SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
ประเภทของหลักสูตร
มโนทัศน์(Concept)
การจัดประเภทของหลักสูตรว่าเป็นประเภทใดนั้นขึ้นอยู่กับการตอบสนอง
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนและสถานการณ์ต่างๆ ที่เหมาะสมแต่ละประเภทและแต่
ละระดับการศึกษาเป็นสาคัญ ประเภทของหลักสูตรสามารถแบ่งได้เป็นหลักสูตรบูรณาการ
หลักสูตรกว้าง หลักสูตรเสริมประสบการณ์ หลักสูตรรายวิชา หลักสูตรแกน หลักสูตรแฝง
หลักสูตรสัมพันธ์วิชา หลักสูตรเกลียวสว่าน และหลักสูตรสูญ เป็นต้น
ผลการเรียนรู้(Learning Outcome)
บทเรียนนี้ออกแบบไว้ให้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถ ดังนี้
1.มีความรู้ในการจัดจาแนกประเภทของหลักสูตร
2.สามารถบอกลักษณะสาคัญของหลักสูตรแต่ละประเภทได้
สาระเนื้อหา(Content)
1. หลักสูตรบูรณาการ
เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรหลายวิชาเท่านั้นมีเหตุผลและความคิด
พื้นฐานซึ่งสนับสนุนอยู่ด้วยจะขออธิบายให้ทราบโดยสังเขปดังต่อไปนี้
1. เหตุผลและพื้นฐานความคิด
1.1 เหตุผลทางจิตวิทยาและวิชาการ
โดยธรรมชาติเด็กหรือผู้เรียนจะมีความสนใจ ฉงนสนเทห์และมี
ความกระตือรือร้นในการที่จะแสวงหาความรู้และสร้างความเข้าใจในสิ่งต่างๆ อยู่เสมอ
สมองของเด็กจะไม่จากัดอยู่กับการเรียนรู้วิชาใดวิชาหนึ่งเป็นส่วนๆ
1.2 เหตุผลทางสังคมวิทยา
เป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า การศึกษาจะเกิดผลดีที่สุดก็ต่อเมื่อให้ผู้เรียนสามารถ
ตอบปัญหาในชีวิตประจาวันได้ด้วยเหตุนี้หลักสูตรจึงต้องเป็นหลักสูตรสนับสนุนสิ่ง
ดังกล่าวซึ่งคุณสมบัตินี้มีอยู่ในหลักสูตรบูรณาการ
1.3 เหตุผลทางการบริหาร
หลักสูตรบูรณาการช่วยให้ลดตาราเรียนได้ คือแทนที่จะแยกเป็นตาราสาหรับ
แต่ละวิชา ซึ่งทาให้ต้องใช้ตาราหลายเล่ม ก็อาจรวมเนื้อหาของหลายวิชาไว้ในตาราเล่ม
เดียวกันและยังสามารถทาให้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้นด้วย
2. ลักษณะของหลักสูตรบูรณาการที่ดี
ในการผสมผสานวิชาหรือสาขาวิชาต่างๆ เพื่อให้ได้หลักสูตรบูรณาการนั้น
ถ้าจะให้ดีจริงๆนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องพยายามให้เกิดบูรณาการในลักษณะต่อไปนี้
โดยครบถ้วนคือ
1. บูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้
2. บูรณาการระหว่างพัฒนาการทางความรู้และพัฒนาการทางจิตใจ
3. บูรณาการระหว่างความรู้และการกระทา
4. บูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่เป็นอยู่ในชีวิตประจาวัน
ของผู้เรียน
5. บูรณาการระหว่างวิชาต่างๆ
3. รูปแบบของบูรณาการ
หลักสูตรบูรณาการเท่าที่มีอยู่ในเวลานี้มี 3 รูปแบบ
1. บูรณาการภายในหมวดวิชา
เราได้ทราบแล้วว่าหลักสูตรกว้างนั้นเป็นหลักสูตรที่ได้มี การนาเอาวิชาหลายๆ
วิชามารวมกันในลักษณะที่ผสมกลมกลืน แทนที่จะนาเอาเนื้อวิชามาเรียงลาดับกันเฉยๆ
2. บูรณาการ ภายในหัวข้อ และโครงการ หลายประเทศในเอเชียนิยมใช้
