SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู 
        คอมพิวเตอร  (Computer)  หมายถึง  อุปกรณทางอิเล็คทรอนิต  ที่สามารถกําหนดชุดคําสั่ง 
(Programmed)  เพื่อใหเกิดการรับขอมูลจากสวนนําเขา  (Input  Unit)  แลวนํามาทําการประมวลผล 
(Processing) ใหเกิดเปนสารสนเทศในสวนแสดงผลลัพธ (Output Unit) ที่เกิดประโยชนและเราเก็บ 
สารสนเทศเหลานี้ไวในสวนสํารองขอมูล  (Secondary  Storage)  ที่เราสามารถนํากลับมาใชหรือ 
ปรับแกไดตามตองการ 

        ตนกําเนิดของคอมพิวเตอร 
       ชาวจีนในประมาณ  2600  ป  กอนคริสตกาล    ไดเปนคนประดิษฐเครื่องมือเพื่อใชในการ 
คํานวณขึ้นมา เรียกวา ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือไดวาเปนตนกําเนิดของเครื่องคํานวณและคอมพิวเตอร 
        พ.ศ. 2185  นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ชื่อ  Blaise Pascal  ไดออกแบบเครื่องชวยในการ 
คํานวณโดยใชหลักการหมุนของฟนเฟอง ตอมาในป  พ.ศ. 2337  กอดฟริด  ฟอนไลบนิช (Gottfried 
von Leibniz)ชาวเยอรมันไดประดิษฐเครื่องคํานวณที่มีขดความสามารถสูงสามารถคูณและหารได 
                                                    ี
          บุคคลผูหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอการผลิตเครื่องจักรคํานวณคือ  ชารลส  แบบเบจ (Charles 
Babbage)  ชาวอังกฤษในปพ.ศ.  2343  เขาประสบความสําเร็จสรางเครื่องคํานวณ    ที่เรียกวา 
Difference  engine  ตอมาในปพ.ศ.2439  ฮอลเลอริชไดจดทะเบียนกอตั้งบริษัทเพื่อผลิตจําหนาย 
เครื่องจักรชวยในการคํานวณ    ชื่อ  บริษัท  คอมพิวติง  เทบบูลาติงเรดคอสดิง    หลังจากนั้นในป 
พ.ศ.2467  ไดเปลี่ยนมาเปนชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International Business Machine: IBM) 
           แนวคิดในการประดิษฐเครื่องวิเคราะหของแบบเบจนั้นกาวหนามากโดยเฉพาะแนวคิด 
ทางดานการใชโปรแกรมควบคุมการทํางานโดยอัตโนมัต ิ แบบเบจไดริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการใช 
คําสั่งเลือกแบบมีเงื่อนไข  เครื่องวิเคราะหที่แบบเบจวิเคราะหขึ้นอาจกลาวไดวาเปนแนวคิดเดียวกับ 
การทํางานของคอมพิวเตอรในปจจุบัน  แตแบบเบจก็ไมสามารถสรางเครื่องวิเคราะหนใหเปนจริง 
                                                                                      ี้
ไดเนื่องจากเปนความคิดที่ล้ํายุคเกินไป  จึงทําใหไมมชางฝมือคนใดสามารถผลิตฟนเฟองตางๆ 
                                                          ี
ตามที่เขาตองการได    แบบเบจถึงแกกรรมกอนทีจะไดทราบวาแนวคิดของเขานั้นสามารถเปนจริง 
                                                   ่
ไดในเชิงไฟฟาไมใชเชิงกล  แบบเบจจึงไดรับสมญานามวา เปน บิดาแหงคอมพิวเตอร

More Related Content

More from poomarin

ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์poomarin
 
ใบความรู้เพาเวอร์พอย
ใบความรู้เพาเวอร์พอยใบความรู้เพาเวอร์พอย
ใบความรู้เพาเวอร์พอยpoomarin
 
ใบความรู้เพาเวอร์พอย
ใบความรู้เพาเวอร์พอยใบความรู้เพาเวอร์พอย
ใบความรู้เพาเวอร์พอยpoomarin
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointpoomarin
 
ใบงานแผ่นผับ
ใบงานแผ่นผับใบงานแผ่นผับ
ใบงานแผ่นผับpoomarin
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับpoomarin
 
ใบงานประวัติ2
ใบงานประวัติ2ใบงานประวัติ2
ใบงานประวัติ2poomarin
 
ใบงานประวัติ
ใบงานประวัติใบงานประวัติ
ใบงานประวัติpoomarin
 
ใบความรู้ประวัติ3
ใบความรู้ประวัติ3ใบความรู้ประวัติ3
ใบความรู้ประวัติ3poomarin
 
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมpoomarin
 
Sign uphotmail
Sign uphotmailSign uphotmail
Sign uphotmailpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์poomarin
 
ทดสอบสมรรถนะฟิสิก
ทดสอบสมรรถนะฟิสิกทดสอบสมรรถนะฟิสิก
ทดสอบสมรรถนะฟิสิกpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตpoomarin
 
เนื้อหาสอบคอม2
เนื้อหาสอบคอม2เนื้อหาสอบคอม2
เนื้อหาสอบคอม2poomarin
 

More from poomarin (20)

ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์ใบงานเพาเวอร์พอยต์
ใบงานเพาเวอร์พอยต์
 
ใบความรู้เพาเวอร์พอย
ใบความรู้เพาเวอร์พอยใบความรู้เพาเวอร์พอย
ใบความรู้เพาเวอร์พอย
 
