SlideShare a Scribd company logo
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 ประจาเดือน กันยายน – ตุลาคม 2560
ผู้จัดทา ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
งานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกฯ ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี
หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก ฝ่ายการพยาบาลฯ สมเด็จพระเทพรัตน์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
FB page: ผรส รามา
https://www.facebook.com/LaryngectomeeRama
Email/Facebook : ent.rama.inf@gmail.com
Line ID : 003055 IG : tlg_rama Tel. 0917746482
ทุนมูลนิธิรามาธิบดี รหัส 32130008
บรรณาธิการ : พยาบาลวิชาชีพ สุทธินี สุดใจ
ที่ปรึกษาชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
สวัสดีค่ะท่านสมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงทุกท่าน ใกล้สิ้น
ปีงบประมาณแล้ว ปีหน้าเราคงได้งบประมาณในการจัดทาหนังสือกันนะ
คะ ช่วงนี้อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย ต้องดูแลสุขภาพดีๆ นะคะ พอใกล้
หน้าหนาวสมาชิกมักจะมีปัญหา ไอแล้วมีเลือดออกปนเสมหะจึงต้องจิบ
น้าบ่อยๆ รักษาความชุ่มชื้นของรูหายใจโดยการหาผ้าบางๆ มาปิดบริเวณ
รูหายใจที่ลาคอ เพื่อกักความชื้นไว้ ไม่ระคายเคืองคอง่าย ทาให้ลดการไอ
ได้ นอกจากนี้ช่วงปลายฝนต้นหนาวจะมีเชื้อโรคจากในดินฟุ้งขึ้นมาใน
บรรยากาศได้ ถ้มีการติดเชื้ออาจทาให้ติดเชื้อรุนแรง จึงต้องระมัดระวังใน
การทาสวน ควรหาผ้าปิดรูหายใจที่ลาคอไว้จะได้ไม่สูดดมเชื้อโรคเหล่านั้น
ส่วนการขุดดิน ตัดกิ่งไม้ หรือการต้องสัมผัสดิน ควรล้างทาความสะอาด
จนกระทั่งแน่ใจว่าสะอาดดีแล้ว ก่อนรับประทานอาหารต้องล้างมือให้
สะอาดเสมอ เวลาคันที่ผิวหนังอย่าเกาแรงๆ โดยเฉพาะการเกาจนผิวหนัง
ด้านนอกถลอก เพราะอาจติดเชื้อที่ผิวหนังได้ ควรทาโลชั่นเพื่อเพิ่มความ
ชุ่มชื้นและความแข็งแรงของผิวหนังด้วย
สุทธินี สุดใจ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 3
สารบัญ
หน้าที่
บรรณาธิการ 3
บทความวิชาการ
การบริหารขากรรไกร 5
ข่าวสารสมาชิก
ที่ปรึกษา
พยาบาลวิชาชีพสุทธินี สุดใจ
Line : 003055 IG : tlg_rama เบอร์โทร : 0917746482
Email : ent.rama.inf@gmail.com FB page : ผรส รามา
https://www.facebook.com/LaryngectomeeRama
รองศาสตราจารย์ดรุณี ชุณหะวัต
Line : เบอร์โทร : 0841060202
Email : radjh1@yahoo.com
คุณชัยณรงค์ ศรีปราโมช ประธานชมรม 0865403503
คุณเซี้ยง ฉิมมณี ที่ปรึกษาประธานชมรม 0851560394
คุณไกรสีห์ บุญขจาย ครูฝึกพูดด้วยหลอดอาหาร 0813235195
คุณภานุมาศ ชาติชินเชาว์ ครูฝึกพูดด้วยเครื่องช่วยพูด 0878563399
4 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร
พยาบาลวิชาชีพสุทธินี สุดใจ
การบริหารขากรรไกรมีความสาคัญจาเป็นสาหรับผู้ที่ได้รับรังสี
รักษาบริเวณใบหน้าและลาคอส่วนต้น เพราะอาจทาให้เกิดพังผืดได้
กล้ามเนื้อจะยืดหยุ่นน้อยลงมีผลต่อการรับประทานอาหาร การกลืนและ
การพูดได้ เวลาอ้าปากควรอ้าปากได้ประมาณ 35-55 มิลลิเมตร หรือ 3
นิ้วมือของตนเอง การบริหารต้องทาเป็นประจาวันละ 2-3 ครั้ง (Memorial
Sloan Kettering Cancer Center, 2015. ; Owosho, et al., 2017)
การบริหารบริเวณริมฝีปากและแก้ม (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557.
; Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) ดังนี้
1. ทาได้โดยการอ้าปากกว้างๆ ออกเสียง “อา”
2. การดูด โดยการดูดน้าหรือดูดหลอด
3. การเป่ากระดาษ เป่าเทียน เป่าน้า หรือเป่านกหวีด
4. การบริหารโดยการเม้มริมฝีปากแน่นๆ แล้วคลายออก
5. การทาปากจู๋ สลับกับ การฉีกยิ้ม หรือออกเสียง “อู” สลับกับ “อี”
6. การกักลมในปากแล้วทาแก้มป่อง ต่อมาให้ค่อยๆ ปล่อยลมออก
ช้าๆ
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 5
-การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร-
นอกจากการบริหารบริเวณริมฝีปากและแก้มการบริหารลิ้นก็มี
ความสาคัญมาก เพราะลิ้นมีส่วนสาคัญในการช่วยเรื่องการม้วนอาหาร
เข้าสู่กระบวนการกลืน ถ้าลิ้นขยับได้ลดลงการม้วนอาหารและกวาด
อาหารลงสู่ลาคอได้ไม่ดี ทาให้มีปัญหาเรื่องการรับประทานอาหารได้
