่ายข้อมูลจากหน่วยความจาลงบนเครื่องพิมพ์หรือเครื่องคอมพิวเตอร์ ภาพที่ได้จะมี ขนาดตามที่ต้องการ สามารถย่อหรือขยาย ปรับแสงหรือเงาแล้วแต่ความพอใจหรือจะเพิ่มรูปแบบก็สามารถทา ได้ และเมื่อจะถ่ายใหม่ ก็สามารถใช้หน่วยความจาเดิมได้เลย โดยไม่ต้องเสียเงินซื้อฟิล์ม 4. กล้องถ่ายวีดิทัศน์ดิจิทัล เป็นอุปกรณ์รับภาพที่บันทึกข้อมูล ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง เก็บ ไว้ในหน่วยความจาแบบแฟลชภายในกล้อง สามารถย่อหรือขยาย ปรับแสงเงาของภาพได้ และในปัจจุบัน สามารถคัดลอกข้อมูลลงในแผ่นดีวีดีได้เลย โดยไม่ต้องโอนลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ 5. คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะและคอมพิวเตอร์ขนาดสมุดบันทึกหรือโน้ตบุ๊ก เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สร้างงาน นาเสนอ เป็นสื่อกลางในการเชื่อมโยงอุปกรณ์อื่น ๆ เช่น โพรเจกเตอร์ เพื่อนาเสนองาน และใช้นาเสนองาน ผ่านจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ 6. เครื่องเล่นเสียง หรือเครื่องเล่นเอ็มพีสาม (MP3) เป็นอุปกรณ์ซึ่งบรรจุข้อมูลเสียงที่ใช้เล่นใน คอมพิวเตอร์และสามารถถ่ายโอนข้อมูลเข้าไปในคอมพิวเตอร์ได้ โดยข้อมูลเสียงนั้นใช้เทคโนโลยีบีบอัดให้มี ขนาดเล็กลงมากกว่าข้อมูลเสียงปกติถึง 12 เท่า แม้ขนาดข้อมูลจะเล็กลง แต่คุณภาพเสียงไม่ได้เสียไป อย่างไร
  • 7. ก็ตาม หากเรานาข้อมูลเสียงจากเครื่องเล่น MP3 ไปเล่นในเครื่องคอมพิวเตอร์รุ่นเก่า จะได้เสียงในลักษณะ กระตุกหรือใช้การไม่ได้เลย 7. โทรศัพท์เคลื่อนที่บางรุ่น เป็นอุปกรณ์ตัวกลางที่ผู้ใช้สามารถนาเสนองานที่สร้างด้วยซอฟต์แวร์ ไมโครซอฟต์เพาเวอร์พอยต์ผ่านเครื่องโพรเจกเตอร์ได้สะดวก ง่ายต่อการติดตั้ง เพียงเชื่อมต่อโพรเจกเตอร์เข้า กับโทรศัพท์เคลื่อนที่ผ่านสายเคเบิล แล้วเชื่อมต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่ด้วยบลูทูธนอกจากอุปกรณ์ดิจิทัลที่ช่วยใน การนาเสนอผลงานแล้ว ยังมีส่วนประกอบที่สาคัญในการนาเสนองานคือ คาบรรยาย หรือบทพากย์ ซึ่งเป็น องค์ประกอบด้านโสตหรือเสียงนั่นเอง โดยมีวิธีการและหลักในการพิจารณาดังนี้ 1. การบรรยายสด เหมาะสาหรับการประชุมหรือสัมมนาที่ต้องการให้ผู้ชมมีส่วนร่วม เพราะผู้บรรยาย ในกรณีนี้เป็นผู้ที่รู้เรื่องราวเกี่ยวกับเนื้อหาเป็นอย่างดีรู้ว่าควรจะเน้นตรงจุดใดและปฏิกิริยาจากผู้ชมทาให้ ผู้บรรยายรู้ว่าผู้ชมสามารถติดตามทาความเข้าใจได้เพียงพอหรือไม่รู้ว่าส่วนไหนจะต้องอธิบายขยายความมาก น้อยเพียงใด 2. การพากย์ เหมาะสาหรับเนื้อหาที่สามารถถ่ายทอดได้โดยไม่ต้องอาศัยการมีส่วนร่วมของผู้ชม ข้อดี คือสามารถเลือกใช้เสียงพากย์ที่มีความไพเราะน่าฟัง สามารถเลือกใช้ดนตรี หรือเสียงประกอบ (Sound effect) เพื่อสร้างบรรยากาศ แต่ข้อเสียคือไม่มีความยืดหยุ่น