วิธีการแบบนี้คือการนาเอาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ของวิชาหรือหมวดวิชาตั้งแต่
สองวิชาหรือหมวดวิชาขึ้นไป มาผสมผสานกันในลักษณะที่เป็นหัวข้อหรือโครงการ
3. บูรณาการโดยการผสมผสานปัญหาและความต้องการของผู้เรียนและของ
สังคม หลักสูตรที่ใช้การผสมผสานแบบนี้ ความจริงก็มีรูปแบบเหมือนอย่างสองแบบ
แรกที่ได้กล่าวมาแล้วคืออาจผสมผสานภายในหมวดวิชาหรือภายในหัวข้อและโครงการ
ก็ได้
2. หลักสูตรกว้าง
หลักสูตรกว้าง (The Broad-Field Curriculum) เป็นหลักสูตรอีก
แบบหนึ่งที่พยายามแก้ไขจุดอ่อนของหลักสูตรรายวิชา โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ
ส่งเสริมการเรียนการสอนให้เป็นที่น่าสนใจและเร้าใจ ช่วยให้ผู้เรียนมีความ
เข้าใจและสามารถปรับตนให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมได้เป็นอย่างดี รวมทั้งให้
มีพัฒนาการในด้านต่างๆ ทุกด้าน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือพยายามจะหนีจาก
หลักสูตรที่ยึดวิชาเป็นพื้นฐาน มีครูหรือผู้สอนเป็นผู้สั่งการแต่เพียงผู้เดี
3. หลักสูตรประสบการณ์
หลักสูตรประสบการณ์ (The Experience Curriculum) เกิดขึ้นเพื่อ
แก้ปัญหาที่ว่าหลักสูตรเดิมที่ใช้อยู่ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรรายวิชาหรือหลักสูตรกว้าง
ล้วนไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนเท่าที่ควร พื้นฐาน
ความคิดของหลักสูตรนี้มีมาตั้งแต่สมัยรุซโซ (Rousseau) และเพลโต (Plato)
แต่ได้นามาปฏิบัติจริงเมื่อต้นศตวรรษที่ 20 นี้เองนับเป็นก้าวแรกที่ยึดเด็กหรือผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง
4. หลักสูตรรายวิชา
หลักสูตรรายวิชา (The Subject Curriculum) เป็นหลักสูตรที่ใช้กันมา
แต่ดั้งเดิมไม่เฉพาะแต่ในยุโรปหรือสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ประเทศในเอเชียรวมทั้ง
ประเทศไทยก็ได้ใช้หลักสูตรแบบนี้มาแต่ต้น การที่เรียนกว่าหลักสูตรรายวิชาก็
เนื่องจากโครงสร้างของเนื้อหาวิชาในหลักสูตร จะถูกแยกออกจากกันเป็นรายวิชา
โดยไม่จาเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกันไม่ว่าในด้านเนื้อหาหรือการสอน สาหรับ
เนื้อหาที่คัดมาถือว่าเป็นเนื้อหาที่สาคัญและจาเป็นต่อการเรียนรู้ หลักสูตรของไทย
เราที่ยังเป็นหลักสูตรรายวิชา ได้แก่ หลักสูตรมัธยมและอุดมศึกษา แต่มีการ
ปรับปรุงโครงสร้าง โดยนาเอาระบบหน่วยกิตมาใช้
5. หลักสูตรแกน
หลักสูตรแกน (The Core Curriculum) ถือกาเนิดขึ้นที่สหรัฐอเมริกาเมื่อ
ประมาณปี ค.ศ. 1900 ด้วยเหตุผลสองประการ คือ ความพยายามที่จะปลีกตัวออก
จากการเรียนที่ต้องแบ่งแยกวิชาออกเป็นรายวิชาย่อยๆ หรือพูดง่ายๆ ก็คือความ
พยายามที่จะให้หลุดพ้นจากการเป็นหลักสูตรรายวิชา ประการหนึ่ง และความพยายาม
ที่จะดึงเอาความต้องการและปัญหาของสังคมมาเป็นศูนย์กลางของหลักสูตร อีก