การบริหารลิ้น (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557) ดังนี้
1. ให้แตะลิ้นไปที่มุมปากทั้ง 2 ข้างสลับกัน
2. ให้แตะลิ้นไปที่กระพุ้งแก้มทั้ง 2 ข้างสลับกัน
3. ให้เดาะลิ้น
4. ให้พูดออกเสียง “ลา” “ลา” “ลา” หรือ “คา” คา” คา” ซ้าหลายๆ ครั้ง
5. ให้พูดออกเสียง “คาลา” “คาลา” “คาลา” ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้
6. ใช้ลิ้นเลียบริเวณริมฝีปากบนและล่าง มุมปากทั้งสองข้างสลับกัน
7. ใช้ลิ้นยกแตะเหงือก แล้วให้เคลื่อนลิ้นจากด้านหน้าไปด้านหลังซ้าๆ
6 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
-การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร-
การบริหารขากรรไกร ดังนี้
1. อ้าปากค้างได้ 5 วินาทีและออกเสียง “อา” แล้วหุบปากให้ฟันสบกัน
(นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557)
2. ปิดริมฝีปากและเคลื่อนขากรรไกรล้างไปด้านข้าง โดยสลับด้านซ้าย
และขวา ค้างไว้ข้างละ 5 วินาที (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557)
3. อ้าปากเล็กน้อย ขยับขากรรไกรล้างไปด้านข้าง โดยสลับด้านซ้าย
และขวา ค้างไว้ข้างละ 5 วินาที ครั้ง (Memorial Sloan Kettering
Cancer Center, 2015.)
4. เคลื่อนไหวขากรรไกรในลักษณะเหมือนเคี้ยวหมากฝรั่ง ทา 5-10
รอบ (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557)
5. ใช้นิ้วโป้งกดตรงปลายฟันบน บริเวณกึ่งกลางขากรรไกร ใช้นิ้วชี้ของ
มืออีกข้างหนึ่ง กดลงบริเวณฟันล่างกึ่งกลางขากรรไกร ออกแรงกดบริเวณ
ฟันเล็กน้อยในทิศทางตรงกันข้าม เพื่อให้ขากรรไกรอ้าออกให้ได้มากที่สุด
แล้วอ้าปากค้างไว้ประมาณ 5 วินาที (Memorial Sloan Kettering
Cancer Center, 2015.)
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 7
-การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร-
การใช้นิ้วช่วยดันเบาๆ บริเวณฟันเพื่อให้อ้าขากรรไกรได้มากขึ้น
6. การยืนตัวตรง มองไปข้างหน้าตรง เพื่อคงการทางานของร่างกายให้
อยู่ในท่าที่เป็ นปกติ (Memorial Sloan Kettering Cancer Center,
2015.)
7. ก้มหน้าให้ได้มากที่สุดเพื่อยืดกล้ามเนื้อบริเวณลาคอด้านหลัง ค้าง
ไว้ 30 วินาที ต่อมาให้เงยหน้าขึ้น ค้างไว้ 30 วินาที เช่นกัน (Memorial
Sloan Kettering Cancer Center, 2015.)
8. หันหน้าไปทางด้านขวาเบาๆ หันมองทางขวาให้สุด แล้วค่อยๆ หัน
กลับมาด้ านซ้ายเบาๆ หันมองไปทางซ้ายสุด (Memorial Sloan
Kettering Cancer Center, 2015.)
8 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
-การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร-
9. เอียงคอไปทางด้านซ้ายจนสุด ให้ใบหูเอียงไปทางหัวไหล่ให้มาก
ที่สุด แล้วค่อยๆ เอียงศีรษะมาทางด้านขวา (Memorial Sloan Kettering
Cancer Center, 2015.)
10. ก้มลงดันคางให้ชิดลาคอให้มากที่สุดแล้วคลายออก (Memorial
Sloan Kettering Cancer Center, 2015.)
11. ยืดตัวตรงและดึงสะบักไปทางด้านหลังแล้วค่อยดึงกลับมา
(Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.)
ส่วนขยาย สาหรับผู้ที่ไม่ได้ตัดกล่องเสียงออกทั้งกมดการบริหาร
กล้ามเนื้อที่ช่วยให้สายเสียงปิดแน่น ป้องกันไม่ให้อาหารเข้าไปใน
หลอดลม แต่ผู้ที่ทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดแล้วก็สามารถทาได้ใน
บางท่า (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557) ดังนี้
1. แลบลิ้นออกมานอกระหว่างฟัน แล้วใช้ฟันกัดลิ้นเบาๆ แล้วกลืน
ทาซ้า 5 ครั้ง
2. แลบลิ้นออกมานอกปากโดยไม่ต้องกัดลิ้นแล้วกลืน ทาซ้า 5 ครั้ง
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 9
-การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร-
3. นั่งบนเก้าอี้เท้าวางราบกับพื้น ประสานมือ 2 ข้างดันเข้าหากัน
บริเวณหน้าอก หายใจเข้าแล้วค้างไว้ จากนั้นออกแรงดันมือเข้าหากัน
พร้อมออกเสียง “อะ” ผ่อนคลายและทาช้าๆ
การดูแลในช่องปาก ด้านขวา (Memorial Sloan Kettering Cancer
Center, 2015.)
1. แปรงฟันและลิ้นหลังตื่นนอน หลังมื้ออาหาร และก่อนนอนทุกครั้ง
2. ถ้ามีฟันปลอมชนิดถอดได้ให้ถอดมาล้างทาความสะอาดด้วย
3. ควรใช้ไหมขัดฟันอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน
ถ้ามีปัญหาขากรรไกรยึดติดและเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ควรไปพบแพทย์