ใบความรู้เพาเวอร์พอย
ใบความรู้เพาเวอร์พอยใบความรู้เพาเวอร์พอย
ใบความรู้เพาเวอร์พอย
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpoint
 
ใบงานแผ่นผับ
ใบงานแผ่นผับใบงานแผ่นผับ
ใบงานแผ่นผับ
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
ใบงานประวัติ2
ใบงานประวัติ2ใบงานประวัติ2
ใบงานประวัติ2
 
ใบงานประวัติ
ใบงานประวัติใบงานประวัติ
ใบงานประวัติ
 
ใบความรู้ประวัติ3
ใบความรู้ประวัติ3ใบความรู้ประวัติ3
ใบความรู้ประวัติ3
 
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุมใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
ใบสมัครเข้าเรียนกิจกรรมชุมนุม
 
Sign uphotmail
Sign uphotmailSign uphotmail
Sign uphotmail
 
Work02
Work02Work02
Work02
 
Work01
Work01Work01
Work01
 
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
ทดสอบสมรรถนะโลก อวกาศ ดาราศาสตร์
 
ทดสอบสมรรถนะฟิสิก
ทดสอบสมรรถนะฟิสิกทดสอบสมรรถนะฟิสิก
ทดสอบสมรรถนะฟิสิก
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิต
 
ทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมีทดสอบสมรรถนะเคมี
ทดสอบสมรรถนะเคมี
 
ทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีวทดสอบสมรรถนะชีว
ทดสอบสมรรถนะชีว
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิต
 
เนื้อหาสอบคอม2
เนื้อหาสอบคอม2เนื้อหาสอบคอม2
เนื้อหาสอบคอม2
 

ใบความรู้ประวัติ3

  • 1. ใบความรู  คอมพิวเตอร  (Computer)  หมายถึง  อุปกรณทางอิเล็คทรอนิต  ที่สามารถกําหนดชุดคําสั่ง  (Programmed)  เพื่อใหเกิดการรับขอมูลจากสวนนําเขา  (Input  Unit)  แลวนํามาทําการประมวลผล  (Processing) ใหเกิดเปนสารสนเทศในสวนแสดงผลลัพธ (Output Unit) ที่เกิดประโยชนและเราเก็บ  สารสนเทศเหลานี้ไวในสวนสํารองขอมูล  (Secondary  Storage)  ที่เราสามารถนํากลับมาใชหรือ  ปรับแกไดตามตองการ  ตนกําเนิดของคอมพิวเตอร  ชาวจีนในประมาณ  2600  ป  กอนคริสตกาล    ไดเปนคนประดิษฐเครื่องมือเพื่อใชในการ  คํานวณขึ้นมา เรียกวา ลูกคิด (Abacus) ซึ่งถือไดวาเปนตนกําเนิดของเครื่องคํานวณและคอมพิวเตอร  พ.ศ. 2185  นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ชื่อ  Blaise Pascal  ไดออกแบบเครื่องชวยในการ  คํานวณโดยใชหลักการหมุนของฟนเฟอง ตอมาในป  พ.ศ. 2337  กอดฟริด  ฟอนไลบนิช (Gottfried  von Leibniz)ชาวเยอรมันไดประดิษฐเครื่องคํานวณที่มีขดความสามารถสูงสามารถคูณและหารได  ี บุคคลผูหนึ่งที่มีบทบาทสําคัญตอการผลิตเครื่องจักรคํานวณคือ  ชารลส  แบบเบจ (Charles  Babbage)  ชาวอังกฤษในปพ.ศ.  2343  เขาประสบความสําเร็จสรางเครื่องคํานวณ    ที่เรียกวา  Difference  engine  ตอมาในปพ.ศ.2439  ฮอลเลอริชไดจดทะเบียนกอตั้งบริษัทเพื่อผลิตจําหนาย  เครื่องจักรชวยในการคํานวณ    ชื่อ  บริษัท  คอมพิวติง  เทบบูลาติงเรดคอสดิง    หลังจากนั้นในป  พ.ศ.2467  ไดเปลี่ยนมาเปนชื่อบริษัทไอบีเอ็ม (International Business Machine: IBM)  แนวคิดในการประดิษฐเครื่องวิเคราะหของแบบเบจนั้นกาวหนามากโดยเฉพาะแนวคิด  ทางดานการใชโปรแกรมควบคุมการทํางานโดยอัตโนมัต ิ แบบเบจไดริเริ่มแนวคิดเกี่ยวกับการใช  คําสั่งเลือกแบบมีเงื่อนไข  เครื่องวิเคราะหที่แบบเบจวิเคราะหขึ้นอาจกลาวไดวาเปนแนวคิดเดียวกับ  การทํางานของคอมพิวเตอรในปจจุบัน  แตแบบเบจก็ไมสามารถสรางเครื่องวิเคราะหนใหเปนจริง  ี้ ไดเนื่องจากเปนความคิดที่ล้ํายุคเกินไป  จึงทําใหไมมชางฝมือคนใดสามารถผลิตฟนเฟองตางๆ  ี ตามที่เขาตองการได    แบบเบจถึงแกกรรมกอนทีจะไดทราบวาแนวคิดของเขานั้นสามารถเปนจริง  ่ ไดในเชิงไฟฟาไมใชเชิงกล  แบบเบจจึงไดรับสมญานามวา เปน บิดาแหงคอมพิวเตอร