ประการหนึ่ง
แรกทีเดียวได้มีการนาเอาเนื้อหาของวิชาต่างๆ มารวมกันเข้าเป็นวิชา
กว้างๆ เรียกว่าหมวดวิชา ทาให้เกิดหลักสูตรแบบกว้างขึ้น แต่หลักสูตรนี้มิได้มีส่วน
สัมพันธ์กับปัญหาและความต้องการของสังคมมากนัก ดังนั้นจึงมีผู้คิดหลักสูตรแกน
เพื่อสนองจุดหมายที่ต้องการ
6. หลักสูตรแฝง (Hidden Curriculum)
โรงเรียนโดยทั่วไปจะมีความสามารถและประสบความสาเร็จอย่างมาก
ในการสอนให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้คิดเลขเป็นและมีความรู้อย่างดียิ่งใน
สาขาวิชาต่างๆ แต่สิ่งหนึ่งที่โรงเรียนได้ตระหนักและพยายามอย่างมาก แต่ไม่ค่อย
ประสบความสาเร็จหรืออาจจะเรียกได้ว่าล้มเหลวมาตลอดก็คือ การสอนคุณธรรม
จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดีให้แก่นักเรียน เด็กเหล่านี้ได้รับการปลูกฝัง และ
อบรมสั่งสอนจากครูอย่างจริงจัง แต่พวกเขาก็ไม่ค่อยปฏิบัติตามสิ่งที่ครูสอนมากนัก
แม้จะมีนักเรียนบางคนประพฤติตนตามคาสอนของครูอย่างเคร่งครัด แต่เมื่อเขาออก
จากโรงเรียนไปแล้วก็เปลี่ยนพฤติกรรมและค่านิยมไปตามสังคมที่เรามองกันว่าไม่
เหมาะสม
7. หลักสูตรสัมพันธ์วิชา
หลักสูตรสัมพันธ์วิชา (The CorrelatedCurriculum) เป็น
หลักสูตรรายวิชาที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ แรกทีเดียว
การแก้ไขข้อบกพร่องทาโดยการนาเอาเทคนิคการสอนใหม่ๆ มาใช้ เช่น ให้
ผู้เรียนร่วมในการวางแผนการเรียน และให้ผู้เรียนทากิจกรรมต่างๆ
นอกเหนือจากการท่องจา เพื่อให้ผู้เรียนรู้เนื้อหาที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อแก้
ข้อบกพร่องของหลักสูตรที่เน้นเรื่องผู้สอนเป็นผู้สั่งการหรือจุดศูนย์กลาง
ของการเรียนการสอน แต่การปรับปรุงด้านเทคนิคการสอนไม่ได้ช่วยแก้ไข
ข้อบกพร่องที่ว่า หลักสูตรรายวิชามีขอบเขตแคบเฉพาะวิชา และยังมี
ลักษณะแบ่งแยกเป็นส่วนย่อยๆ อีกด้วย
8. หลักสูตรเกลียวสว่าน (Spiral Curriculum)
ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นเสมอในระหว่างผู้จัดทาหลักสูตรด้วยกันเอง
ได้แก่ ข้อสงสัยที่ว่าทาไมจึงต้องจัดหัวข้อเนื้อหาในเรื่องเดียวกันซ้าๆ กันอยู่เสมอ
ในเกือบทุกระดับชั้น แม้จะได้มีผู้พยายามกระทาตามความคิดที่จะจัดสรรเนื้อหา
ในแต่ละเรื่องหรือแต่ละหัวข้อให้จบในแต่ละระดับชั้น แต่ในทางปฏิบัติและใน
ข้อเท็จจริงยังกระทาไม่ได้ เนื่องจากว่าเนื้อหาหรือหัวข้อต่างๆ จะประกอบด้วย
ความกว้างและความลึก ซึ่งมีความยากง่ายไปตามเรื่องรายละเอียดของเนื้อหา
นักพัฒนาหลักสูตรยอมรับในปรากฏการณ์นี้และเรียกการจัดเนื้อหาเรื่องเดียวกัน
ไว้ในทุกระดับชั้นหรือหลายๆ ระดับชั้น แต่มีรายละเอียดและความยากง่าย
แตกต่างกันไปตามวัยของผู้เรียนว่า หลักสูตรเกลียวสว่าน
9. หลักสูตรสูญ ( Null Curriculum)
หลักสูตรสูญหรือ Null Curriculum เป็นความคิดและคาที่บัญญัติขึ้นโดย
ไอส์เนอร์ (Eisner,1979)แห่งมหาวิทยาลัยแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา หลักสูตรสูญ
