SlideShare a Scribd company logo
สภาวิศวกร
COUNCIL OF ENGINEERS
มาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพเรื่อง
ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการทดสอบ
งานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารโทรคมนาคม
และสื่อสารขอมูล
มาตรฐาน สภว xx-xx-xx-xx พิมพครั้งที่ 1
COE STANDARD xx-xx-xx-xx มกราคม 2553
ISBN xxx-xxxx-xx-x
มาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ เรื่อง
ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการทดสอบ
งานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารโทรคมนาคม
และสื่อสารขอมูล
สงวนลิขสิทธิ์
มาตรฐาน สภว xx-xx-xx-xx พิมพครั้งที่ 1
COE STANDARD xx-xx-xx-xx มกราคม 2553
ISBN xxx-xxxx-xx-x
คํานําของนายกสภาวิศวกร
ตั้งแตอดีตมาถึงปจจุบัน การสื่อสารเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งตอการดํารงชีวิตและการประกอบธุรกิจ โดยมนุษยเรา
สามารถติดตอสื่อสารถึงกันไดทั้งแบบใชสายและไรสาย สําหรับการสื่อสารแบบใชสายนั้น เราสามารถติดตอถึงกันไดโดย
อาศัยสายนําสัญญาณ (Transmission Line) ซึ่งในทางปฏิบัติ เราจะนําสายนําสัญญาณหลายๆ เสนมารวมอยูดวยกันภายใน
เสนใหญขึ้นเพียงเสนเดียว เรียกวา สายเคเบิล (Cable) โดยเราสามารถจําแนกชนิดของสายเคเบิลออกไดเปน 3 ชนิดหลักๆ
คือ สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) สายเคเบิลแกนรวม (Coaxial Cable) และสายเคเบิลเสนใยแสง (Optical
Fiber Cable) ถาจะกลาวถึงรายละเอียดของสายเคเบิลทุกชนิดพรอมกัน เราจะเรียกวา ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร ซึ่งเรา
ตองยอมรับวา ในปจจุบันนี้ การสื่อสารไมไดจํากัดอยูเพียงแคการสื่อสารผานระบบโทรคมนาคม ไดแก โครงขายโทรศัพท
สาธารณะ ระบบสงสัญญาณผานไมโครเวฟ ระบบสงสัญญาณผานดาวเทียม ระบบสงสัญญาณผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ฯลฯ
เทานั้น ยังรวมไปถึงการสื่อสารผานคอมพิวเตอร ไดแก โครงขายพื้นที่ทองถิ่น (Local Area Network) โครงขายพื้นที่นคร
หลวง (Metropolitan Area Network) และโครงขายพื้นที่กวาง (Wide Area Network) ฯลฯ ดังนั้น ถาเราจะกลาวถึงระบบ
สายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร เราก็ควรจะกลาวถึงระบบสายเคเบิลที่ใชงานทั้งในระบบสื่อสารโทรคมนาคมและใน
ระบบสื่อสารคอมพิวเตอร
การสรางระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่กาวหนาและทันสมัยเพียงอยางเดียวไมสามารถที่จะทําใหระบบสื่อสาร
ทั้งทางดานโทรคมนาคมและโครงขายคอมพิวเตอรในประเทศไทยมีคุณภาพได ถาขาดซึ่งประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพ
(Code of Practice) ที่ดีในการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร โดยผลกระทบที่เกิดขึ้นก็คือ
คุณภาพของการสื่อสารที่ไมไดมาตรฐาน อันเนื่องมาจากอัตราความผิดพลาดของบิตขอมูล (Bit Error Rate) ที่สูงเกินไป
เวลาประวิง (Delay Time) ในการสื่อสารที่ยาวนานเกินไป ขอมูลเดินทางไดในระยะทางที่สั้นลงอันเนื่องมาจากการลดทอน
(Attenuation) ของสัญญาณที่สูงเกินไป ฯลฯ
นอกจากนี้ ปญหาอีกประการหนึ่งที่เกิดขึ้นกับโครงขายสื่อสารโทรคมนาคมและโครงขายสื่อสารคอมพิวเตอรใน
ประเทศไทยก็คือมีการใชสายเคเบิลและเครื่องมือทดสอบที่แตกตางกันมาก จึงกอใหเกิดการติดตั้งและการบํารุงรักษาระบบ
สายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ไมถูกวิธี
ดังนั้น ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร จึงมี
ความสําคัญเปนอยางยิ่งตอความเจริญกาวหนาของธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศ สมควรอยางยิ่งที่สภาวิศวกร ซึ่งเปน
องคกรระดับประเทศที่ทําหนาที่ควบคุม ดูแล คุณภาพของงานดานวิศวกรรมในระดับประเทศจะตองดําเนินการจัดทํา
ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดังกลาวนี้ขึ้นมา เพื่อสรางแนวทางปฏิบัติวิชาชีพที่ถูกตองและเหมาะสมในการตรวจสอบและ
ทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ถูกติดตั้งและใชงานจริงในประเทศไทย
(นายทวี บุตรสุนทร)
นายกสภาวิศวกร
2
คํานําของคณะอนุกรรมการจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ
การจัดทําประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารเปน
โครงการที่สภาวิศวกรใหความสําคัญเปนอยางมาก เนื่องจากทางสภาวิศวกรคาดหวังเปนอยางยิ่งวาระบบสายเคเบิลเพื่อการ
สื่อสารที่ถูกติดตั้งและใชงานไปแลวในระบบสื่อสารโทรคมนาคมและในระบบสื่อสารคอมพิวเตอรนั้น ควรจะมีแนวทาง
ปฏิบัติวิชาชีพที่ถูกตองและเหมาะสมในการตรวจสอบและทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร จึงไดแตงตั้งคณะทํางาน
ตรวจรับ Code of Practice และ คณะทํางานประจํามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ เรื่อง ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการ
ตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร ขึ้นมา เพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการกํากับดูแล ตรวจสอบและ
ตรวจรับโครงการประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพฯ นี้โดยเฉพาะ โดยประโยชนที่คาดวาจะไดรับก็คือ มีประมวลหลักปฏิบัติ
วิชาชีพดานการตรวจสอบและทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ถูกตองและเหมาะสมตอการใชงานจริงในประเทศ
ไทย หลังจากที่ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารไดถูกติดตั้งและใชงานไปแลว อีกทั้ง นําไปสูระบบโครงขายสื่อสารทางดาน
โทรคมนาคมและโครงขายคอมพิวเตอรในประเทศไทยที่ใหคุณภาพของสัญญาณในการติดตอสื่อสารที่ดีและไดมาตรฐาน
(นายชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ)
ประธานอนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
3
รายนามของคณะกรรมการจัดทํามาตรฐานการตรวจสอบและการทดสอบงานติดตั้ง
ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารโทรคมนาคมและสื่อสารขอมูล
(1) คณะทํางานประจํามาตรฐาน
1. นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย ประธานคณะทํางาน
2. นายกอบชัย เดชหาญ คณะทํางาน
3. นายอมฤต ภูมิรัตน คณะทํางาน
4. นายชวลิต ทิสยากร คณะทํางาน
5. นายพิชิต โตวิวิชญ คณะทํางาน
6. นายสุขุมวิทย ภูมิวุฒิสาร คณะทํางาน
7. นายทนุสิทธิ์ สกุณวัฒน คณะทํางาน
8. นายสมชัย เอื้อปยฉัตร คณะทํางาน
9. นายชํานาญ ปราโมทยไพบูลย คณะทํางาน
10. นายไพสิทธิ์ อัตตระมงคล คณะทํางาน
11. นายสุทธิรักษ สิงหนอก เลขานุการคณะทํางาน
(2) คณะผูจัดทํามาตรฐาน
1. นายปุณยวีร จามจรีกุล หัวหนาโครงการ
2. นายพสุ แกวปลั่ง ผูเชี่ยวชาญดานระบบสายเคเบิล
3. นายชานัน ดวงจรัส ผูชวยวิจัย
4. นายรชฏ มณีขัติ ผูชวยวิจัย
4
สารบัญ
หนา
บทที่ 1 บทนํา 13
1.1 หลักการและเหตุผล 13
1.2 วัตถุประสงค 13
1.3 ขอบเขตของมาตรฐาน 14
1.4 รายชื่อมาตรฐานอางอิง 14
บทที่ 2 นิยามคําศัพทเฉพาะและหนวย 15
2.1 ทั่วไป 15
2.2 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) 15
2.3 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลแกนรวม (Coaxial Cable) 15
2.4 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลเสนใยแสง (Optical Fiber Cable) 16
2.5 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสาย LAN (Local Area Network) 16
2.6 หนวย 16
บทที่ 3 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 17
3.1 ขอกําหนดทั่วไป 17
3.2 ชนิดของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 19
3.3 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 20
• คุณสมบัติทางไฟฟาของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 20
• คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 23
3.4 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 24
• คุณสมบัติทางไฟฟาของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 24
• คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 27
3.5 สายดรอฟไวรทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 27
• คุณสมบัติทางไฟฟาของสายดรอฟไวรทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 27
• คุณสมบัติทางกลของสายดรอฟไวรทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 27
บทที่ 4 สายเคเบิลแกนรวม 30
4.1 ขอกําหนดทั่วไป 30
4.2 ชนิดของสายเคเบิลแกนรวม แบงตามอิมพีแดนซคุณลักษณะ 30
4.3 คุณสมบัติทางไฟฟาและทางกลของสายเคเบิลแกนรวม 33
4.4 ชนิดของสายเคเบิลแกนรวม แบงตามประเภทการใชงาน 34
บทที่ 5 สายเคเบิลเสนใยแสง 44
5.1 ขอกําหนดทั่วไป 44
5.2 ชนิดของเสนใยแสง แบงตามคุณสมบัติทางแสง 44
5.3 ชนิดของสายเคเบิลเสนใยแสง แบงตามลักษณะการใชงาน 54
5.4 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลเสนใยแสง 59
5
สารบัญ (ตอ)
หนา
บทที่ 6 ผลิตภัณฑสาย LAN 61
6.1 ขอกําหนดทั่วไป 61
6.2 ชนิดของสาย LAN 61
6.3 สาย 100Ω UTP 64
• คุณสมบัติทางไฟฟาของสาย horizontal UTP Cable 64
• คุณสมบัติทางกลของสาย horizontal UTP Cable 68
• คุณสมบัติทางไฟฟาของสาย backbone UTP Cable 70
• คุณสมบัติทางกลของสาย backbone UTP Cable 71
6.4 สาย 150Ω STP 72
• คุณสมบัติทางไฟฟาของสาย 150Ω STP 72
• คุณสมบัติทางกลของสาย 150Ω STP 73
บทที่ 7 การตรวจสอบและทดสอบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวและสาย LAN หลังการติดตั้ง 74
7.1 การตรวจสอบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวและสาย LAN หลังการติดตั้ง 74
7.2 การทดสอบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวและสาย LAN หลังการติดตั้ง 75
7.2.1 ขอบขาย 75
7.2.2 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชทดสอบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวและสาย LAN หลังการติดตั้ง 75
7.2.3 การทดสอบหาคา Attenuation 78
7.2.4 การทดสอบการสูญเสียจากกําลังสะทอนกลับ (Return Loss) 78
7.2.5 การทดสอบหา Wiremap 80
7.2.6 การทดสอบหาความยาวสาย 80
7.2.7 การทดสอบหาคา Far-End Crosstalk (FEXT) 81
7.2.8 การทดสอบหาคา Near-End Crosstalk (NEXT) 81
7.2.9 การหาคา Power Sum Near-End Crosstalk Loss (PSNEXT) 82
7.2.10 การหาคา Equal-Level Far-End crosstalk Loss (ELFEXT) 83
7.2.11 การหาคา Power Sum Equal-Level Far-End Crosstalk Loss (PSELFEXT) 84
7.2.12 การทดสอบหาคา Attenuation-to-Crosstalk Ratio (ACR) 85
7.2.13 การทดสอบหาคาการประวิงเวลา (Delay) 85
7.2.14 การทดสอบหาคา Delay Skew 85
7.2.15 การทดสอบความตอเนื่องของสาย (Cable Continuity) 85
7.2.16 การทดสอบหาคาความตานทานกระแสไฟฟาตรงของลูป (Loop) 86
7.2.17 การทดสอบการสไปลซ (Splicing) 86
7.2.18 การทดสอบสภาพการเชื่อมตอและการหาจุดบกพรอง (Fault Location) 86
6
สารบัญ (ตอ)
หนา
บทที่ 8 การตรวจสอบและทดสอบสายเคเบิลแกนรวม หลังการติดตั้ง 87
8.1 การตรวจสอบสายเคเบิลแกนรวม หลังการติดตั้ง 87
8.2 การทดสอบสายเคเบิลแกนรวม หลังการติดตั้ง 88
8.2.1 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชทดสอบสายเคเบิลแกนรวม หลังการติดตั้ง 88
8.2.2 การทดสอบความตอเนื่องของสาย 88
8.2.3 การทดสอบหาความยาวสาย 89
บทที่ 9 การตรวจสอบและทดสอบสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 90
9.1 การตรวจสอบสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 90
9.2 การทดสอบสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 93
9.2.1 อุปกรณที่ใชทดสอบสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 94
9.2.2 การทดสอบแพตชคอรด (Patch Cord) เสนใยแสง 97
9.2.3 การทดสอบหาคากําลังสัญญาณและคาการสูญเสียกําลัง 99
9.2.4 การทดสอบการสูญเสียจากกําลังสะทอนกลับ 101
9.2.5 การทดสอบความตอเนื่องของสาย 102
9.2.6 การทดสอบการสไปลซ 102
9.2.7 การทดสอบสภาพการเชื่อมตอและการหาจุดบกพรอง 103
9.2.8 การทดสอบสเปกตรัมของสัญญาณ 105
สรุป 107
ภาคผนวก 108
ภาคผนวก 1 วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ใชทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล
ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวสําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 109
ภาคผนวก 2 วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ใชทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล
ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 129
ภาคผนวก 3 วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ใชทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล
ของสายดรอฟไวร ตัวนําทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 132
ภาคผนวก 4 วิธีการทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล
ของสายเคเบิลแกนรวม 139
ภาคผนวก 5 วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ใชทดสอบคุณสมบัติทางแสงและทางกลของเคเบิลเสนใยแสง 141
ภาคผนวก 6 วิธีการทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกลของสาย LAN 152
ภาคผนวก 7 แบบฟอรมการตรวจสอบระบบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 153