ซึ่งจะให้คาแนะนาเกี่ยวกับการป้องกันการยึดติดมากขึ้น และในกรณีที่มี
ปัญหาเกี่ยวกับการพูดและการกลืนควรให้เจ้าหน้าที่ส่งปรึกษานักแก้ไข
การพูดและการกลืน จะต้องพยายามแก้ไขจนกระทั่งสามารถเปิดปากได้
หรือ อ้าปากได้เอง สิ่งที่สาคัญที่สุดคือการออกกาลังกาย การยืดเหยียด
กล้ามเนื้อ และการนวด
10 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
-การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร-
การฟื้นฟูโดยแพทย์ ซึ่งแพทย์จะพิจารณาว่าวิธีใดจะดีที่สุดในการ
แก้ไขปัญหาให้แก่ผู้ป่วย ในที่นี้พูดถึงการพยายามทาให้ผู้ป่วยอ้าปากให้
ได้ มีทั้งการให้ยา การให้ยาแก้ปวด การลดการเกร็งของกล้ามเนื้อ วิธีที่ดี
ที่สุดคือการเลือกวิธีการทาผ่าตัดหรือฉายรังสีที่จะทาให้ เกิด
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะขากรรไกรติดได้ แต่ถ้ามีปัญหาจริงๆ อาจต้อง
ทาผ่าตัดเพื่อขยายขากรรไกร (Tsai, et al., 2016)
เอกสารอ้างอิง
นันทยา อุดมพาณิชย์. กิจกรรมบาบัดในผู้ป่วยกลืนลาบาก. Srinagarind
Med, 2014, 29, 20-26.
Memorial Sloan Kettering Cancer Center. (2015). Preventing
trismus. Retrived, Dec 14, 2017. https://mskcc.org/cancer
/patient-education/trismus.
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 11
-การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร-
Owasho, A. A., Pedreira, M., Rossenberg, H. L., Yom, S. K., Drill,
Esther., Riedel, E., Tsai, C. J., Lee, N. Y., Huryn, J. M., Cerry
L E. Objective assessment of trismus in oral and
oropharyngeal cancer patients treated with intensity-
modulated radiation therapy (IMRT). J Craniomaxillofac
Surgery, 44, 9, 1408-1413.
Tsai, C., Wu, S., Lin, S., Ko, S., Chiang, W., & Yang, J. (2016).
Reducing trismus after surgery and radiotherapy in oral
cancer patients: result of alternative operation versus
traditional operation. J Oral Maxillofac Surg, 74, 1072-1083.
12 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
ข่าวสารสมาชิก
ปัจจุบันสมาชิกที่มาฝึกพูดที่ที่โรงพยาบาลลดลง จากการสอบถาม
พบว่ากลับไปทางานกันมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่มีตาแหน่งบริหาร หรือ
ตาแหน่งที่ใช้ความเชี่ยวชาญชานาญเฉพาะ จะต้องกลับไปทางานเร็วขึ้น
บางครั้งหลังออกจากโรงพยาบาลก็ไปทางานแล้ว ดังนั้นการให้การ
พยาบาลก่อนผ่าตัดจึงต้องไม่ลืมที่จะให้คาแนะนาในการฝึกพูดให้ใช้ริม
ฝีปาก โดยให้ฝึกพูดให้ช้าๆ ชัดๆ เป็นคา ให้ผู้อื่นอ่านปากออก ห้ามใจร้อน
ห้ามหงุดหงิด ควรจะเขียนและพูดร่วมด้วย เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้แก่คู่
สนทนา วางแผนการติดต่อสื่อสารกับเพื่อนร่วมงาน ซึ่งต้องถามญาติหรือ
ผู้ดูแลด้วยว่าผู้ป่วยสามารถสื่อสารกับคนใกล้ชิดได้หรือไม่ อาจจะต้องทา
ใจนิดหน่อยค่ะ หลังจากที่ไปทางานพบว่าสมาชิกมีความสุขมากขึ้น บาง
ท่านอาจบ่นว่าทางานไม่ได้หยุดพักเลย
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 13
บันทึก
14 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
บทความวิชาการ
- การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
สุทธินี สุดใจ
หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก
ชั้น 2 โซน H อาคารศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์
270 โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6
แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม 10400
โทร 0917746482
เบอร์โทรติดต่อที่หน่วยงาน : 022004069 เวลา 8-9 น. วันราชการ
เวลาทากิจกรรม ทุกวันอังคาร เวลา 9.00 – 11.00 น.
บริเวณศูนย์เสริมพลังสร้างสุขภาพ อาคารเรียนรวม ชั้น 1
ยินดีต้อนรับผู้ไร้กล่องเสียงทุกท่าน
พิมพ์ครั้งที่ 1 จานวน 50 เล่ม ธันวาคม 2560
พิมพ์ที่ ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี
หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก
270 โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนน พระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท
เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทร 0917746482
(สงวนลิขสิทธิ์)