เป็นชื่อประเภทของสูตรที่ไม่แพร่หลาย และไม่เป็นที่รู้จักกันมากนักในระหว่างนัก
การศึกษา และนักพัฒนาหลักสูตรด้วยกัน
เขาได้นิยามหลักสูตรสูญว่า เป็นหลักสูตรที่ไม่ได้มีปรากฏอยู่ให้เห็นใน
แผนการเรียนรู้ และเป็นสิ่งที่โรงเรียนไม่ได้สอน
เขาได้อธิบายถึงความเชื่อของเขาในเรื่องนี้ว่าสิ่งที่ไม่ปรากฏอยู่ในตัว
หลักสูตรและสิ่งที่ครูไม่ได้โดยให้เหตุผลว่า ความรู้หรือการขาดสิ่งที่ควรจากรู้ไม่ได้
เป็นแต่เพียงความว่างเปล่าที่หลายคนอาจคิดว่าไม่ได้สร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้ใด
แต่โดยความเป็นจริงแล้ว การขาดความรู้ดังกล่าวย่อมมีผลกระทบที่สาคัญมาก
ในแง่ที่ทาให้ผู้เรียนขาดทางเลือกที่เขาอาจนาไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต
ของเขาได้นั้นก็คือ การขาดความรู้บางอย่างไปอาจทาให้ชีวิตของคนๆ หนึ่งขาดความ
สมบูรณ์ได้
นอกจากนี้ยังอธิบายเพิ่มเติมได้ว่า หลักสูตรสูญได้แก่ ทางเลือกที่ไม่ได้
จัดเตรียมไว้ให้ผู้เรียน ความคิดและทรรศนะที่ผู้เรียนไม่เคยสัมผัสและเรียนรู้สิ่งที่ผู้เรียน
จะนาไปประยุกต์ใช้ได้แต่มีไว้ไม่พอ รวมทั้งความคิดและทักษะที่ไม่ได้รวมไว้ใน
กิจกรรมทางปัญญา

More Related Content

Similar to บทที่ 3

3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
fernfielook
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
wanitchaya001
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
wanneemayss
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
gam030
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Theerayut Ponman
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
wanichaya kingchaikerd
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
benty2443
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
nattawad147
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
nattapong147
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Piyapong Chaichana
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
poppai041507094142
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
kanwan0429
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
kanwan0429
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
Phonchanitmelrdie
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
nattawad147
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
nattawad147
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
Pateemoh254
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Theerayut Ponman
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
wanneemayss
 

Similar to บทที่ 3 (20)

3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