ภาคผนวก 8 แบบฟอรมการทดสอบระบบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 154
ภาคผนวก 9 แบบฟอรมการตรวจสอบระบบสาย LAN 155
ภาคผนวก 10 แบบฟอรมการทดสอบระบบสาย LAN 156
7
สารบัญ (ตอ)
หนา
ภาคผนวก 11 แบบฟอรมการตรวจสอบระบบสายเคเบิลแกนรวม 157
ภาคผนวก 12 แบบฟอรมการทดสอบระบบสายเคเบิลแกนรวม 159
ภาคผนวก 13 แบบฟอรมการตรวจสอบระบบสายเคเบิลเสนใยแสง 160
ภาคผนวก 14 แบบฟอรมการทดสอบระบบสายเคเบิลเสนใยแสง 162
ภาคผนวก 15 การตอลงดินของสายเคเบิล 163
บรรณานุกรม 165
8
สารบัญตาราง
หนา
ตารางที่ 3.1 ระบบสีมันเซลล 17
ตารางที่ 3.2 การนับคูสาย 18
ตารางที่ 3.3 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 3.3.1.1 – 3.3.1.10 22
ตารางที่ 3.4 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 24
ตารางที่ 3.5 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 1.1 – 1.10 26
ตารางที่ 3.6 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น ติดตั้งในชองเดินสาย 28
ตารางที่ 3.7 คุณสมบัติทางไฟฟา 28
ตารางที่ 3.8 คุณสมบัติทางกลของสายดรอฟไวร 29
ตารางที่ 4.1 ประเภทและสัญลักษณของสายเคเบิลแกนรวมแตละประเภท 30
ตารางที่ 4.2 ขนาดและรายละเอียดของสายเคเบิลแกนรวม 32
ตารางที่ 4.3 เสนผานศูนยกลางของเสนลวดตัวนําในและตัวนํานอก การยืดตัว และสภาพนําไฟฟาของลวด
ทองแดงอบออน 33
ตารางที่ 4.4 สมบัติทางไฟฟาและทางกลของสายเคเบิลแกนรวม 33
ตารางที่ 4.5 สายเคเบิลภายนอกอาคารใชพอลิเอทิลีนเปนฉนวนและใชพอลิเอทิลีนความหนาแนนปานกลาง
เปนเปลือกหุม 35
ตารางที่ 4.6 คาการลดทอนของสัญญาณแปรผันตามความถี่ของสายเคเบิลแกนรวมภายนอกอาคาร 36
ตารางที่ 4.7 คุณสมบัติของ Special Dielectric Cables ชนิด 540 Series และ 860 Series 37
ตารางที่ 4.8 ความตางเชิงกลและคาความตานทานของสายชนิด 540 Series และ 860 Series 37
ตารางที่ 4.9 คุณสมบัติของสายชนิด Series 500 และ Series 625 38
ตารางที่ 4.10 คุณสมบัติของ Riser-Rated Distribution Cable ชนิด Series 11 และ Series 500 39
ตารางที่ 4.11 ความแตกตางกันของอัตราการลดทอนของสัญญาณของสายชนิด Series 11 กับ Series 500 40
ตารางที่ 4.12 คุณสมบัติของ Plenum-Rated Distribution Cable ชนิด Series 500 และ Series 11 41
ตารางที่ 4.13 ความแตกตางกันของอัตราการลดทอนของสัญญาณของสายชนิด Series 500 กับ Series 11 41
ตารางที่ 4.14 คุณสมบัติของสายเคเบิลแบบ Service Drop Cable ชนิด Series 500 และ Series 11 42
ตารางที่ 4.15 ความแตกตางกันของอัตราการลดทอนของสัญญาณของสายชนิด Series 500 กับ Series 11 42
ตารางที่ 5.1 คุณสมบัติของ ITU-T G.651.1 Multi-Mode Fiber 45
ตารางที่ 5.2 คุณสมบัติของ ITU-T G.652.A Attribute Single-Mode Fiber 46
ตารางที่ 5.3 คุณสมบัติของ ITU-T G.652.B Attribute Single-Mode Fiber 47
ตารางที่ 5.4 คุณสมบัติของ ITU-T G.652.C Attribute Single-Mode Fiber 48
ตารางที่ 5.5 คุณสมบัติของ ITU-T G.652.D Attribute Single-Mode Fiber 49
ตารางที่ 5.6 คุณสมบัติของ ITU-T G.655.C Attribute Single-Mode Fiber 51
ตารางที่ 5.7 คุณสมบัติของ ITU-T G.655.D Attribute Single-Mode Fiber 52
ตารางที่ 5.8 คุณสมบัติของ ITU-T G.655.E Attribute Single-Mode Fiber 53
9
สารบัญตาราง (ตอ)
หนา
ตารางที่ 6.1 รหัสสีของแตละสาย 63
ตารางที่ 6.2 แสดงคุณสมบัติทางไฟฟาของสาย Horizontal UTP Cable 65
ตารางที่ 6.3 คุณสมบัติทางกลของสาย Horizontal UTP Cable 68
ตารางที่ 6.4 สีของคูสายใน Backbone UTP Cable ตามมาตรฐาน ANSI/ICEA S-80-576-1994 68
ตารางที่ 6.5 แสดงคุณสมบัติทางไฟฟาของสาย Backbone UTP Cable 70
ตารางที่ 6.6 คุณสมบัติทางกลของสาย Backbone UTP Cable 70
ตารางที่ 6.7 สีของคูสาย STP 150 Ohm 71
ตารางที่ 6.8 คุณสมบัติทางไฟฟาของสาย STP 72
ตารางที่ 6.9 คุณสมบัติทางกลของสาย Horizontal UTP Cable 72
ตารางที่ 7.1 ตัวอยางคา Attenuation ของ Channel 78
ตารางที่ 7.2 ตัวอยางคา Attenuation ของ Basic Link 78
ตารางที่ 7.3 ตัวอยางคา Return Loss ของ Channel 78
ตารางที่ 7.4 ตัวอยางคา Return Loss ของ Basic Link 78
ตารางที่ 7.5 ตัวอยางคา NEXT ของ Channel 81
ตารางที่ 7.6 ตัวอยางคา NEXT ของ Basic Link 82
ตารางที่ 7.7 ตัวอยางคา PSNEXT ของ Channel 82
ตารางที่ 7.8 ตัวอยางคา PSNEXT ของ Basic Link 83
ตารางที่ 7.9 ตัวอยางคา ELFEXT ของ Channel 83
ตารางที่ 7.10 ตัวอยางคา ELFEXT ของ Basic Link 82
ตารางที่ 7.11 ตัวอยางคา PSELFEXT ของ Channel 84
ตารางที่ 7.12 คา PSELFEXT ของ Basic Link 84
ตารางที่ 9.1 ตัวอยางคุณสมบัติทางแสงของสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 92
ตารางที่ 9.2 ตัวอยางคุณสมบัติของชุดทดสอบ Automatic Certification 95
ตารางที่ 9.3 ตัวอยางคุณสมบัติของชุดทดสอบ Optical Return Loss (ORL) 96
ตารางภาคผนวก
ตารางที่ 1.1 ตัวประกอบแกคาของทองแดงที่อุณหภูมิตางๆ 109
ตารางที่ 3.1 ตัวประกอบแกคาของทองแดงที่อุณหภูมิตางๆ ของสายดรอฟไวร 133
ตารางที่ 3.2 ตัวประกอบแกคาของฉนวนพอลิไวนิลคลอไรดที่อุณหภูมิตางๆ 135
10
สารบัญรูป
หนา
รูปที่ 3.1 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 19
รูปที่ 3.2 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับติดตั้งในชองเดินสายของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 20
รูปที่3.3 สายดรอฟไวรสําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 20
รูปที่ 5.1 สายเคเบิลเสนใยแสงภายนอกอาคารติดตั้งในชองเดินสาย และฝงดินโดยตรง DU-001 55
รูปที่ 5.2 สายเคเบิลเสนใยแสงภายนอกอาคารชนิดติดตั้งในชองเดินสายและฝงดินโดยตรงDB-002 55
รูปที่ 5.3 สายเคเบิลเสนใยแสงชนิดแขวนในอากาศรับน้ําหนักตัวเองได ADSS-001 56
รูปที่ 5.4 สายเคเบิลเสนใยแสงภายนอกอาคารชนิดแขวนในอากาศรับน้ําหนักตัวเองได AC-002 57
รูปที่ 5.5 สายเคเบิลเสนใยแสงชนิด Tight-Buffered 57
รูปที่ 5.6 เสนใยแสงชนิด Tight-Buffered 58
รูปที่ 5.7 การประยุกตใชสายเคเบิลเสนใยแสงชนิด Fan-Out 59
รูปที่ 6.1 Horizontal UTP Cable 62
รูปที่ 6.2 Backbone UTP Cable 62
รูปที่ 6.3 STP Cable 62
รูปที่ 7.1 ดิจิทัลมัลติมิเตอร 74
รูปที่ 7.2 Amplifier Probe (180 CB), Tone Generator (180CB-A) 75
รูปที่ 7.3 Fluke Networks MicroScanner2 Cable Verifier 76
รูปที่ 7.4 EXFO Cableshark P3 77
รูปที่ 7.5 การเดินสายและการเชื่อมตอระบบที่ไมถูกตอง 79
รูปที่ 7.6 ตัวอยางการเดินสายและการเชื่อมตอระบบที่ถูกตอง 79
รูปที่ 7.7 เครื่อง Pair Scanner 85
รูปที่ 8.1 Ethernet Network ที่ใชสายเคเบิลแกนรวม 50Ω 87
รูปที่ 9.1 หนาจอแสดงผลของ OSA ที่แสดงผลสัญญาณแสง 5 ความยาวคลื่น 91
รูปที่ 9.2 การทดสอบ Patch Cord A 97
รูปที่ 9.3 การทดสอบ Patch Cord A และ Patch Cord B 97
รูปที่ 9.4 การทดสอบคาการสูญเสียกําลังโดยใช Light Source และ Power Meter 98
รูปที่ 9.5 การทดสอบคาการสูญเสียกําลังโดยใช OTDR 99
รูปที่ 9.6 การทดสอบการสูญเสียจากกําลังสะทอนกลับ 100
รูปที่ 9.7 การทดสอบการสไปลซ 102
รูปที่ 9.8 ลักษณะของกราฟที่แสดงบน OTDR 103
รูปที่ 9.9 ลักษณะของกราฟของ OTDR สําหรับ a) จุดสไปลซหรือการโคงงอที่ไมดี b) จุดที่ใชคอนเน็กเตอร 103
รูปที่ 9.10 กราฟแสดงคุณสมบัติของ (a) ปลายเสนใยแสง (b) เสนใยแสงแตกหัก 104
รูปที่ 9.11 การทดสอบสเปกตรัมของสัญญาณโดยใช OSA 105
รูปที่ 9.12 การใช OSA วัดสเปกตรัมของสัญญาณ 105
11
สารบัญรูป (ตอ)
หนา
รูปภาคผนวก
รูปที่ 1.1 ความสัมพันธของการเกิดความจุไฟฟารวม 112
รูปที่ 1.2 การตอคูสายที่จะถูกวัดคาความจุไฟฟารวม 112
รูปที่ 1.3 วงจรการเกิดความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย 113
รูปที่ 1.4 การตอคูสายที่จะถูกวัดความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย 114
รูปที่ 1.5 วงจรการเกิดความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายดิน 116
รูปที่ 1.6 การตอคูสายที่จะถูกวัดความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน 116
รูปที่ 1.7 แสดงเครื่องมือทดสอบแบบอัตโนมัติ 123
รูปที่ 1.8 แสดงการเตรียมสายทดสอบ 123
รูปที่ 1.9 แสดงการทดสอบโดยเครื่องทดสอบแบบอัตโนมัติ 124
รูปที่ 4.1 Agilent Network Analyzer รุน 4395A และ 4396B 139
รูปที่ 5.1 Anritsu CMA 5000 Optical Time-Domain Reflectrometer (OTDR) 141
รูปที่ 5.2 Nettest 2200 Series Automated Optical Fiber Analysis System 142
รูปที่ 5.3 Agilent 8509B Lightwave Polarization Analyzer 143
รูปที่ 5.4 Nettest FD 440 Chromatic Dispersion Measurement System 144
รูปที่ 5.5 เครื่องทดสอบแรงดึง (Tensile Loading Machine) 145
รูปที่ 5.6 การทดสอบ Tensile Performance 145
รูปที่ 5.7 เครื่องทดสอบ Crush 146
รูปที่ 5.8 การทดสอบ Crush 147
รูปที่ 5.9 เครื่องทดสอบ Impact 148
รูปที่ 5.10 การทดสอบ Impact 148
รูปที่ 5.11 เครื่องทดสอบ Torsion 149
รูปที่ 5.12 การทดสอบ Torsion 150
รูปที่ 5.13 เครื่องทดสอบ Cable Bend 150
รูปที่ 5.14 การทดสอบ Cable Bend 151
12
บทที่ 1
บทนํา
1.1 หลักการและเหตุผล
การสรางระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่กาวหนาและทันสมัยเพียงอยางเดียวไมสามารถที่จะทําใหระบบสื่อสาร
มีคุณภาพได ถาขาดซึ่งหลักปฏิบัติที่ดีในการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร ดังนั้นประมวลหลัก
ปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร จึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอความ
เจริญกาวหนาของธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศ สมควรอยางยิ่งที่สภาวิศวกร ซึ่งเปนองคกรระดับประเทศที่ทําหนาที่
ควบคุม ดูแล คุณภาพของงานดานวิศวกรรมในระดับประเทศจะตองดําเนินการจัดทําประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการ
ตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารนี้ขึ้นมา
จากขอเท็จจริงดังกลาวขางตน หากประเทศไทยไมมีประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการ
ทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารแลว เราก็จะไมสามารถควบคุมคุณภาพของระบบสื่อสารซึ่งตองอาศัยสายเคเบิลเปน
ตัวกลางในการสื่อสารได ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นก็คือคุณภาพของการสื่อสารที่ไมไดมาตรฐาน อันเนื่องมาจากอัตราความ
ผิดพลาดของบิตขอมูล (Bit Error Rate) ที่สูงเกินไป เวลาประวิง (Delay Time) ในการสื่อสารที่ยาวนานเกินไป ขอมูล
เดินทางไดในระยะทางที่สั้นลงอันเนื่องมาจากการลดทอน (Attenuation) ของสัญญาณที่สูงเกินไป ฯลฯ
นอกจากนี้ ปญหาอีกประการหนึ่งที่เกิดขึ้นกับโครงขายสื่อสารโทรคมนาคมและโครงขายสื่อสารคอมพิวเตอรใน
ประเทศไทยก็คือมีการใชสายเคเบิลและเครื่องมือทดสอบที่แตกตางกันมาก จึงกอใหเกิดการติดตั้งและการบํารุงรักษาระบบ
สายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ไมถูกวิธี จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและทดสอบ
ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ถูกตองและเหมาะสมตอการใชงานจริงในประเทศไทย หลังจากที่ระบบสายเคเบิลเพื่อการ
สื่อสารไดถูกติดตั้งและใชงานไปแลว เพื่อที่วาระบบโครงขายสื่อสารทางดานโทรคมนาคมและโครงขายคอมพิวเตอรใน
ประเทศไทยจะไดมีคุณภาพของสัญญาณในการติดตอสื่อสารที่ดีและไดมาตรฐาน รวมถึงคาดวาจะสามารถครอบคลุมและ
แกปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการติดตั้งและการบํารุงรักษาระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารสวนใหญที่มีในประเทศไทยได
หมายเหตุ คําวา “ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร” ในโครงการนี้ หมายถึง ระบบสายเคเบิลที่ใชงานทั้งในระบบสื่อสาร
โทรคมนาคมและระบบสื่อสารคอมพิวเตอร
1.2 วัตถุประสงค
วัตถุประสงคในการจัดทํา “มาตรฐานการตรวจสอบและการทดสอบงานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร
โทรคมนาคมและสื่อสารขอมูล” (Standard for Inspection and Testing of Cable Systems for Telecommunication
and Data Communications Installation) คือ
1.2.1 เพื่อใชเปนมาตรฐานปฏิบัติสําหรับอางอิงในการตรวจสอบและทดสอบงานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อ
การสื่อสาร
1.2.2 เพื่อใหระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ไดติดตั้งแลวเสร็จ มีสมรรถนะและคุณภาพการใหบริการ
เปนไปตามมาตรฐานของระบบและวัตถุประสงคการใชงานตามแบบที่กําหนดไว
13
1.3 ขอบเขตของมาตรฐาน
มาตรฐานการตรวจสอบและการทดสอบงานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารฉบับนี้ จะครอบคลุมขอบเขต
การใชงานดังนี้
1.3.1 มาตรฐานฉบับนี้จะแสดงขอกําหนดขั้นต่ําเกี่ยวกับเครื่องมือทดสอบ เทคนิคสําหรับการตรวจสอบและ
การทดสอบงานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร
1.3.2 มาตรฐานฉบับนี้จะแสดงขอกําหนดขั้นต่ําสําหรับการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อ
การสื่อสาร 4 ชนิด คือ สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) สายเคเบิลแกนรวม (Coaxial
Cable) – ใชในยานความถี่สูง (High Frequency หรือ HF) สายเคเบิลเสนใยแสง (Optical Fiber Cable)