More Related Content

Similar to จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560

จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
Sutthinee Sudchai
 
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556oryornoi
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากWan Ngamwongwan
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
Sutthinee Sudchai
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
warit_sara
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
Siriprapa Prapaluk
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
dentyomaraj
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
โรงพยาบาลสารภี
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
karan boobpahom
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
Sirirat Raiwklang
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
Sutthinee Sudchai
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษาdeer34403
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษาdeer34403
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษาdeer34403
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษาdeer34403
 
งานสุขศึกษา้้ื
งานสุขศึกษา้้ืงานสุขศึกษา้้ื
งานสุขศึกษา้้ืdeer34403
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษาdeer34403
 

Similar to จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560 (20)

จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3  23.7.17 v1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียง ปีที่ 4 ฉบับที่ 3 23.7.17 v1
 
Qlf forum may2014
Qlf forum may2014Qlf forum may2014
Qlf forum may2014
 
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
จดหมายข่าว อย.น้อย “จากเพื่อน..ถึงเพื่อน” ประจำเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2556
 
โรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปากโรคมะเร็งในช่องปาก
โรคมะเร็งในช่องปาก
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 2
 
E book2015-new
E book2015-newE book2015-new
E book2015-new
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
ต้นฉบับ โครงการ..งานวิชาการ๒สัมมนา พบส.
 