ไม่สามารถปรับให้เหมาะสมกับความรู้สึกของผู้ชม ในขณะนั้น การพัฒนาผลงานนาเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ ความหมายของสื่อ เมื่อพิจารณาคาว่า “สื่อ” ในภาษาไทยกับคาในภาษาอังกฤษ พบว่ามีความหมายตรงกับคาว่า “media” (ในกรณีที่มีความหมายเป็นเอกพจน์จะใช้คาว่า “medium”) คา ว่า “สื่อ” ในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ ความหมายของคานี้ไว้ดังนี้ “สื่อ (กริยา) หมายถึง ติดต่อให้ถึงกัน เช่น สื่อความหมาย, ชักนาให้รู้จักกัน สื่อ (นาม) หมายถึง ผู้หรือสิ่งที่ติดต่อให้ถึงกัน หรือชักนาให้รู้จักกัน เช่น เขาใช้จดหมายเป็นสื่อติดต่อกัน, เรียกผู้ที่ทาหน้าที่ชักนาให้ชายหญิงได้แต่งงานกันว่า พ่อสื่อ หรือ แม่สื่อ; (ศิลปะ) วัสดุต่างๆ ที่นามาสร้างสรรค์งานศิลปกรรม ให้มีความหมายตามแนวคิด ซึ่งศิลปิน ประสงค์แสดงออกเช่นนั้น เช่น สื่อผสม” นักเทคโนโลยีการศึกษาได้มีการนิยามความหมายของคาว่า “สื่อ” ไว้ดังต่อไปนี้ Heinich และคณะ (1996) Heinich เป็นศาสตราจารย์ ภาควิชาเทคโนโลยีระบบการเรียนการสอน ของ มหาวิทยาลัยอินเดียน่า (Indiana University) ให้คาจากัดความคาว่า “media” ไว้ดังนี้ “Media is a channel of communication.” ซึ่งสรุปความเป็นภาษาไทยได้ดังนี้ “สื่อ คือช่องทางในการติดต่อสื่อสาร” Heinich และคณะยังได้ขยายความเพิ่มเติมอีกว่า “media มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน มีความหมายว่า ระหว่าง (between) หมายถึง อะไรก็ตามซึ่งทาการบรรทุกหรือนาพาข้อมูลหรือสารสนเทศ สื่อเป็นสิ่งที่อยู่ ระหว่างแหล่งกาเนิดสารกับผู้รับสาร”
  • 8. A. J. Romiszowski (1992) ศาสตราจารย์ทางด้านการออกแบบ การพัฒนา และการประเมินผลสื่อการเรียน การสอน ของมหาวิทยาลัยซีราคิวส์ (Syracuse University) ให้คาจากัดความคาว่า “media” ไว้ดังนี้ “the carriers of messages, from some transmitting source (which may be a human being or an inanimate object) to the receiver of the message (which in our case is the learner)” ซึ่งสรุป ความเป็นภาษา ไทยได้ดังนี้ “ตัวนาสารจากแหล่งกาเนิดของการสื่อสาร (ซึ่งอาจจะเป็นมนุษย์หรือวัตถุที่ไม่มี ชีวิต ) ไปยังผู้รับสาร (ซึ่งในกรณีของการเรียนการสอนก็คือ ผู้เรียน)” ดัง นั้นจึงสรุปได้ว่า สื่อ หมายถึง สิ่งใดๆ ก็ตามที่เป็นตัวกลางระหว่างแหล่งกาเนิดของสารกับผู้รับสาร เป็นสิ่งที่ นาพาสารจากแหล่งกาเนินไปยังผู้รับสาร เพื่อให้เกิดผลใดๆ ตามวัตถุประสงค์ของการสื่อสาร การแบ่งประเภทของสื่อ การแบ่งประเภทของสื่อ นักวิชาการได้แบ่งไว้หลายรูปแบบ ได้แก่ 1. แบ่งประเภทของสื่อออกเป็นสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ดังนี้ 1.1 สื่อสิ่งพิมพ์ (Printed Media) ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หนังสือ ภาพถ่าย 1.2 สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Media) ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ 2. แบ่งประเภทของสื่อออกเป็นสื่อที่รับรู้โดยการฟังหรือสื่อโสต การเห็นหรือสื่อทัศน์ และทั้งการฟัง และการมองเห็นหรือสื่อโสตทัศน์ ดังนี้ 2.1สื่อโสต (Audio Media ) ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง เทป 2.2 สื่อทัศน์ ( Visual Media) ได้แก่ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หนังสือ ภาพถ่าย 3. แบ่งประเภทของสื่อเป็นสื่อร้อนและสื่อเย็น ดังนี้ 3.1 สื่อร้อน (Hot Media) สื่อ ที่นาสารส่งไปยังผู้รับสาร และผู้รับสารไม่ได้มีส่วนร่วมในการส่งสาร เลย ผู้รับสารไม่ต้องใช้ความพยายามใด เพื่อให้ได้สารที่สมบูรณ์ เพราะมีคนจัดคอยดูแลให้ เช่น ภาพยนตร์ มี ช่างเทคนิคของโรงภาพยนตร์ได้จัดการฉายให้ชม เป็นต้น 3.2 สื่อเย็น (Cool Media) คือ สื่อที่นาข่าวสารไปยังผู้รับ โดยบางครั้ง ผู้รับสารจาเป็นต้องมีส่วน ร่วมในการพยายามให้ได้ข่าวสารที่สมบูรณ์ เช่น วิทยุโทรทัศน์ภาพล้ม ผู้ชมต้องปรับภาพ เป็นต้น 4. การแบ่งประเภทของสื่อโดยธรรมชาติในการนาสาร ดังนี้ 4.1 สื่อวัจนะ ได้แก่ สื่อที่นาสารในลักษณะที่เป็นภาษาพูด ภาษาเขียน เช่น การพูด การเขียน ทาง สื่อมวลชนต่าง ๆ เป็นต้น 4.2 สื่ออวัจนะ ได้แก่สื่อที่นาสารซึ่งไม่เป็นภาษาพูด แต่เป็นสัญลักษณ์ เครื่องหมาย (Signs) และ อากัปกิริยา การเคลื่อนไหวของร่างกาย ริมฝีปาก การแสดงออกบนใบหน้า นัยน์ตา การขมวดคิ้ว การใช้ สัญญาณมือ การสัมผัส การใช้สัญญาณไฟ การตีเกราะ กลอง การยิงพลุเพื่อขอความช่วยเหลือของผู้ที่รอดชีวิต จากเครื่องบินตก หรือเรืออับปราง สัญญาณจราจร ป้ายทางเข้าออก ทางไปห้องน้าชาย – หญิง ฯลฯ นอกจากนั้น ยังมีสื่อวัฒนธรรมหรือสื่อพื้นบ้าน เช่น ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน ดนตรี การแต่งกาย และสื่อ ทัศนศิลป์
  • 9. 5. การแบ่งประเภทของสื่อ ตามรูปแบบและสถานการณ์การสื่อสาร สามารถแบ่งสื่อได้เป็น 3 ลักษณะ ดังนี้ 5.1 สื่อภายในบุคคล ( Intrapersonal Communication) เป็น การสื่อสารกับตนเอง หรือการส่ง สารของบุคคลคนเดียว แต่ละบุคคลมีการสื่อสารภายในตนเองทุกคน เนื้อหาสาระในการสื่อสารมาจาก ประสบการณ์ ข่าวสาร และข้อมูลที่แต่ละคนได้รับ ตัวบุคคลจึงนับได้ว่าเป็นสื่อหรือช่องทางในการสื่อสารกับ ตนเอง หรือการสื่อสารภายในบุคคล 5.2 สื่อระหว่างบุคคล ( Interpersonal Communication) การสื่อสารระหว่างบุคคลเป็นรูปแบบ ของการสื่อสารตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป สื่อที่ใช้ในการสื่อสารประเภทนี้ คือ สื่อบุคคล บุคคลได้มีการพูดกันอย่างเป็น ทางการ และไม่เป็นทางการ ได้ติดต่อสื่อสารกันทางจดหมาน โทรเลข โทรศัพท์ โทรพิมพ์ เทเลคอมเฟอเร็นซ์ การสื่อสารระหว่างบุคคลนั้น ผู้ส่งสารรู้แน่ชัดว่าเป็นกลุ่มใด ผลสะท้อนกลับจากผู้รับสารก็มีได้ง่ายกว่า