และสาย LAN (Local Area Network)
1.4 รายชื่อมาตรฐานอางอิง
TIA/EIA-568-B.1 Commercial Building Telecommunication Cabling Standard
TIA/EIA-568-B.2 Commercial Building Telecommunication Cabling Standard
TIA/EIA-568-B.2-1 Commercial Building Telecommunication Cabling Standard
14
บทที่ 2
นิยามคําศัพทเฉพาะและหนวย
การนิยามคําศัพทเฉพาะสวนใหญในบทที่ 2 นี้แปลและเรียบเรียงมาจาก “B.Chomycz, Fiber Optic Installer’s
Field Manual, McGraw-Hill, New York, 1976.” [1] โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการใชงานในการตรวจสอบและการทดสอบ
มาตรฐานฉบับนี้เทานั้น
2.1 ทั่วไป
Attenuation หมายถึง การลดทอนขนาดของสัญญาณที่สงไปในสายสัญญาณระหวางจุด แสดงอยูในรูปแบบของ
อัตราสวนระหวางสัญญาณขาออกตอสัญญาณขาเขา มีหนวยเปนเดซิเบล (dB) โดยสายสัญญาณแตละชนิดก็จะมี
คาการลดทอนที่แตกตางกันไปในแตละความถี่
Connector หมายถึง หัวตอ
Closure หมายถึง เครื่องหอหุม
2.2 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable)
NEXT (Near-End Crosstalk) หมายถึง คาของสัญญาณรบกวนของสายคูสงตอสายคูรับที่ฝงสงสัญญาณ มีหนวย
เปนเดซิเบล
FEXT (Far-End Crosstalk) หมายถึง คาของสัญญาณรบกวนของสายคูสงตอสายคูรับที่ปลายสาย มีหนวยเปน
เดซิเบล
ACR (Attenuation-to-Crosstalk Ratio) หมายถึง อัตราสวนระหวางคาการลดทอนตอคา NEXT ของแตละคูสาย
ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว
2.3 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลแกนรวม (Coaxial Cable)
Characteristic Impedance หมายถึง อิมพีแดนซคุณลักษณะ ซึ่งเปนคาความตานทานของวงจรที่ตอเขากับสายสง
สัญญาณที่ดานปลายขาออกความยาวใดๆ ทําใหสามารถสงสัญญาณผานสายสงสัญญาณไดโดยไมมีการสะทอน
กลับของสัญญาณ
Conductor หมายถึง ตัวนํา ซึ่งเปนแกนกลางของสายเคเบิลแกนรวมซึ่งเปนสวนที่นําไฟฟา
Dielectric หมายถึง ฉนวน หรือสวนที่ไมใชโลหะ และไมมีคุณสมบัตินําไฟฟา
Shield หมายถึง โลหะที่พันอยูรอบตัวนําหรือกลุมของตัวนํา เปนสวนที่ปองกันไฟฟาสถิตยหรือการรบกวนของ
คลื่นแมเหล็กไฟฟาจากภายนอก
Sheath หมายถึง ปลอกหุมภายนอกของสายเคเบิลซึ่งอาจประกอบไปดวยวัสดุที่เพิ่มความแข็งแรงและทนตอน้ํา
Jacket หมายถึง บริเวณชั้นนอกสุดของสายเคเบิล
15
2.4 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลเสนใยแสง (Optical Fiber Cable)
Differential Group Delay (DGD) หมายถึง การประวิงของกลุมที่แตกตางกัน มีหนวยเปนพิโกวินาที หมายถึง
ความสัมพันธของการประวิงเวลาระหวางสองแกนหลักที่เปนแกนโพลาไรเซชันของสัญญาณโหมดพื้นฐานของ
วัสดุที่ใชทําเสนใยแสงในตําแหนงปลายของเคเบิลเสนใยแสงที่เกิดจากที่มีความยาวคลื่นเฉพาะในขณะเวลานั้น
Polarization Mode Dispersion (PMD) หมายถึง คาการกระจายโหมดของคาโพลาไรเซชัน มีหนวยเปน
พิโกวินาที หมายถึง คาเฉลี่ยของ DGD ที่ความยาวคลื่นตางๆ
Polarization Mode Dispersion Coefficient (PMD) หมายถึง สัมประสิทธิ์การกระจายโหมดโพลาไรเซชัน มี
หนวยเปนพิโกวินาทีตอคารากที่สองของกิโลเมตร (ps/ km )
Numerical Aperture (N.A.) หมายถึง คาที่แสดงถึงความสามารถในการรวมแสงของเสนใยแสง ใชในการระบุ
มุมที่กวางที่สุดของแสงที่ทํากับแกนกลางของเสนใยแสงที่ทําใหแสงที่ผานเขามาในเสนใยแสงเกิดการสะทอน
กลับหมด ทําใหสามารถสงสัญญาณแสงผานเขาไปในเสนใยแสงได
Cabled Fiber Cut-Off Wavelength (λ cc )หมายถึง คาความยาวคลื่นตัดของคลื่นแสงในสายเคเบิลเสนใยแสง
Chromatic Dispersion หมายถึง คาดิสเพอรชันที่เกิดจากลักษณะทางวัสดุที่ใชทําเสนใยแสง
Mode-Field Diameter หมายถึง เสนผานศูนยกลางของโหมดหนึ่งของแสงที่เดินทางผานเสนใยแสงแบบโหมด
เดียว โดยใชคาดังกลาวแทนคาเสนผานศูนยกลางของเสนใยแสงแบบโหมดเดียวในทางปฏิบัติ
2.5 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสาย LAN (Local Area Network)
NEXT (Near-End Crosstalk) หมายถึง คาของสัญญาณรบกวนของสายคูสงตอสายคูรับที่ฝงสงสัญญาณ มีหนวย
เปนเดซิเบล
PS-NEXT (Power-Sum NEXT) หมายถึง คาที่เกิดจากผลรวมของสัญญาณรบกวน NEXT ของสายอีก 3 คูที่มีผล
ตอสายคูที่วัด
FEXT (Far-End Crosstalk) หมายถึง คาของสัญญาณรบกวนของสายคูสงตอสายคูรับที่ปลายสาย มีหนวยเปน
เดซิเบล
ELFEXT (Equal-Level Far-End Crosstalk) หมายถึง คาที่คํานวณไดจากคาสูญเสียของสัญญาณ ลบดวย FEXT
PS-ELFEXT (Power-Sum ELFEXT) หมายถึง คาที่เกิดจากผลรวมของสัญญาณรบกวน ELFEXT ของสายอีก
3 คูที่มีผลตอสายคูที่วัด
Return Loss หมายถึง คาที่วัดไดจากอัตราสวนระหวางกําลังสัญญาณที่สงไปตอกําลังสัญญาณสะทอนกลับมา
ตนสาย
Propagation Delay หมายถึง คาหนวงเวลาของสัญญาณที่เคลื่อนที่ผานสาย LANในระยะทาง 100 เมตร
Delay Skew หมายถึง คาแตกตางระหวางคูที่เร็วที่สุดกับคูที่ชาที่สุดในระยะทาง 100 เมตร
Mutual Capacitance หมายถึง คาความจุไฟฟาประสิทธิผลระหวางตัวนําทั้งสองในคูสาย
2.6 หนวย
หนวยที่ใชคือ ระบบหนวยสากล (System International Unit หรือ SI Unit)
16
บทที่ 3
สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว
สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) เปนสายนําสัญญาณที่ใชในระบบโทรศัพท แตปจจุบันไดกลายเปน
มาตรฐานสายสัญญาณที่เชื่อมตอในโครงขายพื้นที่ทองถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) ซึ่งขอดีของสายเคเบิลคูบิด
ตีเกลียวคือมีราคาถูก ติดตั้งงาย และสามารถรองรับการสงผานขอมูลที่อัตราเร็วสูงไดประมาณ 1000 เมกกะบิตตอวินาที ซึ่ง
ในบทนี้จะกลาวถึงขอกําหนดทั่วไปของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ประเภทของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว รวมทั้งคุณสมบัติทาง
ไฟฟาและคุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวแตละประเภท
3.1 ขอกําหนดทั่วไป
สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวทุกประเภทจะตองมีขอกําหนดทั่วไปรวมกันดังนี้
3.1.1 ขนาดของสายและจํานวนคูสาย
(1) 0.4 มิลลิเมตร (26 AWG)
(2) 0.5 มิลลิเมตร (24 AWG)
(3) 0.65 มิลลิเมตร (22 AWG)
(4) 0.9 มิลลิเมตร (19 AWG)
โดยสายเคเบิลเคเบิลคูบิดตีเกลียวภายใตมาตรฐานนี้จะมีจํานวนคูสายไมเกิน 3000 คูสาย
สีของฉนวนจะประกอบดวยแมสี (Tip Color) และลูกสี (Ring Color) ที่กําหนดตามระบบสีมันเซลล
(Munsell colour System) ดังแสดงในตารางที่ 3.1
ตารางที่ 3.1 ระบบสีมันเซลล
แมสี ลูกสี
ขาว น้ําเงิน
แดง สม
ดํา เขียว
เหลือง น้ําตาล
มวง เทา
3.1.2 การนับคูสาย
- ตัวนําที่หุมฉนวนแตละสีตองนํามาบิดเกลียวเพื่อจับเปนคูสาย ซึ่งแตละคูสายจะประกอบดวย
แมสี 1 เสน และ ลูกสี 1 เสน ตามรหัสสีที่แสดงในตารางที่ 3.2
- สําหรับสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวที่มีคูสายมากกวา 25 คูสายใหแบงออกเปนกลุมๆ ละ 25 คูสาย
โดยใชรหัสสีของแตละคูสายตามตารางที่ 4 นับเวียนซ้ําอีกครั้งที่กลุม 25 คูสายถัดมา และใช
รหัสสีของเทปสีตางๆ เปนตัวแบงกลุม
17
ตารางที่ 3.2 การนับคูสาย
หมายเลขคูสาย
สีของฉนวน
แมสี ลูกสี
1 ขาว น้ําเงิน
2 ขาว สม
3 ขาว เขียว
4 ขาว น้ําตาล
5 ขาว เทา
6 แดง น้ําเงิน
7 แดง สม
8 แดง เขียว
9 แดง น้ําตาล
10 แดง เทา
11 ดํา น้ําเงิน
12 ดํา สม
13 ดํา เขียว
14 ดํา น้ําตาล
15 ดํา เทา
16 เหลือง น้ําเงิน
17 เหลือง สม
18 เหลือง เขียว
19 เหลือง น้ําตาล
20 เหลือง เทา
21 มวง น้ําเงิน
22 มวง สม
23 มวง เขียว
24 มวง น้ําตาล
25 มวง เทา
18
3.2 ชนิดของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว
3.2.1 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ
3.2.1.1 ลักษณะทั่วไป
(1) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว หุมฉนวนพอลิโอเลฟน ตัวนําทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนใน
อากาศ ที่มีขนาดตัวนําตั้งแต 0.4 มิลลิเมตร ถึง 0.9 มิลลิเมตร จํานวนคูสายไมเกิน 3000 คูสาย
(2) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว นําทองแดงอบออน แกนสายเคเบิลไมเติมสารประกอบที่ปองกันการ
แทรกซึมของน้ําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว มีชิลดเปนอลูมิเนียมเคลือบพลาสติกและเปลือก
เปนพอลิเอทิลีน เหมาะสําหรับใชงานแขวนในอากาศ
รูปที่ 3.1 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด
3.2.2 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย
3.2.2.1 ลักษณะทั่วไป
(1) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว หุมฉนวนพอลิโอเลฟน ตัวนําทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนใน
อากาศ ที่มีขนาดตัวนํา ตั้งแต 0.4 มิลลิเมตร ถึง 0.9 มิลลิเมตร จํานวนคูสายไมเกิน 3000 คูสาย
(2) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ตัวนําทองแดงอบออน เติมสารกันชื้นเพื่อปองกันการแทรกซึมของน้ํา
ในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว มีชิลดเปนอลูมิเนียมเคลือบพลาสติกและเปลือกเปนพอลิเอทิลีน
เหมาะสําหรับใชงานใตดิน โดยติดตั้งในชองเดินสาย
19
รูปที่ 3.2สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับติดตั้งในชองเดินสายของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด
3.2.3 สายดรอฟไวร ตัวนําทองแดง หุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ
(1) ลักษณะทั่วไป
สายดรอฟไวร ตัวนําทองแดงหุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด สําหรับการติดตั้งแบบแขวนใน
อากาศ ที่มีขนาดตัวนํา 0.65 มิลลิเมตร และ 0.9 มิลลิเมตร จํานวน 2 แกน
รูปที่ 3.3 สายดรอฟไวรสําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด
3.3 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ
3.3.1 คุณสมบัติทางไฟฟา
3.3.1.1 ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําที่ 20 °C
ความตานทานไฟฟากระแสตรงสูงสุดของตัวนําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ไมควรเกินตามที่
กําหนดไวใน ตารางที่ 3.3
20
3.3.1.2 ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา
ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงแตละคูสายสูงสุดและความไมสมดุลของ
ความตานทานไฟฟากระแสตรงเฉลี่ยสูงสุดระหวางตัวนําของคูสายในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว
ไมควรเกินตามที่กําหนดไวในตารางที่ 3.3
3.3.1.3 ความจุไฟฟารวม (Mutual Capacitance)
ความจุไฟฟารวมเฉลี่ยของทุกคูสายในความยาวใดๆ ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่คุณสมบัติที่
ตองการที่ความถี่ 1 กิโลเฮิรตซ ไมควรเกินตามที่กําหนดในตารางที่ 3.3
3.3.1.4 ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย (Pair to Pair Capacitance –
Unbalance)
ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุดในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว และ
รากของกําลังสองเฉลี่ยของความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายไมควร
เกินไปกวาคาที่กําหนดในตารางที่ 3.3
3.3.1.5 ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน (Pair to Ground Capacitance –
Unbalance)
ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุดในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว และ
ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินเฉลี่ยไมควรเกินกําหนดในตารางที่
3.3
3.3.1.6 การลดทอนสัญญาณ (Attenuation)
การลดทอนสัญญาณเฉลี่ยของทุกคูสายในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวที่มีคูสายมากกวา 12 คูสาย
ไมควรเกินกวาที่กําหนดในตารางที่ 3.3 สําหรับสายเคเบิลที่มีคูสาย 12 คูสายหรือนอยกวา ควร
มีคาการลดทอนสัญญาณเฉลี่ยไมเกินรอยละ 110 ของคาที่กําหนดในตารางที่ 3.3
3.3.1.7 การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย (Crosstalk Loss)
การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย ที่ปลายดานไกล (FEXT) และปลายดานใกล
(NEXT) ควรเปนไปตามที่กําหนดในตารางที่ 3.3
3.3.1.8 ความตานทานของฉนวนต่ําสุด
ตัวนําหุมฉนวนของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวควรมีความตานทานของฉนวนต่ําสุดมากกวาที่
กําหนดในตารางที่ 3.3
3.3.1.9 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับตัวนํา (Conduct to Conduct dc Proof)
สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองไมเสียสภาพฉับพลัน
3.3.1.10 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับชิลด (Conduct to Shield dc Proof)
สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองไมเสียสภาพฉับพลัน
3.3.1.11 ความตอเนื่องของชิลด (Shield Continuity)
ชิลดของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองมีการนําไฟฟาไดอยางตอเนื่อง
3.3.1.12 ความตอเนื่องของตัวนํา (Conduct Continuity)
แตละตัวนําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวสําเร็จตองมีการนําไฟฟาไดอยางตอเนื่อง
21
ตารางที่ 3.3 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 3.3.1.1 – 3.3.1.10
รายละเอียด หนวย
ขนาดตัวนํา (มิลลิเมตร)
0.4 0.5 0.65 0.9
1. ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา
- ความตานทานไฟฟากระแสตรงสูงสุด Ω/km 144.4 90.2 57.1 28.5
2. ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา
- ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงแตละคูสายสูงสุด
- ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงเฉลี่ย
%
%
5.0
2.0
5.0
1.5
4.0
1.5
4.0
1.5
3. ความจุไฟฟารวม
3.1 กรณีมีคูสายนอยกวา 25 คูสาย
- ความจุไฟฟารวมเฉลี่ย
3.2 กรณีมีคูสายตั้งแต 25 คูสายขึ้นไป
- ความจุไฟฟารวมเฉลี่ย
nF/km
nF/km
52 ± 4
52 ± 2
52 ± 4
52 ± 2
52 ± 4
52 ± 2
52 ± 4
52 ± 2
4. ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย
4.1 กรณีมีคูสาย 6 คูสายหรือนอยกวา
- ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุด
4.2 กรณีมีคูสายมากกวา 6 คูสาย
- ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุด
- รากของกําลังสองเฉลี่ยของความไมสมดุลของความจุไฟฟา
ระหวางคูสายกับคูสาย
pF/km
pF/km
pF/km
181
145
45
181
145
45
181
145
45
181
145
45
5. ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน
5.1 กรณีมีคูสาย 6 คูสายหรือนอยกวา
- ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุด
5.2 กรณีมีคูสายมากกวา 6 คูสาย
- ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุด
- ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินเฉลี่ย
pF/km
pF/km
pF/km
2.625
2.625
575
2.625
2.625
574
2.625
2.625
574
2.625
2.625
574
6. การลดทอนสัญญาณที่ความถี่ 772 กิโลเฮิรตซ
- การลดทอนสัญญาณเฉลี่ยสูงสุด dB/km 24.28 19.36 15.42 10.83
22
ตารางที่ 3.3 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 3.3.1.1 – 3.3.1.10 (ตอ)
รายละเอียด หนวย
ขนาดตัวนํา (มิลลิเมตร)
0.4 0.5 0.65 0.9
7. การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย
7.1 ปลายดานไกล ที่ความถี่ 150 กิโลเฮิรตซ
- คารากกําลังสองเฉลี่ยของการสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวน
ขามคูสายต่ําสุด
- การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสายต่ําสุด
7.2 ปลายดานใกลที่ความถี่ 772 กิโลเฮิรตซ
ผลตางระหวางคาเฉลี่ยกับคาเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ําสุด
- ขนาดยูนิตไมเกิน 13 คูสาย
- ขนาดยูนิตเปน 18 และ 25 คูสาย
- ขนาดยูนิตไมเกิน 13 คูสายคูสายแตละคูอยูติดกัน
- ขนาดยูนิตไมเกิน 25 คูสาย คูสายแตละคูอยูติดกัน
- ขนาดยูนิตใดๆ คูสายแตละคูไมอยูติดกัน
dB/km
dB/km
dB
dB
dB
dB
dB
67.8
57.8
56
60
65
66
81
67.8
57.8
56
60
65
66
81
67.8
57.8
56
60
65
66
81
67.8
57.8
56
60
65
66
81
8. ความตานทานฉนวนต่ําสุด MΩ.km 16000 16000 16000 16000
9. ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับตัวนําต่ําสุด เมื่อ
ทดสอบเปนเวลา 3 วินาที V 2400 3000 3600 4500
10. ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับชิลดต่ําสุด เมื่อ
ทดสอบเปนเวลา 3 วินาที V 10000 10000 10000 10000
3.3.2 คุณสมบัติทางกล
คุณสมบัติทางกล
3.3.2.1 การโคงงอของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Cable bend)
เมื่อทดสอบตามวิธีทดสอบคุณสมบัติทางกลในหัวขอการโคงงอที่อุณหภูมิต่ําของ
ฉนวนจะตองไมมีรอยแตก
3.3.2.2 การทนตอแรงกระแทกของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Cable impact)
เมื่อทดสอบตามวิธีทดสอบคุณสมบัติทางกลในหัวขอการการทดสอบการทนตอแรง
กระแทกของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวสําเร็จบริบูรณ พื้นผิวนอกและพื้นผิวในของ
เปลือกสายเคเบิลจะตองไมมีรอยแตก
23
ตารางที่ 3.4 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว
รายละเอียด หนวย ฉนวน เปลือก
พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิเอทิลีน
1. ความตานทานแรงดึงต่ําสุด
2. การยืดตัวต่ําสุด
3. การหดตัว
- อุณหภูมิทดสอบ
- เกณฑความคลาดเคลื่อน
- ระยะเวลาที่ใชอบ
- การหดตัวของฉนวนสูงสุด
- การหดตัวของเปลือกสูงสุด
4. การเยื้องศูนยของเปลือกสูงสุด
5. ความตานทานตอการแตกเนื่องจากความเคน
- ชิ้นทดสอบทั้งหมด
- อัตราการเสียสภาพของชิ้นทดสอบสูงสุด
kg/cm2
%
°C
°C
h
mm
%
%
ชิ้น
ชิ้น
168
300
115
± 1
4
10
-
-
-
-
210
300
130
± 1
4
10
-
-
-
-
119
400
100
± 1
4
-
5
43
10
0
3.4 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย
3.4.1 คุณสมบัติทางไฟฟา
3.4.1.1 ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําที่ 20 °C
ความตานทานไฟฟากระแสตรงสูงสุดของตัวนําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ไมควรเกินตามที่
กําหนดไวในตารางที่ 3.5
3.4.1.2 ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา
ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงแตละคูสายสูงสุดและความไมสมดุลของ
ความตานทานไฟฟากระแสตรงเฉลี่ยสูงสุดระหวางตัวนําของคูสายในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว
ไมควรเกินตามที่กําหนดไวในตารางที่ 3.5
24
3.4.1.3 ความจุไฟฟารวม (Mutual Capacitance)
ความจุไฟฟารวมเฉลี่ยของทุกคูสายในความยาวใดๆ ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่คุณสมบัติที่
ตองการที่ความถี่ 1 กิโลเฮิรตซ ไมควรเกินตามที่กําหนดในตารางที่ 3.5
3.4.1.4 ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย (Pair to Pair Capacitance –
Unbalance)
ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุดในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว และ
รากของกําลังสองเฉลี่ยของความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายไมควรเกิน
ตามที่กําหนดในตารางที่ 3.5
3.4.1.5 ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน (Pair to Ground Capacitance -
Unbalance)
ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุดในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว และ
ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินเฉลี่ยไมควรเกินตามที่กําหนดใน
ตารางที่ 3.5
3.4.1.6 การลดทอนสัญญาณ (Attenuation)
การลดทอนสัญญาณเฉลี่ยของทุกคูสายในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวที่มีคูสายมากกวา 12 คูสาย
ไมควรเกินกวาที่กําหนดในตารางที่ 3.6 สําหรับสายเคเบิลที่มีคูสาย 12 คูสายหรือนอยกวา ควร
มีการลดทอนสัญญาณเฉลี่ยไมเกินรอยละ 110 ของคาที่กําหนดในตารางที่ 3.5
3.4.1.7 การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย (Crosstalk Loss)
การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย ที่ปลายดานไกล (FEXT) และปลายดานใกล
(NEXT) ควรเปนไปตามที่กําหนดในตารางที่ 3.5
3.4.1.8 ความตานทานของฉนวน
ตัวนําหุมฉนวนของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ควรมีความตานทานของฉนวนมากกวาที่กําหนด
ในตารางที่ 3.5
3.4.1.9 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับตัวนํา (Conduct to Conduct dc Proof)
สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองไมเสียสภาพฉับพลัน
3.4.1.10 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับชิลด (Conduct to Shield dc Proof)
สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองไมเสียสภาพฉับพลัน
3.4.1.11 ความตอเนื่องของชิลด (Shield Continuity)
ชิลดของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองมีการนําไฟฟาไดอยางตอเนื่อง
3.4.1.12 ความตอเนื่องของตัวนํา (Conduct Continuity)
แตละตัวนําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองมีการนําไฟฟาไดอยางตอเนื่อง
25
ตารางที่ 3.5 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 1.1 – 1.10
รายละเอียด หนวย ขนาดตัวนํา(มิลลิเมตร)
0.4 0.5 0.65 0.9
1. ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา
- ความตานทานไฟฟากระแสตรงสูงสุด Ω/km 144.4 90.2 57.1 28.5
2. ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา
- ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงแตละคูสายสูงสุด
- ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงเฉลี่ยสูงสุด
%
%
5.0
2.0
5.0
1.5
4.0
1.5
4.0
1.5
3. ความจุไฟฟารวม
3.1 กรณีมีคูสายนอยกวา 25 คูสาย
- ความจุไฟฟารวมเฉลี่ย
3.2 กรณีมีคูสายตั้งแต 25 คูสายขึ้นไป
- ความจุไฟฟารวมเฉลี่ย
nF/km
nF/km
52 ± 4
52 ± 2
52 ± 4
52 ± 2
52 ± 4
52 ± 2
52 ± 4
52 ± 2
4. ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย
- ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุด
- คารากของกําลังสองเฉลี่ยของความไมสมดุลของความจุไฟฟา
ระหวางคูสายกับคูสาย
pF/km
pF/km
145
45
145
45
145
45
145
45
5. ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน
- ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุด
- ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินเฉลี่ยสูงสุด
pF/km
pF/km
2625
656
2625
656
2625
656
2625
656
6. การลดทอนสัญญาณที่ความถี่ 772 กิโลเฮิรตซ
- การลดทอนสัญญาณเฉลี่ยสูงสุด dB/km 23.28 18.36 14.75 10.49
7. การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย
7.1 ปลายดานไกล ที่ความถี่ 150 กิโลเฮิรตซ
- คารากกําลังสองเฉลี่ยของการสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวน
ขามคูสายต่ําสุด
- การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสายต่ําสุด
7.2 ปลายดานใกลที่ความถี่ 772 กิโลเฮิรตซ
ผลตางระหวางคาเฉลี่ยกับคาเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ําสุด
- ขนาดยูนิตไมเกิน 13 คูสาย
- ขนาดยูนิตเปน 18 และ 25 คูสาย
- ขนาดยูนิตไมเกิน 13 คูสายคูสายแตละคูอยูติดกัน
dB/km
dB/km
dB
dB
dB
67.8
57.8
56
60
65
67.8
57.8
56
60
65
67.8
57.8
56
60
65
67.8
57.8
56
60
65
26
ตารางที่ 3.5 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 1.1 – 1.10 (ตอ)
รายละเอียด หนวย ขนาดตัวนํา(มิลลิเมตร)
0.4 0.5 0.65 0.9
7. การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย
- ขนาดยูนิตไมเกิน 25 คูสาย คูสายแตละคูอยูติดกัน
- ขนาดยูนิตใดๆ คูสายแตละคูไมอยูติดกัน
dB
dB
66
81
66
81
66
81
66
81
8. ความตานทานฉนวนต่ําสุด MΩ.km 1600 1600 1600 1600
9. ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับตัวนําต่ําสุด เมื่อ
ทดสอบเปนเวลา 3 วินาที V 2000 2000 3500 3500
10. ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับชิลดต่ําสุด เมื่อ
ทดสอบเปนเวลา 3 วินาที V 5000 5000 10000 10000
3.4.2 คุณสมบัติทางกล
คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชอง
เดินสาย แสดงไดดังแสดงในตารางที่ 3.6
3.5 สายดรอฟไวร ตัวนําทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ
3.5.1 คุณสมบัติทางไฟฟา
3.5.1.1 ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําที่ 20°C
ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําในสายดรอฟไวรควรเปนไปตามที่กําหนดไวใน
ตารางที่ 3.7
3.5.1.2 ความตอเนื่องของตัวนํา
แตละตัวนําในสายดรอฟไวรตองมีการนําไฟฟาอยางตอเนื่อง
3.5.1.3 ความตานทานของฉนวนที่ 20°C
ตัวนําหุมฉนวนของสายดรอฟไวร ควรมีความตานทานของฉนวนไมนอยกวาที่กําหนดไวใน
ตารางที่ 3.7
3.5.1.4 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรง (dc Proof)
เมื่อทดสอบดวยแรงดันไฟฟาที่กําหนดในตารางที่ 3.7 สายดรอฟไวรตองไมเสียสภาพฉับพลัน
3.5.2 คุณสมบัติทางกล
จากตารางที่ 3.8 แสดงคุณสมบัติทางกลของสายดรอฟไวร
27
ตารางที่ 3.6 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น ติดตั้งในชองเดินสาย
รายละเอียด หนวย
ฉนวน เปลือก
พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน
พอลิเอทิลีน
ชนิดความ
หนาแนนต่ํา
น้ําหนัก
โมเลกุลสูง
พอลิเอทิลีนชนิด
ความหนาแนน
ปานกลาง
1. ความตานทานแรงดึงต่ําสุด
2. การยืดตัวต่ําสุด
3. การหดตัว
- อุณหภูมิทดสอบ
- เกณฑความคลาดเคลื่อน
- ระยะเวลาที่ใชอบ
- การหดตัวของฉนวนสูงสุด
- การหดตัวของเปลือกสูงสุด
4. การเยื้องศูนยของเปลือกสูงสุด
Kg/cm2
%
°C
°C
h
mm
%
%
1.5
300
115
± 1
4
10
-
-
126
300
130
± 1
4
10
-
-
119
400
100
± 1
4
-
5
43
154
400
115
± 1
4
-
5
43
ตารางที่ 3.7 คุณสมบัติทางไฟฟา
รายละเอียด หนวย ขนาดตัวนํา (มิลลิเมตร)
0.65 0.9
1. ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําสูงสุด
2. ความตานทานของฉนวนต่ําสุด
3. ความทนแรงดันไฟฟาต่ําสุด
Ω/km
MΩ.km
V
57.1
400
1500 ac หรือ
4500 dc
28.5
400
1500 ac หรือ
4500 dc
28
ตารางที่ 3.8 คุณสมบัติทางกลของสายดรอฟไวร
รายละเอียด หนวย คาที่ระบุ
1. กอนอบเรงอายุใชงาน
1.1 ความตานทานแรงดึงต่ําสุด
1.2 การยืดตัวต่ําสุด
2. หลังเรงอายุใชงาน
2.1 ความตานทานแรงดึงหลังเรงอายุใชงานเทียบกอนเรงอายุใชงาน
2.2 การยืดตัวหลังเรงอายุใชงานเทียบกอนเรงอายุใชงาน
3. การเปลี่ยนแปลงรูปขณะมีแรงกดที่อุณหภูมิสูงสุด
4. น้ําหนักของฉนวนที่ลดลงเนื่องจากความรอนสูงสุด
Kg/mm2
%
%
%
%
%
1.41
1.50
80-120
75
25
10
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf
20120327110503-1.pdf