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรังหนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
หนังสือผนึก บูรณาการ สานพลัง ลดความเสี่ยงโรคเรื้อรัง
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 6
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษา
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษา
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษา
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษา
 
งานสุขศึกษา้้ื
งานสุขศึกษา้้ืงานสุขศึกษา้้ื
งานสุขศึกษา้้ื
 
งานสุขศึกษา
งานสุขศึกษางานสุขศึกษา
งานสุขศึกษา
 

More from Sutthinee Sudchai

P TLG cu 2018.02.06 v1
P TLG cu 2018.02.06 v1P TLG cu 2018.02.06 v1
P TLG cu 2018.02.06 v1
Sutthinee Sudchai
 
สปส 2 09
สปส 2 09สปส 2 09
สปส 2 09
Sutthinee Sudchai
 
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียงคู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
Sutthinee Sudchai
 
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
Sutthinee Sudchai
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
Sutthinee Sudchai
 
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดีกิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
Sutthinee Sudchai
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
Sutthinee Sudchai
 
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจหนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
Sutthinee Sudchai
 

More from Sutthinee Sudchai (11)

P TLG cu 2018.02.06 v1
P TLG cu 2018.02.06 v1P TLG cu 2018.02.06 v1
P TLG cu 2018.02.06 v1
 
สปส 2 09
สปส 2 09สปส 2 09
สปส 2 09
 
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียงคู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
คู่มือฝึกการพูดด้วยหลอดอาหารสำหรับผู้ไร้กล่องเสียง
 
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี 2017.11.05
 
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
มะเร็งกล่องเสียงคอหอย
 
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดีกิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
กิจกรรมชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี และกิจกรรมมิตรภาพบำบัดรามาธิบดี
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1  จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 1
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4 จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 4
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
 
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
 
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจหนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12  A4  พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
หนังสือแสดงเจตนา มาตรา 12 A4 พิมพ์ซ้ำโดย สุทธินี สุดใจ
 

จุลสารชมรมผู้ไร้กลอ่งเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กันยายน-ตุลาคม 2560