3 170819173149
3 1708191731493 170819173149
3 170819173149
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 

More from Theerayut Ponman

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Theerayut Ponman
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Theerayut Ponman
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
Theerayut Ponman
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Theerayut Ponman
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Theerayut Ponman
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Theerayut Ponman
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Theerayut Ponman
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Theerayut Ponman
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
Theerayut Ponman
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
Theerayut Ponman
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
Theerayut Ponman
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
Theerayut Ponman
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
Theerayut Ponman
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
Theerayut Ponman
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
Theerayut Ponman
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Theerayut Ponman
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
Theerayut Ponman
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Theerayut Ponman
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
Theerayut Ponman
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
Theerayut Ponman
 

More from Theerayut Ponman (20)

บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่10
บทที่10บทที่10
บทที่10
 

บทที่ 3

  • 2. มโนทัศน์(Concept) การจัดประเภทของหลักสูตรว่าเป็นประเภทใดนั้นขึ้นอยู่กับการตอบสนอง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนและสถานการณ์ต่างๆ ที่เหมาะสมแต่ละประเภทและแต่ ละระดับการศึกษาเป็นสาคัญ ประเภทของหลักสูตรสามารถแบ่งได้เป็นหลักสูตรบูรณาการ หลักสูตรกว้าง หลักสูตรเสริมประสบการณ์ หลักสูตรรายวิชา หลักสูตรแกน หลักสูตรแฝง หลักสูตรสัมพันธ์วิชา หลักสูตรเกลียวสว่าน และหลักสูตรสูญ เป็นต้น ผลการเรียนรู้(Learning Outcome) บทเรียนนี้ออกแบบไว้ให้เรียนรู้ร่วมกันเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีความสามารถ ดังนี้ 1.มีความรู้ในการจัดจาแนกประเภทของหลักสูตร 2.สามารถบอกลักษณะสาคัญของหลักสูตรแต่ละประเภทได้