More Related Content

More from PawachMetharattanara

Presentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptxPresentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptx
PawachMetharattanara
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
PawachMetharattanara
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
PawachMetharattanara
 
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfหนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
PawachMetharattanara
 
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
PawachMetharattanara
 
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPresentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
PawachMetharattanara
 
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxอบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
PawachMetharattanara
 
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxpresentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
PawachMetharattanara
 
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
PawachMetharattanara
 
แผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfแผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdf
PawachMetharattanara
 
Digital Marketing (2024).pdf
Digital Marketing (2024).pdfDigital Marketing (2024).pdf
Digital Marketing (2024).pdf
PawachMetharattanara
 
MARKETING Technology พลิกโลกการตลาดด้วยมาร์เทค 1.pdf
MARKETING Technology พลิกโลกการตลาดด้วยมาร์เทค 1.pdfMARKETING Technology พลิกโลกการตลาดด้วยมาร์เทค 1.pdf
MARKETING Technology พลิกโลกการตลาดด้วยมาร์เทค 1.pdf
PawachMetharattanara
 
Thailand 2023Q3 CCTV Seasonal Spotlight Product - DGF.PDF
Thailand 2023Q3 CCTV Seasonal Spotlight Product - DGF.PDFThailand 2023Q3 CCTV Seasonal Spotlight Product - DGF.PDF
Thailand 2023Q3 CCTV Seasonal Spotlight Product - DGF.PDF
PawachMetharattanara
 
4 โต๊ะจีน 2022.pdf
4 โต๊ะจีน 2022.pdf4 โต๊ะจีน 2022.pdf
4 โต๊ะจีน 2022.pdf
PawachMetharattanara
 
Present_bitdefender_ sales 2023.pptx
Present_bitdefender_ sales 2023.pptxPresent_bitdefender_ sales 2023.pptx
Present_bitdefender_ sales 2023.pptx
PawachMetharattanara
 
2022Q4 Access Control & Video Intercom product update.pptx
2022Q4 Access Control & Video Intercom product update.pptx2022Q4 Access Control & Video Intercom product update.pptx
2022Q4 Access Control & Video Intercom product update.pptx
PawachMetharattanara
 
หลักการเขียนลายเซ็น.pdf
หลักการเขียนลายเซ็น.pdfหลักการเขียนลายเซ็น.pdf
หลักการเขียนลายเซ็น.pdf
PawachMetharattanara
 

More from PawachMetharattanara (20)

Presentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptxPresentation1ubv.pptx
Presentation1ubv.pptx
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
 
Univiwe Training 2023.pdf
Univiwe Training 2023.pdfUniviwe Training 2023.pdf
Univiwe Training 2023.pdf
 
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdfUniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
Uniview Company Introduction with brief solution(1).pdf
 
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdfหนังสือเชิญ  Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
หนังสือเชิญ Quicktron Robotic .Thailand(1).pdf
 
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
07 TOR ระบบ Smart Classroom ขนาด 50 ที่นั่ง 231220.docx
 
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.pptPresentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
Presentation DGF Logistics Thailand.คุณอรุณ.1.ppt
 
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptxอบรมพื้นฐาน 2023.pptx
อบรมพื้นฐาน 2023.pptx
 
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptxpresentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
presentationsolutioncovidschool-230115131900-5c73fd21.pptx
 
Catalog Quick.pdf
Catalog Quick.pdfCatalog Quick.pdf
Catalog Quick.pdf
 
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
01416_PPT_FG_DAY1-บ่าย_651219V2.pdf
 
แผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdfแผนที่PICKชีวิต.pdf
แผนที่PICKชีวิต.pdf
 
Digital Marketing (2024).pdf
Digital Marketing (2024).pdfDigital Marketing (2024).pdf
Digital Marketing (2024).pdf
 
MARKETING Technology พลิกโลกการตลาดด้วยมาร์เทค 1.pdf
MARKETING Technology พลิกโลกการตลาดด้วยมาร์เทค 1.pdfMARKETING Technology พลิกโลกการตลาดด้วยมาร์เทค 1.pdf
MARKETING Technology พลิกโลกการตลาดด้วยมาร์เทค 1.pdf
 
Thailand 2023Q3 CCTV Seasonal Spotlight Product - DGF.PDF
Thailand 2023Q3 CCTV Seasonal Spotlight Product - DGF.PDFThailand 2023Q3 CCTV Seasonal Spotlight Product - DGF.PDF
Thailand 2023Q3 CCTV Seasonal Spotlight Product - DGF.PDF
 
DLS_CP_DPARK LPR.pptx
DLS_CP_DPARK LPR.pptxDLS_CP_DPARK LPR.pptx
DLS_CP_DPARK LPR.pptx
 
4 โต๊ะจีน 2022.pdf
4 โต๊ะจีน 2022.pdf4 โต๊ะจีน 2022.pdf
4 โต๊ะจีน 2022.pdf
 
Present_bitdefender_ sales 2023.pptx
Present_bitdefender_ sales 2023.pptxPresent_bitdefender_ sales 2023.pptx
Present_bitdefender_ sales 2023.pptx
 
2022Q4 Access Control & Video Intercom product update.pptx
2022Q4 Access Control & Video Intercom product update.pptx2022Q4 Access Control & Video Intercom product update.pptx
2022Q4 Access Control & Video Intercom product update.pptx
 
หลักการเขียนลายเซ็น.pdf
หลักการเขียนลายเซ็น.pdfหลักการเขียนลายเซ็น.pdf
หลักการเขียนลายเซ็น.pdf
 