  • 1. จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 ประจาเดือน กันยายน – ตุลาคม 2560 ผู้จัดทา ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี งานการพยาบาลจักษุ โสต ศอ นาสิกฯ ฝ่ายการพยาบาลโรงพยาบาลรามาธิบดี หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก ฝ่ายการพยาบาลฯ สมเด็จพระเทพรัตน์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี FB page: ผรส รามา https://www.facebook.com/LaryngectomeeRama Email/Facebook : ent.rama.inf@gmail.com Line ID : 003055 IG : tlg_rama Tel. 0917746482 ทุนมูลนิธิรามาธิบดี รหัส 32130008
  • 2. บรรณาธิการ : พยาบาลวิชาชีพ สุทธินี สุดใจ ที่ปรึกษาชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี สวัสดีค่ะท่านสมาชิกชมรมผู้ไร้กล่องเสียงทุกท่าน ใกล้สิ้น ปีงบประมาณแล้ว ปีหน้าเราคงได้งบประมาณในการจัดทาหนังสือกันนะ คะ ช่วงนี้อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อย ต้องดูแลสุขภาพดีๆ นะคะ พอใกล้ หน้าหนาวสมาชิกมักจะมีปัญหา ไอแล้วมีเลือดออกปนเสมหะจึงต้องจิบ น้าบ่อยๆ รักษาความชุ่มชื้นของรูหายใจโดยการหาผ้าบางๆ มาปิดบริเวณ รูหายใจที่ลาคอ เพื่อกักความชื้นไว้ ไม่ระคายเคืองคอง่าย ทาให้ลดการไอ ได้ นอกจากนี้ช่วงปลายฝนต้นหนาวจะมีเชื้อโรคจากในดินฟุ้งขึ้นมาใน บรรยากาศได้ ถ้มีการติดเชื้ออาจทาให้ติดเชื้อรุนแรง จึงต้องระมัดระวังใน การทาสวน ควรหาผ้าปิดรูหายใจที่ลาคอไว้จะได้ไม่สูดดมเชื้อโรคเหล่านั้น ส่วนการขุดดิน ตัดกิ่งไม้ หรือการต้องสัมผัสดิน ควรล้างทาความสะอาด จนกระทั่งแน่ใจว่าสะอาดดีแล้ว ก่อนรับประทานอาหารต้องล้างมือให้ สะอาดเสมอ เวลาคันที่ผิวหนังอย่าเกาแรงๆ โดยเฉพาะการเกาจนผิวหนัง ด้านนอกถลอก เพราะอาจติดเชื้อที่ผิวหนังได้ ควรทาโลชั่นเพื่อเพิ่มความ ชุ่มชื้นและความแข็งแรงของผิวหนังด้วย สุทธินี สุดใจ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 3
  • 3. สารบัญ หน้าที่ บรรณาธิการ 3 บทความวิชาการ การบริหารขากรรไกร 5 ข่าวสารสมาชิก ที่ปรึกษา พยาบาลวิชาชีพสุทธินี สุดใจ Line : 003055 IG : tlg_rama เบอร์โทร : 0917746482 Email : ent.rama.inf@gmail.com FB page : ผรส รามา https://www.facebook.com/LaryngectomeeRama รองศาสตราจารย์ดรุณี ชุณหะวัต Line : เบอร์โทร : 0841060202 Email : radjh1@yahoo.com คุณชัยณรงค์ ศรีปราโมช ประธานชมรม 0865403503 คุณเซี้ยง ฉิมมณี ที่ปรึกษาประธานชมรม 0851560394 คุณไกรสีห์ บุญขจาย ครูฝึกพูดด้วยหลอดอาหาร 0813235195 คุณภานุมาศ ชาติชินเชาว์ ครูฝึกพูดด้วยเครื่องช่วยพูด 0878563399 4 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
  • 4. การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร พยาบาลวิชาชีพสุทธินี สุดใจ การบริหารขากรรไกรมีความสาคัญจาเป็นสาหรับผู้ที่ได้รับรังสี รักษาบริเวณใบหน้าและลาคอส่วนต้น เพราะอาจทาให้เกิดพังผืดได้ กล้ามเนื้อจะยืดหยุ่นน้อยลงมีผลต่อการรับประทานอาหาร การกลืนและ การพูดได้ เวลาอ้าปากควรอ้าปากได้ประมาณ 35-55 มิลลิเมตร หรือ 3 นิ้วมือของตนเอง การบริหารต้องทาเป็นประจาวันละ 2-3 ครั้ง (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015. ; Owosho, et al., 2017) การบริหารบริเวณริมฝีปากและแก้ม (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557. ; Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) ดังนี้ 1. ทาได้โดยการอ้าปากกว้างๆ ออกเสียง “อา” 2. การดูด โดยการดูดน้าหรือดูดหลอด 3. การเป่ากระดาษ เป่าเทียน เป่าน้า หรือเป่านกหวีด 4. การบริหารโดยการเม้มริมฝีปากแน่นๆ แล้วคลายออก 5. การทาปากจู๋ สลับกับ การฉีกยิ้ม หรือออกเสียง “อู” สลับกับ “อี” 6. การกักลมในปากแล้วทาแก้มป่อง ต่อมาให้ค่อยๆ ปล่อยลมออก ช้าๆ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 5