  • 3. สาระเนื้อหา(Content) 1. หลักสูตรบูรณาการ เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของหลักสูตรหลายวิชาเท่านั้นมีเหตุผลและความคิด พื้นฐานซึ่งสนับสนุนอยู่ด้วยจะขออธิบายให้ทราบโดยสังเขปดังต่อไปนี้ 1. เหตุผลและพื้นฐานความคิด 1.1 เหตุผลทางจิตวิทยาและวิชาการ โดยธรรมชาติเด็กหรือผู้เรียนจะมีความสนใจ ฉงนสนเทห์และมี ความกระตือรือร้นในการที่จะแสวงหาความรู้และสร้างความเข้าใจในสิ่งต่างๆ อยู่เสมอ สมองของเด็กจะไม่จากัดอยู่กับการเรียนรู้วิชาใดวิชาหนึ่งเป็นส่วนๆ
  • 4. 1.2 เหตุผลทางสังคมวิทยา เป็นที่ยอมรับกันแล้วว่า การศึกษาจะเกิดผลดีที่สุดก็ต่อเมื่อให้ผู้เรียนสามารถ ตอบปัญหาในชีวิตประจาวันได้ด้วยเหตุนี้หลักสูตรจึงต้องเป็นหลักสูตรสนับสนุนสิ่ง ดังกล่าวซึ่งคุณสมบัตินี้มีอยู่ในหลักสูตรบูรณาการ 1.3 เหตุผลทางการบริหาร หลักสูตรบูรณาการช่วยให้ลดตาราเรียนได้ คือแทนที่จะแยกเป็นตาราสาหรับ แต่ละวิชา ซึ่งทาให้ต้องใช้ตาราหลายเล่ม ก็อาจรวมเนื้อหาของหลายวิชาไว้ในตาราเล่ม เดียวกันและยังสามารถทาให้เป็นที่น่าสนใจมากขึ้นด้วย
  • 5. 2. ลักษณะของหลักสูตรบูรณาการที่ดี ในการผสมผสานวิชาหรือสาขาวิชาต่างๆ เพื่อให้ได้หลักสูตรบูรณาการนั้น ถ้าจะให้ดีจริงๆนักพัฒนาหลักสูตรจะต้องพยายามให้เกิดบูรณาการในลักษณะต่อไปนี้ โดยครบถ้วนคือ 1. บูรณาการระหว่างความรู้และกระบวนการเรียนรู้ 2. บูรณาการระหว่างพัฒนาการทางความรู้และพัฒนาการทางจิตใจ 3. บูรณาการระหว่างความรู้และการกระทา 4. บูรณาการระหว่างสิ่งที่เรียนในโรงเรียนกับสิ่งที่เป็นอยู่ในชีวิตประจาวัน ของผู้เรียน 5. บูรณาการระหว่างวิชาต่างๆ
  • 6. 3. รูปแบบของบูรณาการ หลักสูตรบูรณาการเท่าที่มีอยู่ในเวลานี้มี 3 รูปแบบ 1. บูรณาการภายในหมวดวิชา เราได้ทราบแล้วว่าหลักสูตรกว้างนั้นเป็นหลักสูตรที่ได้มี การนาเอาวิชาหลายๆ วิชามารวมกันในลักษณะที่ผสมกลมกลืน แทนที่จะนาเอาเนื้อวิชามาเรียงลาดับกันเฉยๆ 2. บูรณาการ ภายในหัวข้อ และโครงการ หลายประเทศในเอเชียนิยมใช้ วิธีการแบบนี้คือการนาเอาความรู้ ทักษะและประสบการณ์ ของวิชาหรือหมวดวิชาตั้งแต่ สองวิชาหรือหมวดวิชาขึ้นไป มาผสมผสานกันในลักษณะที่เป็นหัวข้อหรือโครงการ 3. บูรณาการโดยการผสมผสานปัญหาและความต้องการของผู้เรียนและของ สังคม หลักสูตรที่ใช้การผสมผสานแบบนี้ ความจริงก็มีรูปแบบเหมือนอย่างสองแบบ แรกที่ได้กล่าวมาแล้วคืออาจผสมผสานภายในหมวดวิชาหรือภายในหัวข้อและโครงการ ก็ได้
  • 7. 2. หลักสูตรกว้าง หลักสูตรกว้าง (The Broad-Field Curriculum) เป็นหลักสูตรอีก แบบหนึ่งที่พยายามแก้ไขจุดอ่อนของหลักสูตรรายวิชา โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะ ส่งเสริมการเรียนการสอนให้เป็นที่น่าสนใจและเร้าใจ ช่วยให้ผู้เรียนมีความ เข้าใจและสามารถปรับตนให้เข้ากับสภาวะแวดล้อมได้เป็นอย่างดี รวมทั้งให้ มีพัฒนาการในด้านต่างๆ ทุกด้าน กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือพยายามจะหนีจาก หลักสูตรที่ยึดวิชาเป็นพื้นฐาน มีครูหรือผู้สอนเป็นผู้สั่งการแต่เพียงผู้เดี