20120327110503-1.pdf

  • 3. คํานําของนายกสภาวิศวกร ตั้งแตอดีตมาถึงปจจุบัน การสื่อสารเปนสิ่งที่จําเปนอยางยิ่งตอการดํารงชีวิตและการประกอบธุรกิจ โดยมนุษยเรา สามารถติดตอสื่อสารถึงกันไดทั้งแบบใชสายและไรสาย สําหรับการสื่อสารแบบใชสายนั้น เราสามารถติดตอถึงกันไดโดย อาศัยสายนําสัญญาณ (Transmission Line) ซึ่งในทางปฏิบัติ เราจะนําสายนําสัญญาณหลายๆ เสนมารวมอยูดวยกันภายใน เสนใหญขึ้นเพียงเสนเดียว เรียกวา สายเคเบิล (Cable) โดยเราสามารถจําแนกชนิดของสายเคเบิลออกไดเปน 3 ชนิดหลักๆ คือ สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) สายเคเบิลแกนรวม (Coaxial Cable) และสายเคเบิลเสนใยแสง (Optical Fiber Cable) ถาจะกลาวถึงรายละเอียดของสายเคเบิลทุกชนิดพรอมกัน เราจะเรียกวา ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร ซึ่งเรา ตองยอมรับวา ในปจจุบันนี้ การสื่อสารไมไดจํากัดอยูเพียงแคการสื่อสารผานระบบโทรคมนาคม ไดแก โครงขายโทรศัพท สาธารณะ ระบบสงสัญญาณผานไมโครเวฟ ระบบสงสัญญาณผานดาวเทียม ระบบสงสัญญาณผานโทรศัพทเคลื่อนที่ ฯลฯ เทานั้น ยังรวมไปถึงการสื่อสารผานคอมพิวเตอร ไดแก โครงขายพื้นที่ทองถิ่น (Local Area Network) โครงขายพื้นที่นคร หลวง (Metropolitan Area Network) และโครงขายพื้นที่กวาง (Wide Area Network) ฯลฯ ดังนั้น ถาเราจะกลาวถึงระบบ สายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร เราก็ควรจะกลาวถึงระบบสายเคเบิลที่ใชงานทั้งในระบบสื่อสารโทรคมนาคมและใน ระบบสื่อสารคอมพิวเตอร การสรางระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่กาวหนาและทันสมัยเพียงอยางเดียวไมสามารถที่จะทําใหระบบสื่อสาร ทั้งทางดานโทรคมนาคมและโครงขายคอมพิวเตอรในประเทศไทยมีคุณภาพได ถาขาดซึ่งประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพ (Code of Practice) ที่ดีในการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร โดยผลกระทบที่เกิดขึ้นก็คือ คุณภาพของการสื่อสารที่ไมไดมาตรฐาน อันเนื่องมาจากอัตราความผิดพลาดของบิตขอมูล (Bit Error Rate) ที่สูงเกินไป เวลาประวิง (Delay Time) ในการสื่อสารที่ยาวนานเกินไป ขอมูลเดินทางไดในระยะทางที่สั้นลงอันเนื่องมาจากการลดทอน (Attenuation) ของสัญญาณที่สูงเกินไป ฯลฯ นอกจากนี้ ปญหาอีกประการหนึ่งที่เกิดขึ้นกับโครงขายสื่อสารโทรคมนาคมและโครงขายสื่อสารคอมพิวเตอรใน ประเทศไทยก็คือมีการใชสายเคเบิลและเครื่องมือทดสอบที่แตกตางกันมาก จึงกอใหเกิดการติดตั้งและการบํารุงรักษาระบบ สายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ไมถูกวิธี ดังนั้น ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร จึงมี ความสําคัญเปนอยางยิ่งตอความเจริญกาวหนาของธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศ สมควรอยางยิ่งที่สภาวิศวกร ซึ่งเปน องคกรระดับประเทศที่ทําหนาที่ควบคุม ดูแล คุณภาพของงานดานวิศวกรรมในระดับประเทศจะตองดําเนินการจัดทํา ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดังกลาวนี้ขึ้นมา เพื่อสรางแนวทางปฏิบัติวิชาชีพที่ถูกตองและเหมาะสมในการตรวจสอบและ ทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ถูกติดตั้งและใชงานจริงในประเทศไทย (นายทวี บุตรสุนทร) นายกสภาวิศวกร
  • 4. 2 คํานําของคณะอนุกรรมการจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ การจัดทําประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารเปน โครงการที่สภาวิศวกรใหความสําคัญเปนอยางมาก เนื่องจากทางสภาวิศวกรคาดหวังเปนอยางยิ่งวาระบบสายเคเบิลเพื่อการ สื่อสารที่ถูกติดตั้งและใชงานไปแลวในระบบสื่อสารโทรคมนาคมและในระบบสื่อสารคอมพิวเตอรนั้น ควรจะมีแนวทาง ปฏิบัติวิชาชีพที่ถูกตองและเหมาะสมในการตรวจสอบและทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร จึงไดแตงตั้งคณะทํางาน ตรวจรับ Code of Practice และ คณะทํางานประจํามาตรฐานการปฏิบัติวิชาชีพ เรื่อง ประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการ ตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร ขึ้นมา เพื่อรับผิดชอบเกี่ยวกับการกํากับดูแล ตรวจสอบและ ตรวจรับโครงการประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพฯ นี้โดยเฉพาะ โดยประโยชนที่คาดวาจะไดรับก็คือ มีประมวลหลักปฏิบัติ วิชาชีพดานการตรวจสอบและทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ถูกตองและเหมาะสมตอการใชงานจริงในประเทศ ไทย หลังจากที่ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารไดถูกติดตั้งและใชงานไปแลว อีกทั้ง นําไปสูระบบโครงขายสื่อสารทางดาน โทรคมนาคมและโครงขายคอมพิวเตอรในประเทศไทยที่ใหคุณภาพของสัญญาณในการติดตอสื่อสารที่ดีและไดมาตรฐาน (นายชัยฤทธิ์ สัตยาประเสริฐ) ประธานอนุกรรมการมาตรฐานการประกอบวิชาชีพ
  • 5. 3 รายนามของคณะกรรมการจัดทํามาตรฐานการตรวจสอบและการทดสอบงานติดตั้ง ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารโทรคมนาคมและสื่อสารขอมูล (1) คณะทํางานประจํามาตรฐาน 1. นายประสิทธิ์ เหมวราพรชัย ประธานคณะทํางาน 2. นายกอบชัย เดชหาญ คณะทํางาน 3. นายอมฤต ภูมิรัตน คณะทํางาน 4. นายชวลิต ทิสยากร คณะทํางาน 5. นายพิชิต โตวิวิชญ คณะทํางาน 6. นายสุขุมวิทย ภูมิวุฒิสาร คณะทํางาน 7. นายทนุสิทธิ์ สกุณวัฒน คณะทํางาน 8. นายสมชัย เอื้อปยฉัตร คณะทํางาน 9. นายชํานาญ ปราโมทยไพบูลย คณะทํางาน 10. นายไพสิทธิ์ อัตตระมงคล คณะทํางาน 11. นายสุทธิรักษ สิงหนอก เลขานุการคณะทํางาน (2) คณะผูจัดทํามาตรฐาน 1. นายปุณยวีร จามจรีกุล หัวหนาโครงการ 2. นายพสุ แกวปลั่ง ผูเชี่ยวชาญดานระบบสายเคเบิล 3. นายชานัน ดวงจรัส ผูชวยวิจัย 4. นายรชฏ มณีขัติ ผูชวยวิจัย
  • 6. 4 สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนํา 13 1.1 หลักการและเหตุผล 13 1.2 วัตถุประสงค 13 1.3 ขอบเขตของมาตรฐาน 14 1.4 รายชื่อมาตรฐานอางอิง 14 บทที่ 2 นิยามคําศัพทเฉพาะและหนวย 15 2.1 ทั่วไป 15 2.2 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) 15 2.3 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลแกนรวม (Coaxial Cable) 15 2.4 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลเสนใยแสง (Optical Fiber Cable) 16 2.5 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสาย LAN (Local Area Network) 16 2.6 หนวย 16 บทที่ 3 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 17 3.1 ขอกําหนดทั่วไป 17 3.2 ชนิดของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 19 3.3 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 20 • คุณสมบัติทางไฟฟาของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 20 • คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 23 3.4 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 24 • คุณสมบัติทางไฟฟาของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 24 • คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 27 3.5 สายดรอฟไวรทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 27 • คุณสมบัติทางไฟฟาของสายดรอฟไวรทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 27 • คุณสมบัติทางกลของสายดรอฟไวรทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 27 บทที่ 4 สายเคเบิลแกนรวม 30 4.1 ขอกําหนดทั่วไป 30 4.2 ชนิดของสายเคเบิลแกนรวม แบงตามอิมพีแดนซคุณลักษณะ 30 4.3 คุณสมบัติทางไฟฟาและทางกลของสายเคเบิลแกนรวม 33 4.4 ชนิดของสายเคเบิลแกนรวม แบงตามประเภทการใชงาน 34 บทที่ 5 สายเคเบิลเสนใยแสง 44 5.1 ขอกําหนดทั่วไป 44 5.2 ชนิดของเสนใยแสง แบงตามคุณสมบัติทางแสง 44 5.3 ชนิดของสายเคเบิลเสนใยแสง แบงตามลักษณะการใชงาน 54 5.4 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลเสนใยแสง 59
  • 7. 5 สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ 6 ผลิตภัณฑสาย LAN 61 6.1 ขอกําหนดทั่วไป 61 6.2 ชนิดของสาย LAN 61 6.3 สาย 100Ω UTP 64 • คุณสมบัติทางไฟฟาของสาย horizontal UTP Cable 64 • คุณสมบัติทางกลของสาย horizontal UTP Cable 68 • คุณสมบัติทางไฟฟาของสาย backbone UTP Cable 70 • คุณสมบัติทางกลของสาย backbone UTP Cable 71 6.4 สาย 150Ω STP 72 • คุณสมบัติทางไฟฟาของสาย 150Ω STP 72 • คุณสมบัติทางกลของสาย 150Ω STP 73 บทที่ 7 การตรวจสอบและทดสอบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวและสาย LAN หลังการติดตั้ง 74 7.1 การตรวจสอบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวและสาย LAN หลังการติดตั้ง 74 7.2 การทดสอบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวและสาย LAN หลังการติดตั้ง 75 7.2.1 ขอบขาย 75 7.2.2 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชทดสอบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวและสาย LAN หลังการติดตั้ง 75 7.2.3 การทดสอบหาคา Attenuation 78 7.2.4 การทดสอบการสูญเสียจากกําลังสะทอนกลับ (Return Loss) 78 7.2.5 การทดสอบหา Wiremap 80 7.2.6 การทดสอบหาความยาวสาย 80 7.2.7 การทดสอบหาคา Far-End Crosstalk (FEXT) 81 7.2.8 การทดสอบหาคา Near-End Crosstalk (NEXT) 81 7.2.9 การหาคา Power Sum Near-End Crosstalk Loss (PSNEXT) 82 7.2.10 การหาคา Equal-Level Far-End crosstalk Loss (ELFEXT) 83 7.2.11 การหาคา Power Sum Equal-Level Far-End Crosstalk Loss (PSELFEXT) 84 7.2.12 การทดสอบหาคา Attenuation-to-Crosstalk Ratio (ACR) 85 7.2.13 การทดสอบหาคาการประวิงเวลา (Delay) 85 7.2.14 การทดสอบหาคา Delay Skew 85 7.2.15 การทดสอบความตอเนื่องของสาย (Cable Continuity) 85 7.2.16 การทดสอบหาคาความตานทานกระแสไฟฟาตรงของลูป (Loop) 86 7.2.17 การทดสอบการสไปลซ (Splicing) 86 7.2.18 การทดสอบสภาพการเชื่อมตอและการหาจุดบกพรอง (Fault Location) 86
  • 8. 6 สารบัญ (ตอ) หนา บทที่ 8 การตรวจสอบและทดสอบสายเคเบิลแกนรวม หลังการติดตั้ง 87 8.1 การตรวจสอบสายเคเบิลแกนรวม หลังการติดตั้ง 87 8.2 การทดสอบสายเคเบิลแกนรวม หลังการติดตั้ง 88 8.2.1 เครื่องมือและอุปกรณที่ใชทดสอบสายเคเบิลแกนรวม หลังการติดตั้ง 88 8.2.2 การทดสอบความตอเนื่องของสาย 88 8.2.3 การทดสอบหาความยาวสาย 89 บทที่ 9 การตรวจสอบและทดสอบสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 90 9.1 การตรวจสอบสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 90 9.2 การทดสอบสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 93 9.2.1 อุปกรณที่ใชทดสอบสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 94 9.2.2 การทดสอบแพตชคอรด (Patch Cord) เสนใยแสง 97 9.2.3 การทดสอบหาคากําลังสัญญาณและคาการสูญเสียกําลัง 99 9.2.4 การทดสอบการสูญเสียจากกําลังสะทอนกลับ 101 9.2.5 การทดสอบความตอเนื่องของสาย 102 9.2.6 การทดสอบการสไปลซ 102 9.2.7 การทดสอบสภาพการเชื่อมตอและการหาจุดบกพรอง 103 9.2.8 การทดสอบสเปกตรัมของสัญญาณ 105 สรุป 107 ภาคผนวก 108 ภาคผนวก 1 วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ใชทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวสําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 109 ภาคผนวก 2 วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ใชทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 129 ภาคผนวก 3 วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ใชทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล ของสายดรอฟไวร ตัวนําทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 132 ภาคผนวก 4 วิธีการทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกล ของสายเคเบิลแกนรวม 139 ภาคผนวก 5 วิธีการทดสอบและเครื่องมือที่ใชทดสอบคุณสมบัติทางแสงและทางกลของเคเบิลเสนใยแสง 141 ภาคผนวก 6 วิธีการทดสอบคุณสมบัติทางไฟฟาและทางกลของสาย LAN 152 ภาคผนวก 7 แบบฟอรมการตรวจสอบระบบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 153 ภาคผนวก 8 แบบฟอรมการทดสอบระบบสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 154 ภาคผนวก 9 แบบฟอรมการตรวจสอบระบบสาย LAN 155 ภาคผนวก 10 แบบฟอรมการทดสอบระบบสาย LAN 156
  • 9. 7 สารบัญ (ตอ) หนา ภาคผนวก 11 แบบฟอรมการตรวจสอบระบบสายเคเบิลแกนรวม 157 ภาคผนวก 12 แบบฟอรมการทดสอบระบบสายเคเบิลแกนรวม 159 ภาคผนวก 13 แบบฟอรมการตรวจสอบระบบสายเคเบิลเสนใยแสง 160 ภาคผนวก 14 แบบฟอรมการทดสอบระบบสายเคเบิลเสนใยแสง 162 ภาคผนวก 15 การตอลงดินของสายเคเบิล 163 บรรณานุกรม 165
  • 10. 8 สารบัญตาราง หนา ตารางที่ 3.1 ระบบสีมันเซลล 17 ตารางที่ 3.2 การนับคูสาย 18 ตารางที่ 3.3 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 3.3.1.1 – 3.3.1.10 22 ตารางที่ 3.4 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 24 ตารางที่ 3.5 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 1.1 – 1.10 26 ตารางที่ 3.6 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น ติดตั้งในชองเดินสาย 28 ตารางที่ 3.7 คุณสมบัติทางไฟฟา 28 ตารางที่ 3.8 คุณสมบัติทางกลของสายดรอฟไวร 29 ตารางที่ 4.1 ประเภทและสัญลักษณของสายเคเบิลแกนรวมแตละประเภท 30 ตารางที่ 4.2 ขนาดและรายละเอียดของสายเคเบิลแกนรวม 32 ตารางที่ 4.3 เสนผานศูนยกลางของเสนลวดตัวนําในและตัวนํานอก การยืดตัว และสภาพนําไฟฟาของลวด ทองแดงอบออน 33 ตารางที่ 4.4 สมบัติทางไฟฟาและทางกลของสายเคเบิลแกนรวม 33 ตารางที่ 4.5 สายเคเบิลภายนอกอาคารใชพอลิเอทิลีนเปนฉนวนและใชพอลิเอทิลีนความหนาแนนปานกลาง เปนเปลือกหุม 35 ตารางที่ 4.6 คาการลดทอนของสัญญาณแปรผันตามความถี่ของสายเคเบิลแกนรวมภายนอกอาคาร 36 ตารางที่ 4.7 คุณสมบัติของ Special Dielectric Cables ชนิด 540 Series และ 860 Series 37 ตารางที่ 4.8 ความตางเชิงกลและคาความตานทานของสายชนิด 540 Series และ 860 Series 37 ตารางที่ 4.9 คุณสมบัติของสายชนิด Series 500 และ Series 625 38 ตารางที่ 4.10 คุณสมบัติของ Riser-Rated Distribution Cable ชนิด Series 11 และ Series 500 39 ตารางที่ 4.11 ความแตกตางกันของอัตราการลดทอนของสัญญาณของสายชนิด Series 11 กับ Series 500 40 ตารางที่ 4.12 คุณสมบัติของ Plenum-Rated Distribution Cable ชนิด Series 500 และ Series 11 41 ตารางที่ 4.13 ความแตกตางกันของอัตราการลดทอนของสัญญาณของสายชนิด Series 500 กับ Series 11 41 ตารางที่ 4.14 คุณสมบัติของสายเคเบิลแบบ Service Drop Cable ชนิด Series 500 และ Series 11 42 ตารางที่ 4.15 ความแตกตางกันของอัตราการลดทอนของสัญญาณของสายชนิด Series 500 กับ Series 11 42 ตารางที่ 5.1 คุณสมบัติของ ITU-T G.651.1 Multi-Mode Fiber 45 ตารางที่ 5.2 คุณสมบัติของ ITU-T G.652.A Attribute Single-Mode Fiber 46 ตารางที่ 5.3 คุณสมบัติของ ITU-T G.652.B Attribute Single-Mode Fiber 47 ตารางที่ 5.4 คุณสมบัติของ ITU-T G.652.C Attribute Single-Mode Fiber 48 ตารางที่ 5.5 คุณสมบัติของ ITU-T G.652.D Attribute Single-Mode Fiber 49 ตารางที่ 5.6 คุณสมบัติของ ITU-T G.655.C Attribute Single-Mode Fiber 51 ตารางที่ 5.7 คุณสมบัติของ ITU-T G.655.D Attribute Single-Mode Fiber 52 ตารางที่ 5.8 คุณสมบัติของ ITU-T G.655.E Attribute Single-Mode Fiber 53