  • 5. -การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร- นอกจากการบริหารบริเวณริมฝีปากและแก้มการบริหารลิ้นก็มี ความสาคัญมาก เพราะลิ้นมีส่วนสาคัญในการช่วยเรื่องการม้วนอาหาร เข้าสู่กระบวนการกลืน ถ้าลิ้นขยับได้ลดลงการม้วนอาหารและกวาด อาหารลงสู่ลาคอได้ไม่ดี ทาให้มีปัญหาเรื่องการรับประทานอาหารได้ การบริหารลิ้น (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557) ดังนี้ 1. ให้แตะลิ้นไปที่มุมปากทั้ง 2 ข้างสลับกัน 2. ให้แตะลิ้นไปที่กระพุ้งแก้มทั้ง 2 ข้างสลับกัน 3. ให้เดาะลิ้น 4. ให้พูดออกเสียง “ลา” “ลา” “ลา” หรือ “คา” คา” คา” ซ้าหลายๆ ครั้ง 5. ให้พูดออกเสียง “คาลา” “คาลา” “คาลา” ให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้ 6. ใช้ลิ้นเลียบริเวณริมฝีปากบนและล่าง มุมปากทั้งสองข้างสลับกัน 7. ใช้ลิ้นยกแตะเหงือก แล้วให้เคลื่อนลิ้นจากด้านหน้าไปด้านหลังซ้าๆ 6 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
  • 6. -การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร- การบริหารขากรรไกร ดังนี้ 1. อ้าปากค้างได้ 5 วินาทีและออกเสียง “อา” แล้วหุบปากให้ฟันสบกัน (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557) 2. ปิดริมฝีปากและเคลื่อนขากรรไกรล้างไปด้านข้าง โดยสลับด้านซ้าย และขวา ค้างไว้ข้างละ 5 วินาที (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557) 3. อ้าปากเล็กน้อย ขยับขากรรไกรล้างไปด้านข้าง โดยสลับด้านซ้าย และขวา ค้างไว้ข้างละ 5 วินาที ครั้ง (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) 4. เคลื่อนไหวขากรรไกรในลักษณะเหมือนเคี้ยวหมากฝรั่ง ทา 5-10 รอบ (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557) 5. ใช้นิ้วโป้งกดตรงปลายฟันบน บริเวณกึ่งกลางขากรรไกร ใช้นิ้วชี้ของ มืออีกข้างหนึ่ง กดลงบริเวณฟันล่างกึ่งกลางขากรรไกร ออกแรงกดบริเวณ ฟันเล็กน้อยในทิศทางตรงกันข้าม เพื่อให้ขากรรไกรอ้าออกให้ได้มากที่สุด แล้วอ้าปากค้างไว้ประมาณ 5 วินาที (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 7
  • 7. -การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร- การใช้นิ้วช่วยดันเบาๆ บริเวณฟันเพื่อให้อ้าขากรรไกรได้มากขึ้น 6. การยืนตัวตรง มองไปข้างหน้าตรง เพื่อคงการทางานของร่างกายให้ อยู่ในท่าที่เป็ นปกติ (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) 7. ก้มหน้าให้ได้มากที่สุดเพื่อยืดกล้ามเนื้อบริเวณลาคอด้านหลัง ค้าง ไว้ 30 วินาที ต่อมาให้เงยหน้าขึ้น ค้างไว้ 30 วินาที เช่นกัน (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) 8. หันหน้าไปทางด้านขวาเบาๆ หันมองทางขวาให้สุด แล้วค่อยๆ หัน กลับมาด้ านซ้ายเบาๆ หันมองไปทางซ้ายสุด (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) 8 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
  • 8. -การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร- 9. เอียงคอไปทางด้านซ้ายจนสุด ให้ใบหูเอียงไปทางหัวไหล่ให้มาก ที่สุด แล้วค่อยๆ เอียงศีรษะมาทางด้านขวา (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) 10. ก้มลงดันคางให้ชิดลาคอให้มากที่สุดแล้วคลายออก (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) 11. ยืดตัวตรงและดึงสะบักไปทางด้านหลังแล้วค่อยดึงกลับมา (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) ส่วนขยาย สาหรับผู้ที่ไม่ได้ตัดกล่องเสียงออกทั้งกมดการบริหาร กล้ามเนื้อที่ช่วยให้สายเสียงปิดแน่น ป้องกันไม่ให้อาหารเข้าไปใน หลอดลม แต่ผู้ที่ทาผ่าตัดกล่องเสียงออกทั้งหมดแล้วก็สามารถทาได้ใน บางท่า (นันทยา อุดมพาณิชย์, 2557) ดังนี้ 1. แลบลิ้นออกมานอกระหว่างฟัน แล้วใช้ฟันกัดลิ้นเบาๆ แล้วกลืน ทาซ้า 5 ครั้ง 2. แลบลิ้นออกมานอกปากโดยไม่ต้องกัดลิ้นแล้วกลืน ทาซ้า 5 ครั้ง คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 9
  • 9. -การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร- 3. นั่งบนเก้าอี้เท้าวางราบกับพื้น ประสานมือ 2 ข้างดันเข้าหากัน บริเวณหน้าอก หายใจเข้าแล้วค้างไว้ จากนั้นออกแรงดันมือเข้าหากัน พร้อมออกเสียง “อะ” ผ่อนคลายและทาช้าๆ การดูแลในช่องปาก ด้านขวา (Memorial Sloan Kettering Cancer Center, 2015.) 1. แปรงฟันและลิ้นหลังตื่นนอน หลังมื้ออาหาร และก่อนนอนทุกครั้ง 2. ถ้ามีฟันปลอมชนิดถอดได้ให้ถอดมาล้างทาความสะอาดด้วย 3. ควรใช้ไหมขัดฟันอย่างน้อยวันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน ถ้ามีปัญหาขากรรไกรยึดติดและเป็นมากขึ้นเรื่อยๆ ควรไปพบแพทย์ ซึ่งจะให้คาแนะนาเกี่ยวกับการป้องกันการยึดติดมากขึ้น และในกรณีที่มี ปัญหาเกี่ยวกับการพูดและการกลืนควรให้เจ้าหน้าที่ส่งปรึกษานักแก้ไข การพูดและการกลืน จะต้องพยายามแก้ไขจนกระทั่งสามารถเปิดปากได้ หรือ อ้าปากได้เอง สิ่งที่สาคัญที่สุดคือการออกกาลังกาย การยืดเหยียด กล้ามเนื้อ และการนวด 10 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