สื่อหรือ ช่องทางการสื่อสารสามารถใช้นาสารได้อย่างรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ 5.3 การสื่อสารมวลชน (Mass Communication) เป็นการแบ่งประเภทสื่อโดยอาศัยการรับรู้ผ่าน ประสาทสัมผัสเป็นหลัก คือ 1. สื่อที่รับได้ด้วยการมองเห็น หรือสื่อทัศน์ (Visual Media) ได้แก่ หนังสือพิมพ์ (Newspaper) ภาพถ่าย( Photography) 2. สื่อที่รับได้ด้วยการฟัง (Audio Media) หรือสื่อโสต ได้แก่ วิทยุกระจายเสียง 3. สื่อไที่รับได้ด้วยการฟังและการมองเห็น หรือสื่อโสตทัศน์ (Audio-Visual Media) ผู้รับสารรับสาร โดยการมองเห็นและการได้ยินพร้อม ๆ กัน ได้แก่ วิทยุโทรทัศน์ ภาพยนตร์ วีดิโอ (Video) วีดิโอดิส ( Videodise) การแสดงบนเวที ( Theatre) เช่น ละคร ดนตรี อุปรากร การฟ้อนรา เป็นต้น 6. การแบ่งประเภทของสื่อเป็นสื่อสนับสนุน ( Supporting Channels) แบ่งได้เป็น 3 ประเภท ดังนี้ 6.1 สื่อสนับสนุนในการบันทึกข่าวสาร คือ โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับการพิมพ์ การบันทึกเสียง การบันทึกภาพ ซึ่งต้องอาศัยเครื่องพิมพ์ เครื่องบันทึกเสียง เครื่องเล่นแผ่นเสียง กล้องถ่ายรูป และวัสดุรองรับ สาร ได้แก่ กระดาษ แถบบันทึกเสียง แถบบันทึกภาพ ฟิล์ม แผ่นเสียง เป็นต้น 6.2 สื่อสนับสนุนในการขนส่งข่าวสาร คือ โครงสร้างพื้นฐานที่เกี่ยวกับระบบการคมนาคม (Transportation) และบริการไปรษณีย์ ( Postal Services) ได้แก่ เครือข่ายของเส้นทางคมนาคมทางบก ทางอากาศ ทางเรือ ยานพาหนะ บริการส่งจดหมาย และไปรษณีย์ภัณฑ์ อื่น ๆ 6.3 สื่อสนับสนุนในการถ่ายทอดข่าวสาร เป็นโครงสร้างพื้นฐานที่ช่วยให้การถ่ายทอดข่าวสาร ( Transmission of messages) จาก ที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง โดยอาศัยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ถ่ายทอดสัญญาณผ่าน ระบบสาย ระบบวิทยุ ระบบแสง และระบบสื่อสารดาวเทียม ซึ่งอาจเรียกรวมกันว่า “การสื่อสาร โทรคมนาคม” (Telecommunication) หรือสื่อส่งสัญญาณ (Transmission Media) ได้แก่ โทรเลข ดทร ศัพท์ โทรพิมพ์ โทรภาพ โทรสาร โทรทัศน์ตามสาย วิทยุคมนาคม เป็นต้น ในที่นี้ จะพิจารณาเรื่องสื่อ ตามเหตุการณ์ท่างการสื่อสารตามลาดับ ( Chronology of Communication Events)
  • 10. ใบงานที่ 4 เรื่อง การออกแบบบทดาเนินเรื่อง คาสั่ง ให้นักเรียนปฏิบัติตามคาสั่งต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนแต่ละคนออกแบบบทดาเนินเรื่อง (storyboard) จากโครงงานที่นักเรียนเลือกมา ออกแบบการนาเสนองาน การออกแบบบทดาเนินเรื่อง (storyboard) สไลด์ รายละเอียดสไลด์ ตัวอักษร ภาพ เสียง เทคนิค 2. ให้นักเรียนเลือกใช้ซอฟต์แวร์นาเสนอมาสร้างงานนาเสนอ 3. ให้นักเรียนแต่ละคนมานาเสนอหน้าชั้นเรียน เพื่อให้เพื่อนร่วมชั้นรวมทั้งครูผู้สอนตัดสิว่าโครงงาน ใครดีที่สุด