  • 11. 9 สารบัญตาราง (ตอ) หนา ตารางที่ 6.1 รหัสสีของแตละสาย 63 ตารางที่ 6.2 แสดงคุณสมบัติทางไฟฟาของสาย Horizontal UTP Cable 65 ตารางที่ 6.3 คุณสมบัติทางกลของสาย Horizontal UTP Cable 68 ตารางที่ 6.4 สีของคูสายใน Backbone UTP Cable ตามมาตรฐาน ANSI/ICEA S-80-576-1994 68 ตารางที่ 6.5 แสดงคุณสมบัติทางไฟฟาของสาย Backbone UTP Cable 70 ตารางที่ 6.6 คุณสมบัติทางกลของสาย Backbone UTP Cable 70 ตารางที่ 6.7 สีของคูสาย STP 150 Ohm 71 ตารางที่ 6.8 คุณสมบัติทางไฟฟาของสาย STP 72 ตารางที่ 6.9 คุณสมบัติทางกลของสาย Horizontal UTP Cable 72 ตารางที่ 7.1 ตัวอยางคา Attenuation ของ Channel 78 ตารางที่ 7.2 ตัวอยางคา Attenuation ของ Basic Link 78 ตารางที่ 7.3 ตัวอยางคา Return Loss ของ Channel 78 ตารางที่ 7.4 ตัวอยางคา Return Loss ของ Basic Link 78 ตารางที่ 7.5 ตัวอยางคา NEXT ของ Channel 81 ตารางที่ 7.6 ตัวอยางคา NEXT ของ Basic Link 82 ตารางที่ 7.7 ตัวอยางคา PSNEXT ของ Channel 82 ตารางที่ 7.8 ตัวอยางคา PSNEXT ของ Basic Link 83 ตารางที่ 7.9 ตัวอยางคา ELFEXT ของ Channel 83 ตารางที่ 7.10 ตัวอยางคา ELFEXT ของ Basic Link 82 ตารางที่ 7.11 ตัวอยางคา PSELFEXT ของ Channel 84 ตารางที่ 7.12 คา PSELFEXT ของ Basic Link 84 ตารางที่ 9.1 ตัวอยางคุณสมบัติทางแสงของสายเคเบิลเสนใยแสง หลังการติดตั้ง 92 ตารางที่ 9.2 ตัวอยางคุณสมบัติของชุดทดสอบ Automatic Certification 95 ตารางที่ 9.3 ตัวอยางคุณสมบัติของชุดทดสอบ Optical Return Loss (ORL) 96 ตารางภาคผนวก ตารางที่ 1.1 ตัวประกอบแกคาของทองแดงที่อุณหภูมิตางๆ 109 ตารางที่ 3.1 ตัวประกอบแกคาของทองแดงที่อุณหภูมิตางๆ ของสายดรอฟไวร 133 ตารางที่ 3.2 ตัวประกอบแกคาของฉนวนพอลิไวนิลคลอไรดที่อุณหภูมิตางๆ 135
  • 12. 10 สารบัญรูป หนา รูปที่ 3.1 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 19 รูปที่ 3.2 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับติดตั้งในชองเดินสายของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 20 รูปที่3.3 สายดรอฟไวรสําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 20 รูปที่ 5.1 สายเคเบิลเสนใยแสงภายนอกอาคารติดตั้งในชองเดินสาย และฝงดินโดยตรง DU-001 55 รูปที่ 5.2 สายเคเบิลเสนใยแสงภายนอกอาคารชนิดติดตั้งในชองเดินสายและฝงดินโดยตรงDB-002 55 รูปที่ 5.3 สายเคเบิลเสนใยแสงชนิดแขวนในอากาศรับน้ําหนักตัวเองได ADSS-001 56 รูปที่ 5.4 สายเคเบิลเสนใยแสงภายนอกอาคารชนิดแขวนในอากาศรับน้ําหนักตัวเองได AC-002 57 รูปที่ 5.5 สายเคเบิลเสนใยแสงชนิด Tight-Buffered 57 รูปที่ 5.6 เสนใยแสงชนิด Tight-Buffered 58 รูปที่ 5.7 การประยุกตใชสายเคเบิลเสนใยแสงชนิด Fan-Out 59 รูปที่ 6.1 Horizontal UTP Cable 62 รูปที่ 6.2 Backbone UTP Cable 62 รูปที่ 6.3 STP Cable 62 รูปที่ 7.1 ดิจิทัลมัลติมิเตอร 74 รูปที่ 7.2 Amplifier Probe (180 CB), Tone Generator (180CB-A) 75 รูปที่ 7.3 Fluke Networks MicroScanner2 Cable Verifier 76 รูปที่ 7.4 EXFO Cableshark P3 77 รูปที่ 7.5 การเดินสายและการเชื่อมตอระบบที่ไมถูกตอง 79 รูปที่ 7.6 ตัวอยางการเดินสายและการเชื่อมตอระบบที่ถูกตอง 79 รูปที่ 7.7 เครื่อง Pair Scanner 85 รูปที่ 8.1 Ethernet Network ที่ใชสายเคเบิลแกนรวม 50Ω 87 รูปที่ 9.1 หนาจอแสดงผลของ OSA ที่แสดงผลสัญญาณแสง 5 ความยาวคลื่น 91 รูปที่ 9.2 การทดสอบ Patch Cord A 97 รูปที่ 9.3 การทดสอบ Patch Cord A และ Patch Cord B 97 รูปที่ 9.4 การทดสอบคาการสูญเสียกําลังโดยใช Light Source และ Power Meter 98 รูปที่ 9.5 การทดสอบคาการสูญเสียกําลังโดยใช OTDR 99 รูปที่ 9.6 การทดสอบการสูญเสียจากกําลังสะทอนกลับ 100 รูปที่ 9.7 การทดสอบการสไปลซ 102 รูปที่ 9.8 ลักษณะของกราฟที่แสดงบน OTDR 103 รูปที่ 9.9 ลักษณะของกราฟของ OTDR สําหรับ a) จุดสไปลซหรือการโคงงอที่ไมดี b) จุดที่ใชคอนเน็กเตอร 103 รูปที่ 9.10 กราฟแสดงคุณสมบัติของ (a) ปลายเสนใยแสง (b) เสนใยแสงแตกหัก 104 รูปที่ 9.11 การทดสอบสเปกตรัมของสัญญาณโดยใช OSA 105 รูปที่ 9.12 การใช OSA วัดสเปกตรัมของสัญญาณ 105
  • 13. 11 สารบัญรูป (ตอ) หนา รูปภาคผนวก รูปที่ 1.1 ความสัมพันธของการเกิดความจุไฟฟารวม 112 รูปที่ 1.2 การตอคูสายที่จะถูกวัดคาความจุไฟฟารวม 112 รูปที่ 1.3 วงจรการเกิดความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย 113 รูปที่ 1.4 การตอคูสายที่จะถูกวัดความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย 114 รูปที่ 1.5 วงจรการเกิดความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายดิน 116 รูปที่ 1.6 การตอคูสายที่จะถูกวัดความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน 116 รูปที่ 1.7 แสดงเครื่องมือทดสอบแบบอัตโนมัติ 123 รูปที่ 1.8 แสดงการเตรียมสายทดสอบ 123 รูปที่ 1.9 แสดงการทดสอบโดยเครื่องทดสอบแบบอัตโนมัติ 124 รูปที่ 4.1 Agilent Network Analyzer รุน 4395A และ 4396B 139 รูปที่ 5.1 Anritsu CMA 5000 Optical Time-Domain Reflectrometer (OTDR) 141 รูปที่ 5.2 Nettest 2200 Series Automated Optical Fiber Analysis System 142 รูปที่ 5.3 Agilent 8509B Lightwave Polarization Analyzer 143 รูปที่ 5.4 Nettest FD 440 Chromatic Dispersion Measurement System 144 รูปที่ 5.5 เครื่องทดสอบแรงดึง (Tensile Loading Machine) 145 รูปที่ 5.6 การทดสอบ Tensile Performance 145 รูปที่ 5.7 เครื่องทดสอบ Crush 146 รูปที่ 5.8 การทดสอบ Crush 147 รูปที่ 5.9 เครื่องทดสอบ Impact 148 รูปที่ 5.10 การทดสอบ Impact 148 รูปที่ 5.11 เครื่องทดสอบ Torsion 149 รูปที่ 5.12 การทดสอบ Torsion 150 รูปที่ 5.13 เครื่องทดสอบ Cable Bend 150 รูปที่ 5.14 การทดสอบ Cable Bend 151
  • 14. 12 บทที่ 1 บทนํา 1.1 หลักการและเหตุผล การสรางระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่กาวหนาและทันสมัยเพียงอยางเดียวไมสามารถที่จะทําใหระบบสื่อสาร มีคุณภาพได ถาขาดซึ่งหลักปฏิบัติที่ดีในการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร ดังนั้นประมวลหลัก ปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร จึงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอความ เจริญกาวหนาของธุรกิจและเศรษฐกิจของประเทศ สมควรอยางยิ่งที่สภาวิศวกร ซึ่งเปนองคกรระดับประเทศที่ทําหนาที่ ควบคุม ดูแล คุณภาพของงานดานวิศวกรรมในระดับประเทศจะตองดําเนินการจัดทําประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการ ตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารนี้ขึ้นมา จากขอเท็จจริงดังกลาวขางตน หากประเทศไทยไมมีประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและการ ทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารแลว เราก็จะไมสามารถควบคุมคุณภาพของระบบสื่อสารซึ่งตองอาศัยสายเคเบิลเปน ตัวกลางในการสื่อสารได ผลกระทบที่จะเกิดขึ้นก็คือคุณภาพของการสื่อสารที่ไมไดมาตรฐาน อันเนื่องมาจากอัตราความ ผิดพลาดของบิตขอมูล (Bit Error Rate) ที่สูงเกินไป เวลาประวิง (Delay Time) ในการสื่อสารที่ยาวนานเกินไป ขอมูล เดินทางไดในระยะทางที่สั้นลงอันเนื่องมาจากการลดทอน (Attenuation) ของสัญญาณที่สูงเกินไป ฯลฯ นอกจากนี้ ปญหาอีกประการหนึ่งที่เกิดขึ้นกับโครงขายสื่อสารโทรคมนาคมและโครงขายสื่อสารคอมพิวเตอรใน ประเทศไทยก็คือมีการใชสายเคเบิลและเครื่องมือทดสอบที่แตกตางกันมาก จึงกอใหเกิดการติดตั้งและการบํารุงรักษาระบบ สายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ไมถูกวิธี จึงจําเปนอยางยิ่งที่จะตองมีประมวลหลักปฏิบัติวิชาชีพดานการตรวจสอบและทดสอบ ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ถูกตองและเหมาะสมตอการใชงานจริงในประเทศไทย หลังจากที่ระบบสายเคเบิลเพื่อการ สื่อสารไดถูกติดตั้งและใชงานไปแลว เพื่อที่วาระบบโครงขายสื่อสารทางดานโทรคมนาคมและโครงขายคอมพิวเตอรใน ประเทศไทยจะไดมีคุณภาพของสัญญาณในการติดตอสื่อสารที่ดีและไดมาตรฐาน รวมถึงคาดวาจะสามารถครอบคลุมและ แกปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้นจากการติดตั้งและการบํารุงรักษาระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารสวนใหญที่มีในประเทศไทยได หมายเหตุ คําวา “ระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร” ในโครงการนี้ หมายถึง ระบบสายเคเบิลที่ใชงานทั้งในระบบสื่อสาร โทรคมนาคมและระบบสื่อสารคอมพิวเตอร 1.2 วัตถุประสงค วัตถุประสงคในการจัดทํา “มาตรฐานการตรวจสอบและการทดสอบงานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร โทรคมนาคมและสื่อสารขอมูล” (Standard for Inspection and Testing of Cable Systems for Telecommunication and Data Communications Installation) คือ 1.2.1 เพื่อใชเปนมาตรฐานปฏิบัติสําหรับอางอิงในการตรวจสอบและทดสอบงานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อ การสื่อสาร 1.2.2 เพื่อใหระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารที่ไดติดตั้งแลวเสร็จ มีสมรรถนะและคุณภาพการใหบริการ เปนไปตามมาตรฐานของระบบและวัตถุประสงคการใชงานตามแบบที่กําหนดไว
  • 15. 13 1.3 ขอบเขตของมาตรฐาน มาตรฐานการตรวจสอบและการทดสอบงานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสารฉบับนี้ จะครอบคลุมขอบเขต การใชงานดังนี้ 1.3.1 มาตรฐานฉบับนี้จะแสดงขอกําหนดขั้นต่ําเกี่ยวกับเครื่องมือทดสอบ เทคนิคสําหรับการตรวจสอบและ การทดสอบงานติดตั้งระบบสายเคเบิลเพื่อการสื่อสาร 1.3.2 มาตรฐานฉบับนี้จะแสดงขอกําหนดขั้นต่ําสําหรับการตรวจสอบและการทดสอบระบบสายเคเบิลเพื่อ การสื่อสาร 4 ชนิด คือ สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) สายเคเบิลแกนรวม (Coaxial Cable) – ใชในยานความถี่สูง (High Frequency หรือ HF) สายเคเบิลเสนใยแสง (Optical Fiber Cable) และสาย LAN (Local Area Network) 1.4 รายชื่อมาตรฐานอางอิง TIA/EIA-568-B.1 Commercial Building Telecommunication Cabling Standard TIA/EIA-568-B.2 Commercial Building Telecommunication Cabling Standard TIA/EIA-568-B.2-1 Commercial Building Telecommunication Cabling Standard
  • 16. 14 บทที่ 2 นิยามคําศัพทเฉพาะและหนวย การนิยามคําศัพทเฉพาะสวนใหญในบทที่ 2 นี้แปลและเรียบเรียงมาจาก “B.Chomycz, Fiber Optic Installer’s Field Manual, McGraw-Hill, New York, 1976.” [1] โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการใชงานในการตรวจสอบและการทดสอบ มาตรฐานฉบับนี้เทานั้น 2.1 ทั่วไป Attenuation หมายถึง การลดทอนขนาดของสัญญาณที่สงไปในสายสัญญาณระหวางจุด แสดงอยูในรูปแบบของ อัตราสวนระหวางสัญญาณขาออกตอสัญญาณขาเขา มีหนวยเปนเดซิเบล (dB) โดยสายสัญญาณแตละชนิดก็จะมี คาการลดทอนที่แตกตางกันไปในแตละความถี่ Connector หมายถึง หัวตอ Closure หมายถึง เครื่องหอหุม 2.2 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) NEXT (Near-End Crosstalk) หมายถึง คาของสัญญาณรบกวนของสายคูสงตอสายคูรับที่ฝงสงสัญญาณ มีหนวย เปนเดซิเบล FEXT (Far-End Crosstalk) หมายถึง คาของสัญญาณรบกวนของสายคูสงตอสายคูรับที่ปลายสาย มีหนวยเปน เดซิเบล ACR (Attenuation-to-Crosstalk Ratio) หมายถึง อัตราสวนระหวางคาการลดทอนตอคา NEXT ของแตละคูสาย ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 2.3 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลแกนรวม (Coaxial Cable) Characteristic Impedance หมายถึง อิมพีแดนซคุณลักษณะ ซึ่งเปนคาความตานทานของวงจรที่ตอเขากับสายสง สัญญาณที่ดานปลายขาออกความยาวใดๆ ทําใหสามารถสงสัญญาณผานสายสงสัญญาณไดโดยไมมีการสะทอน กลับของสัญญาณ Conductor หมายถึง ตัวนํา ซึ่งเปนแกนกลางของสายเคเบิลแกนรวมซึ่งเปนสวนที่นําไฟฟา Dielectric หมายถึง ฉนวน หรือสวนที่ไมใชโลหะ และไมมีคุณสมบัตินําไฟฟา Shield หมายถึง โลหะที่พันอยูรอบตัวนําหรือกลุมของตัวนํา เปนสวนที่ปองกันไฟฟาสถิตยหรือการรบกวนของ คลื่นแมเหล็กไฟฟาจากภายนอก Sheath หมายถึง ปลอกหุมภายนอกของสายเคเบิลซึ่งอาจประกอบไปดวยวัสดุที่เพิ่มความแข็งแรงและทนตอน้ํา Jacket หมายถึง บริเวณชั้นนอกสุดของสายเคเบิล
  • 17. 15 2.4 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสายเคเบิลเสนใยแสง (Optical Fiber Cable) Differential Group Delay (DGD) หมายถึง การประวิงของกลุมที่แตกตางกัน มีหนวยเปนพิโกวินาที หมายถึง ความสัมพันธของการประวิงเวลาระหวางสองแกนหลักที่เปนแกนโพลาไรเซชันของสัญญาณโหมดพื้นฐานของ วัสดุที่ใชทําเสนใยแสงในตําแหนงปลายของเคเบิลเสนใยแสงที่เกิดจากที่มีความยาวคลื่นเฉพาะในขณะเวลานั้น Polarization Mode Dispersion (PMD) หมายถึง คาการกระจายโหมดของคาโพลาไรเซชัน มีหนวยเปน พิโกวินาที หมายถึง คาเฉลี่ยของ DGD ที่ความยาวคลื่นตางๆ Polarization Mode Dispersion Coefficient (PMD) หมายถึง สัมประสิทธิ์การกระจายโหมดโพลาไรเซชัน มี หนวยเปนพิโกวินาทีตอคารากที่สองของกิโลเมตร (ps/ km ) Numerical Aperture (N.A.) หมายถึง คาที่แสดงถึงความสามารถในการรวมแสงของเสนใยแสง ใชในการระบุ มุมที่กวางที่สุดของแสงที่ทํากับแกนกลางของเสนใยแสงที่ทําใหแสงที่ผานเขามาในเสนใยแสงเกิดการสะทอน กลับหมด ทําใหสามารถสงสัญญาณแสงผานเขาไปในเสนใยแสงได Cabled Fiber Cut-Off Wavelength (λ cc )หมายถึง คาความยาวคลื่นตัดของคลื่นแสงในสายเคเบิลเสนใยแสง Chromatic Dispersion หมายถึง คาดิสเพอรชันที่เกิดจากลักษณะทางวัสดุที่ใชทําเสนใยแสง Mode-Field Diameter หมายถึง เสนผานศูนยกลางของโหมดหนึ่งของแสงที่เดินทางผานเสนใยแสงแบบโหมด เดียว โดยใชคาดังกลาวแทนคาเสนผานศูนยกลางของเสนใยแสงแบบโหมดเดียวในทางปฏิบัติ 2.5 คําศัพทเฉพาะเกี่ยวกับสาย LAN (Local Area Network) NEXT (Near-End Crosstalk) หมายถึง คาของสัญญาณรบกวนของสายคูสงตอสายคูรับที่ฝงสงสัญญาณ มีหนวย เปนเดซิเบล PS-NEXT (Power-Sum NEXT) หมายถึง คาที่เกิดจากผลรวมของสัญญาณรบกวน NEXT ของสายอีก 3 คูที่มีผล ตอสายคูที่วัด FEXT (Far-End Crosstalk) หมายถึง คาของสัญญาณรบกวนของสายคูสงตอสายคูรับที่ปลายสาย มีหนวยเปน เดซิเบล ELFEXT (Equal-Level Far-End Crosstalk) หมายถึง คาที่คํานวณไดจากคาสูญเสียของสัญญาณ ลบดวย FEXT PS-ELFEXT (Power-Sum ELFEXT) หมายถึง คาที่เกิดจากผลรวมของสัญญาณรบกวน ELFEXT ของสายอีก 3 คูที่มีผลตอสายคูที่วัด Return Loss หมายถึง คาที่วัดไดจากอัตราสวนระหวางกําลังสัญญาณที่สงไปตอกําลังสัญญาณสะทอนกลับมา ตนสาย Propagation Delay หมายถึง คาหนวงเวลาของสัญญาณที่เคลื่อนที่ผานสาย LANในระยะทาง 100 เมตร Delay Skew หมายถึง คาแตกตางระหวางคูที่เร็วที่สุดกับคูที่ชาที่สุดในระยะทาง 100 เมตร Mutual Capacitance หมายถึง คาความจุไฟฟาประสิทธิผลระหวางตัวนําทั้งสองในคูสาย 2.6 หนวย หนวยที่ใชคือ ระบบหนวยสากล (System International Unit หรือ SI Unit)