  • 10. -การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร- การฟื้นฟูโดยแพทย์ ซึ่งแพทย์จะพิจารณาว่าวิธีใดจะดีที่สุดในการ แก้ไขปัญหาให้แก่ผู้ป่วย ในที่นี้พูดถึงการพยายามทาให้ผู้ป่วยอ้าปากให้ ได้ มีทั้งการให้ยา การให้ยาแก้ปวด การลดการเกร็งของกล้ามเนื้อ วิธีที่ดี ที่สุดคือการเลือกวิธีการทาผ่าตัดหรือฉายรังสีที่จะทาให้ เกิด ภาวะแทรกซ้อนของภาวะขากรรไกรติดได้ แต่ถ้ามีปัญหาจริงๆ อาจต้อง ทาผ่าตัดเพื่อขยายขากรรไกร (Tsai, et al., 2016) เอกสารอ้างอิง นันทยา อุดมพาณิชย์. กิจกรรมบาบัดในผู้ป่วยกลืนลาบาก. Srinagarind Med, 2014, 29, 20-26. Memorial Sloan Kettering Cancer Center. (2015). Preventing trismus. Retrived, Dec 14, 2017. https://mskcc.org/cancer /patient-education/trismus. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 11
  • 11. -การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร- Owasho, A. A., Pedreira, M., Rossenberg, H. L., Yom, S. K., Drill, Esther., Riedel, E., Tsai, C. J., Lee, N. Y., Huryn, J. M., Cerry L E. Objective assessment of trismus in oral and oropharyngeal cancer patients treated with intensity- modulated radiation therapy (IMRT). J Craniomaxillofac Surgery, 44, 9, 1408-1413. Tsai, C., Wu, S., Lin, S., Ko, S., Chiang, W., & Yang, J. (2016). Reducing trismus after surgery and radiotherapy in oral cancer patients: result of alternative operation versus traditional operation. J Oral Maxillofac Surg, 74, 1072-1083. 12 จุลสารชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี ปีที่ 4 ฉบับที่ 5 กย – ตค 2560
  • 12. ข่าวสารสมาชิก ปัจจุบันสมาชิกที่มาฝึกพูดที่ที่โรงพยาบาลลดลง จากการสอบถาม พบว่ากลับไปทางานกันมากขึ้น โดยเฉพาะผู้ที่มีตาแหน่งบริหาร หรือ ตาแหน่งที่ใช้ความเชี่ยวชาญชานาญเฉพาะ จะต้องกลับไปทางานเร็วขึ้น บางครั้งหลังออกจากโรงพยาบาลก็ไปทางานแล้ว ดังนั้นการให้การ พยาบาลก่อนผ่าตัดจึงต้องไม่ลืมที่จะให้คาแนะนาในการฝึกพูดให้ใช้ริม ฝีปาก โดยให้ฝึกพูดให้ช้าๆ ชัดๆ เป็นคา ให้ผู้อื่นอ่านปากออก ห้ามใจร้อน ห้ามหงุดหงิด ควรจะเขียนและพูดร่วมด้วย เพื่อเพิ่มความเข้าใจให้แก่คู่ สนทนา วางแผนการติดต่อสื่อสารกับเพื่อนร่วมงาน ซึ่งต้องถามญาติหรือ ผู้ดูแลด้วยว่าผู้ป่วยสามารถสื่อสารกับคนใกล้ชิดได้หรือไม่ อาจจะต้องทา ใจนิดหน่อยค่ะ หลังจากที่ไปทางานพบว่าสมาชิกมีความสุขมากขึ้น บาง ท่านอาจบ่นว่าทางานไม่ได้หยุดพักเลย คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 13
  • 14. บทความวิชาการ - การบริหารบริเวณปากและขากรรไกร ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี สุทธินี สุดใจ หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก ชั้น 2 โซน H อาคารศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตน์ 270 โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนนพระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กทม 10400 โทร 0917746482 เบอร์โทรติดต่อที่หน่วยงาน : 022004069 เวลา 8-9 น. วันราชการ เวลาทากิจกรรม ทุกวันอังคาร เวลา 9.00 – 11.00 น. บริเวณศูนย์เสริมพลังสร้างสุขภาพ อาคารเรียนรวม ชั้น 1 ยินดีต้อนรับผู้ไร้กล่องเสียงทุกท่าน พิมพ์ครั้งที่ 1 จานวน 50 เล่ม ธันวาคม 2560 พิมพ์ที่ ชมรมผู้ไร้กล่องเสียงรามาธิบดี หน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโสต ศอ นาสิก 270 โรงพยาบาลรามาธิบดี ถนน พระราม 6 แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร 10400 โทร 0917746482 (สงวนลิขสิทธิ์)