  • 8. 3. หลักสูตรประสบการณ์ หลักสูตรประสบการณ์ (The Experience Curriculum) เกิดขึ้นเพื่อ แก้ปัญหาที่ว่าหลักสูตรเดิมที่ใช้อยู่ ไม่ว่าจะเป็นหลักสูตรรายวิชาหรือหลักสูตรกว้าง ล้วนไม่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสนใจและกระตือรือร้นในการเรียนเท่าที่ควร พื้นฐาน ความคิดของหลักสูตรนี้มีมาตั้งแต่สมัยรุซโซ (Rousseau) และเพลโต (Plato) แต่ได้นามาปฏิบัติจริงเมื่อต้นศตวรรษที่ 20 นี้เองนับเป็นก้าวแรกที่ยึดเด็กหรือผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง
  • 9. 4. หลักสูตรรายวิชา หลักสูตรรายวิชา (The Subject Curriculum) เป็นหลักสูตรที่ใช้กันมา แต่ดั้งเดิมไม่เฉพาะแต่ในยุโรปหรือสหรัฐอเมริกาเท่านั้น ประเทศในเอเชียรวมทั้ง ประเทศไทยก็ได้ใช้หลักสูตรแบบนี้มาแต่ต้น การที่เรียนกว่าหลักสูตรรายวิชาก็ เนื่องจากโครงสร้างของเนื้อหาวิชาในหลักสูตร จะถูกแยกออกจากกันเป็นรายวิชา โดยไม่จาเป็นต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกันไม่ว่าในด้านเนื้อหาหรือการสอน สาหรับ เนื้อหาที่คัดมาถือว่าเป็นเนื้อหาที่สาคัญและจาเป็นต่อการเรียนรู้ หลักสูตรของไทย เราที่ยังเป็นหลักสูตรรายวิชา ได้แก่ หลักสูตรมัธยมและอุดมศึกษา แต่มีการ ปรับปรุงโครงสร้าง โดยนาเอาระบบหน่วยกิตมาใช้
  • 10. 5. หลักสูตรแกน หลักสูตรแกน (The Core Curriculum) ถือกาเนิดขึ้นที่สหรัฐอเมริกาเมื่อ ประมาณปี ค.ศ. 1900 ด้วยเหตุผลสองประการ คือ ความพยายามที่จะปลีกตัวออก จากการเรียนที่ต้องแบ่งแยกวิชาออกเป็นรายวิชาย่อยๆ หรือพูดง่ายๆ ก็คือความ พยายามที่จะให้หลุดพ้นจากการเป็นหลักสูตรรายวิชา ประการหนึ่ง และความพยายาม ที่จะดึงเอาความต้องการและปัญหาของสังคมมาเป็นศูนย์กลางของหลักสูตร อีก ประการหนึ่ง แรกทีเดียวได้มีการนาเอาเนื้อหาของวิชาต่างๆ มารวมกันเข้าเป็นวิชา กว้างๆ เรียกว่าหมวดวิชา ทาให้เกิดหลักสูตรแบบกว้างขึ้น แต่หลักสูตรนี้มิได้มีส่วน สัมพันธ์กับปัญหาและความต้องการของสังคมมากนัก ดังนั้นจึงมีผู้คิดหลักสูตรแกน เพื่อสนองจุดหมายที่ต้องการ
  • 11. 6. หลักสูตรแฝง (Hidden Curriculum) โรงเรียนโดยทั่วไปจะมีความสามารถและประสบความสาเร็จอย่างมาก ในการสอนให้นักเรียนอ่านออก เขียนได้คิดเลขเป็นและมีความรู้อย่างดียิ่งใน สาขาวิชาต่างๆ แต่สิ่งหนึ่งที่โรงเรียนได้ตระหนักและพยายามอย่างมาก แต่ไม่ค่อย ประสบความสาเร็จหรืออาจจะเรียกได้ว่าล้มเหลวมาตลอดก็คือ การสอนคุณธรรม จริยธรรม และความเป็นพลเมืองดีให้แก่นักเรียน เด็กเหล่านี้ได้รับการปลูกฝัง และ อบรมสั่งสอนจากครูอย่างจริงจัง แต่พวกเขาก็ไม่ค่อยปฏิบัติตามสิ่งที่ครูสอนมากนัก แม้จะมีนักเรียนบางคนประพฤติตนตามคาสอนของครูอย่างเคร่งครัด แต่เมื่อเขาออก จากโรงเรียนไปแล้วก็เปลี่ยนพฤติกรรมและค่านิยมไปตามสังคมที่เรามองกันว่าไม่ เหมาะสม
  • 12. 7. หลักสูตรสัมพันธ์วิชา หลักสูตรสัมพันธ์วิชา (The CorrelatedCurriculum) เป็น หลักสูตรรายวิชาที่ได้รับการปรับปรุงเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ แรกทีเดียว การแก้ไขข้อบกพร่องทาโดยการนาเอาเทคนิคการสอนใหม่ๆ มาใช้ เช่น ให้ ผู้เรียนร่วมในการวางแผนการเรียน และให้ผู้เรียนทากิจกรรมต่างๆ นอกเหนือจากการท่องจา เพื่อให้ผู้เรียนรู้เนื้อหาที่ต้องการ ทั้งนี้เพื่อแก้ ข้อบกพร่องของหลักสูตรที่เน้นเรื่องผู้สอนเป็นผู้สั่งการหรือจุดศูนย์กลาง ของการเรียนการสอน แต่การปรับปรุงด้านเทคนิคการสอนไม่ได้ช่วยแก้ไข ข้อบกพร่องที่ว่า หลักสูตรรายวิชามีขอบเขตแคบเฉพาะวิชา และยังมี ลักษณะแบ่งแยกเป็นส่วนย่อยๆ อีกด้วย
  • 13. 8. หลักสูตรเกลียวสว่าน (Spiral Curriculum) ปัญหาหนึ่งที่เกิดขึ้นเสมอในระหว่างผู้จัดทาหลักสูตรด้วยกันเอง ได้แก่ ข้อสงสัยที่ว่าทาไมจึงต้องจัดหัวข้อเนื้อหาในเรื่องเดียวกันซ้าๆ กันอยู่เสมอ ในเกือบทุกระดับชั้น แม้จะได้มีผู้พยายามกระทาตามความคิดที่จะจัดสรรเนื้อหา ในแต่ละเรื่องหรือแต่ละหัวข้อให้จบในแต่ละระดับชั้น แต่ในทางปฏิบัติและใน ข้อเท็จจริงยังกระทาไม่ได้ เนื่องจากว่าเนื้อหาหรือหัวข้อต่างๆ จะประกอบด้วย ความกว้างและความลึก ซึ่งมีความยากง่ายไปตามเรื่องรายละเอียดของเนื้อหา นักพัฒนาหลักสูตรยอมรับในปรากฏการณ์นี้และเรียกการจัดเนื้อหาเรื่องเดียวกัน ไว้ในทุกระดับชั้นหรือหลายๆ ระดับชั้น แต่มีรายละเอียดและความยากง่าย แตกต่างกันไปตามวัยของผู้เรียนว่า หลักสูตรเกลียวสว่าน
  • 14. 9. หลักสูตรสูญ ( Null Curriculum) หลักสูตรสูญหรือ Null Curriculum เป็นความคิดและคาที่บัญญัติขึ้นโดย ไอส์เนอร์ (Eisner,1979)แห่งมหาวิทยาลัยแตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา หลักสูตรสูญ เป็นชื่อประเภทของสูตรที่ไม่แพร่หลาย และไม่เป็นที่รู้จักกันมากนักในระหว่างนัก การศึกษา และนักพัฒนาหลักสูตรด้วยกัน เขาได้นิยามหลักสูตรสูญว่า เป็นหลักสูตรที่ไม่ได้มีปรากฏอยู่ให้เห็นใน แผนการเรียนรู้ และเป็นสิ่งที่โรงเรียนไม่ได้สอน เขาได้อธิบายถึงความเชื่อของเขาในเรื่องนี้ว่าสิ่งที่ไม่ปรากฏอยู่ในตัว หลักสูตรและสิ่งที่ครูไม่ได้โดยให้เหตุผลว่า ความรู้หรือการขาดสิ่งที่ควรจากรู้ไม่ได้ เป็นแต่เพียงความว่างเปล่าที่หลายคนอาจคิดว่าไม่ได้สร้างความเดือดร้อนให้แก่ผู้ใด แต่โดยความเป็นจริงแล้ว การขาดความรู้ดังกล่าวย่อมมีผลกระทบที่สาคัญมาก
  • 15. ในแง่ที่ทาให้ผู้เรียนขาดทางเลือกที่เขาอาจนาไปใช้แก้ปัญหาและพัฒนาชีวิต ของเขาได้นั้นก็คือ การขาดความรู้บางอย่างไปอาจทาให้ชีวิตของคนๆ หนึ่งขาดความ สมบูรณ์ได้ นอกจากนี้ยังอธิบายเพิ่มเติมได้ว่า หลักสูตรสูญได้แก่ ทางเลือกที่ไม่ได้ จัดเตรียมไว้ให้ผู้เรียน ความคิดและทรรศนะที่ผู้เรียนไม่เคยสัมผัสและเรียนรู้สิ่งที่ผู้เรียน จะนาไปประยุกต์ใช้ได้แต่มีไว้ไม่พอ รวมทั้งความคิดและทักษะที่ไม่ได้รวมไว้ใน กิจกรรมทางปัญญา