  • 18. 16 บทที่ 3 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Twisted Pair Cable) เปนสายนําสัญญาณที่ใชในระบบโทรศัพท แตปจจุบันไดกลายเปน มาตรฐานสายสัญญาณที่เชื่อมตอในโครงขายพื้นที่ทองถิ่น (Local Area Network หรือ LAN) ซึ่งขอดีของสายเคเบิลคูบิด ตีเกลียวคือมีราคาถูก ติดตั้งงาย และสามารถรองรับการสงผานขอมูลที่อัตราเร็วสูงไดประมาณ 1000 เมกกะบิตตอวินาที ซึ่ง ในบทนี้จะกลาวถึงขอกําหนดทั่วไปของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ประเภทของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว รวมทั้งคุณสมบัติทาง ไฟฟาและคุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวแตละประเภท 3.1 ขอกําหนดทั่วไป สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวทุกประเภทจะตองมีขอกําหนดทั่วไปรวมกันดังนี้ 3.1.1 ขนาดของสายและจํานวนคูสาย (1) 0.4 มิลลิเมตร (26 AWG) (2) 0.5 มิลลิเมตร (24 AWG) (3) 0.65 มิลลิเมตร (22 AWG) (4) 0.9 มิลลิเมตร (19 AWG) โดยสายเคเบิลเคเบิลคูบิดตีเกลียวภายใตมาตรฐานนี้จะมีจํานวนคูสายไมเกิน 3000 คูสาย สีของฉนวนจะประกอบดวยแมสี (Tip Color) และลูกสี (Ring Color) ที่กําหนดตามระบบสีมันเซลล (Munsell colour System) ดังแสดงในตารางที่ 3.1 ตารางที่ 3.1 ระบบสีมันเซลล แมสี ลูกสี ขาว น้ําเงิน แดง สม ดํา เขียว เหลือง น้ําตาล มวง เทา 3.1.2 การนับคูสาย - ตัวนําที่หุมฉนวนแตละสีตองนํามาบิดเกลียวเพื่อจับเปนคูสาย ซึ่งแตละคูสายจะประกอบดวย แมสี 1 เสน และ ลูกสี 1 เสน ตามรหัสสีที่แสดงในตารางที่ 3.2 - สําหรับสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวที่มีคูสายมากกวา 25 คูสายใหแบงออกเปนกลุมๆ ละ 25 คูสาย โดยใชรหัสสีของแตละคูสายตามตารางที่ 4 นับเวียนซ้ําอีกครั้งที่กลุม 25 คูสายถัดมา และใช รหัสสีของเทปสีตางๆ เปนตัวแบงกลุม
  • 19. 17 ตารางที่ 3.2 การนับคูสาย หมายเลขคูสาย สีของฉนวน แมสี ลูกสี 1 ขาว น้ําเงิน 2 ขาว สม 3 ขาว เขียว 4 ขาว น้ําตาล 5 ขาว เทา 6 แดง น้ําเงิน 7 แดง สม 8 แดง เขียว 9 แดง น้ําตาล 10 แดง เทา 11 ดํา น้ําเงิน 12 ดํา สม 13 ดํา เขียว 14 ดํา น้ําตาล 15 ดํา เทา 16 เหลือง น้ําเงิน 17 เหลือง สม 18 เหลือง เขียว 19 เหลือง น้ําตาล 20 เหลือง เทา 21 มวง น้ําเงิน 22 มวง สม 23 มวง เขียว 24 มวง น้ําตาล 25 มวง เทา
  • 20. 18 3.2 ชนิดของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว 3.2.1 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 3.2.1.1 ลักษณะทั่วไป (1) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว หุมฉนวนพอลิโอเลฟน ตัวนําทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนใน อากาศ ที่มีขนาดตัวนําตั้งแต 0.4 มิลลิเมตร ถึง 0.9 มิลลิเมตร จํานวนคูสายไมเกิน 3000 คูสาย (2) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว นําทองแดงอบออน แกนสายเคเบิลไมเติมสารประกอบที่ปองกันการ แทรกซึมของน้ําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว มีชิลดเปนอลูมิเนียมเคลือบพลาสติกและเปลือก เปนพอลิเอทิลีน เหมาะสําหรับใชงานแขวนในอากาศ รูปที่ 3.1 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 3.2.2 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 3.2.2.1 ลักษณะทั่วไป (1) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว หุมฉนวนพอลิโอเลฟน ตัวนําทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนใน อากาศ ที่มีขนาดตัวนํา ตั้งแต 0.4 มิลลิเมตร ถึง 0.9 มิลลิเมตร จํานวนคูสายไมเกิน 3000 คูสาย (2) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ตัวนําทองแดงอบออน เติมสารกันชื้นเพื่อปองกันการแทรกซึมของน้ํา ในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว มีชิลดเปนอลูมิเนียมเคลือบพลาสติกและเปลือกเปนพอลิเอทิลีน เหมาะสําหรับใชงานใตดิน โดยติดตั้งในชองเดินสาย
  • 21. 19 รูปที่ 3.2สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับติดตั้งในชองเดินสายของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 3.2.3 สายดรอฟไวร ตัวนําทองแดง หุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ (1) ลักษณะทั่วไป สายดรอฟไวร ตัวนําทองแดงหุมฉนวนพอลิไวนิลคลอไรด สําหรับการติดตั้งแบบแขวนใน อากาศ ที่มีขนาดตัวนํา 0.65 มิลลิเมตร และ 0.9 มิลลิเมตร จํานวน 2 แกน รูปที่ 3.3 สายดรอฟไวรสําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศของบริษัทสายไฟฟาบางกอกเคเบิล จํากัด 3.3 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 3.3.1 คุณสมบัติทางไฟฟา 3.3.1.1 ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําที่ 20 °C ความตานทานไฟฟากระแสตรงสูงสุดของตัวนําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ไมควรเกินตามที่ กําหนดไวใน ตารางที่ 3.3
  • 22. 20 3.3.1.2 ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงแตละคูสายสูงสุดและความไมสมดุลของ ความตานทานไฟฟากระแสตรงเฉลี่ยสูงสุดระหวางตัวนําของคูสายในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ไมควรเกินตามที่กําหนดไวในตารางที่ 3.3 3.3.1.3 ความจุไฟฟารวม (Mutual Capacitance) ความจุไฟฟารวมเฉลี่ยของทุกคูสายในความยาวใดๆ ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่คุณสมบัติที่ ตองการที่ความถี่ 1 กิโลเฮิรตซ ไมควรเกินตามที่กําหนดในตารางที่ 3.3 3.3.1.4 ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย (Pair to Pair Capacitance – Unbalance) ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุดในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว และ รากของกําลังสองเฉลี่ยของความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายไมควร เกินไปกวาคาที่กําหนดในตารางที่ 3.3 3.3.1.5 ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน (Pair to Ground Capacitance – Unbalance) ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุดในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว และ ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินเฉลี่ยไมควรเกินกําหนดในตารางที่ 3.3 3.3.1.6 การลดทอนสัญญาณ (Attenuation) การลดทอนสัญญาณเฉลี่ยของทุกคูสายในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวที่มีคูสายมากกวา 12 คูสาย ไมควรเกินกวาที่กําหนดในตารางที่ 3.3 สําหรับสายเคเบิลที่มีคูสาย 12 คูสายหรือนอยกวา ควร มีคาการลดทอนสัญญาณเฉลี่ยไมเกินรอยละ 110 ของคาที่กําหนดในตารางที่ 3.3 3.3.1.7 การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย (Crosstalk Loss) การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย ที่ปลายดานไกล (FEXT) และปลายดานใกล (NEXT) ควรเปนไปตามที่กําหนดในตารางที่ 3.3 3.3.1.8 ความตานทานของฉนวนต่ําสุด ตัวนําหุมฉนวนของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวควรมีความตานทานของฉนวนต่ําสุดมากกวาที่ กําหนดในตารางที่ 3.3 3.3.1.9 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับตัวนํา (Conduct to Conduct dc Proof) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองไมเสียสภาพฉับพลัน 3.3.1.10 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับชิลด (Conduct to Shield dc Proof) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองไมเสียสภาพฉับพลัน 3.3.1.11 ความตอเนื่องของชิลด (Shield Continuity) ชิลดของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองมีการนําไฟฟาไดอยางตอเนื่อง 3.3.1.12 ความตอเนื่องของตัวนํา (Conduct Continuity) แตละตัวนําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวสําเร็จตองมีการนําไฟฟาไดอยางตอเนื่อง
  • 23. 21 ตารางที่ 3.3 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 3.3.1.1 – 3.3.1.10 รายละเอียด หนวย ขนาดตัวนํา (มิลลิเมตร) 0.4 0.5 0.65 0.9 1. ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา - ความตานทานไฟฟากระแสตรงสูงสุด Ω/km 144.4 90.2 57.1 28.5 2. ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา - ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงแตละคูสายสูงสุด - ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงเฉลี่ย % % 5.0 2.0 5.0 1.5 4.0 1.5 4.0 1.5 3. ความจุไฟฟารวม 3.1 กรณีมีคูสายนอยกวา 25 คูสาย - ความจุไฟฟารวมเฉลี่ย 3.2 กรณีมีคูสายตั้งแต 25 คูสายขึ้นไป - ความจุไฟฟารวมเฉลี่ย nF/km nF/km 52 ± 4 52 ± 2 52 ± 4 52 ± 2 52 ± 4 52 ± 2 52 ± 4 52 ± 2 4. ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย 4.1 กรณีมีคูสาย 6 คูสายหรือนอยกวา - ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุด 4.2 กรณีมีคูสายมากกวา 6 คูสาย - ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุด - รากของกําลังสองเฉลี่ยของความไมสมดุลของความจุไฟฟา ระหวางคูสายกับคูสาย pF/km pF/km pF/km 181 145 45 181 145 45 181 145 45 181 145 45 5. ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน 5.1 กรณีมีคูสาย 6 คูสายหรือนอยกวา - ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุด 5.2 กรณีมีคูสายมากกวา 6 คูสาย - ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุด - ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินเฉลี่ย pF/km pF/km pF/km 2.625 2.625 575 2.625 2.625 574 2.625 2.625 574 2.625 2.625 574 6. การลดทอนสัญญาณที่ความถี่ 772 กิโลเฮิรตซ - การลดทอนสัญญาณเฉลี่ยสูงสุด dB/km 24.28 19.36 15.42 10.83
  • 24. 22 ตารางที่ 3.3 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 3.3.1.1 – 3.3.1.10 (ตอ) รายละเอียด หนวย ขนาดตัวนํา (มิลลิเมตร) 0.4 0.5 0.65 0.9 7. การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย 7.1 ปลายดานไกล ที่ความถี่ 150 กิโลเฮิรตซ - คารากกําลังสองเฉลี่ยของการสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวน ขามคูสายต่ําสุด - การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสายต่ําสุด 7.2 ปลายดานใกลที่ความถี่ 772 กิโลเฮิรตซ ผลตางระหวางคาเฉลี่ยกับคาเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ําสุด - ขนาดยูนิตไมเกิน 13 คูสาย - ขนาดยูนิตเปน 18 และ 25 คูสาย - ขนาดยูนิตไมเกิน 13 คูสายคูสายแตละคูอยูติดกัน - ขนาดยูนิตไมเกิน 25 คูสาย คูสายแตละคูอยูติดกัน - ขนาดยูนิตใดๆ คูสายแตละคูไมอยูติดกัน dB/km dB/km dB dB dB dB dB 67.8 57.8 56 60 65 66 81 67.8 57.8 56 60 65 66 81 67.8 57.8 56 60 65 66 81 67.8 57.8 56 60 65 66 81 8. ความตานทานฉนวนต่ําสุด MΩ.km 16000 16000 16000 16000 9. ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับตัวนําต่ําสุด เมื่อ ทดสอบเปนเวลา 3 วินาที V 2400 3000 3600 4500 10. ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับชิลดต่ําสุด เมื่อ ทดสอบเปนเวลา 3 วินาที V 10000 10000 10000 10000 3.3.2 คุณสมบัติทางกล คุณสมบัติทางกล 3.3.2.1 การโคงงอของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Cable bend) เมื่อทดสอบตามวิธีทดสอบคุณสมบัติทางกลในหัวขอการโคงงอที่อุณหภูมิต่ําของ ฉนวนจะตองไมมีรอยแตก 3.3.2.2 การทนตอแรงกระแทกของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว (Cable impact) เมื่อทดสอบตามวิธีทดสอบคุณสมบัติทางกลในหัวขอการการทดสอบการทนตอแรง กระแทกของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวสําเร็จบริบูรณ พื้นผิวนอกและพื้นผิวในของ เปลือกสายเคเบิลจะตองไมมีรอยแตก
  • 25. 23 ตารางที่ 3.4 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว รายละเอียด หนวย ฉนวน เปลือก พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิเอทิลีน 1. ความตานทานแรงดึงต่ําสุด 2. การยืดตัวต่ําสุด 3. การหดตัว - อุณหภูมิทดสอบ - เกณฑความคลาดเคลื่อน - ระยะเวลาที่ใชอบ - การหดตัวของฉนวนสูงสุด - การหดตัวของเปลือกสูงสุด 4. การเยื้องศูนยของเปลือกสูงสุด 5. ความตานทานตอการแตกเนื่องจากความเคน - ชิ้นทดสอบทั้งหมด - อัตราการเสียสภาพของชิ้นทดสอบสูงสุด kg/cm2 % °C °C h mm % % ชิ้น ชิ้น 168 300 115 ± 1 4 10 - - - - 210 300 130 ± 1 4 10 - - - - 119 400 100 ± 1 4 - 5 43 10 0 3.4 สายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชองเดินสาย 3.4.1 คุณสมบัติทางไฟฟา 3.4.1.1 ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําที่ 20 °C ความตานทานไฟฟากระแสตรงสูงสุดของตัวนําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ไมควรเกินตามที่ กําหนดไวในตารางที่ 3.5 3.4.1.2 ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงแตละคูสายสูงสุดและความไมสมดุลของ ความตานทานไฟฟากระแสตรงเฉลี่ยสูงสุดระหวางตัวนําของคูสายในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ไมควรเกินตามที่กําหนดไวในตารางที่ 3.5
  • 26. 24 3.4.1.3 ความจุไฟฟารวม (Mutual Capacitance) ความจุไฟฟารวมเฉลี่ยของทุกคูสายในความยาวใดๆ ของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่คุณสมบัติที่ ตองการที่ความถี่ 1 กิโลเฮิรตซ ไมควรเกินตามที่กําหนดในตารางที่ 3.5 3.4.1.4 ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย (Pair to Pair Capacitance – Unbalance) ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุดในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว และ รากของกําลังสองเฉลี่ยของความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายไมควรเกิน ตามที่กําหนดในตารางที่ 3.5 3.4.1.5 ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน (Pair to Ground Capacitance - Unbalance) ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุดในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว และ ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินเฉลี่ยไมควรเกินตามที่กําหนดใน ตารางที่ 3.5 3.4.1.6 การลดทอนสัญญาณ (Attenuation) การลดทอนสัญญาณเฉลี่ยของทุกคูสายในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวที่มีคูสายมากกวา 12 คูสาย ไมควรเกินกวาที่กําหนดในตารางที่ 3.6 สําหรับสายเคเบิลที่มีคูสาย 12 คูสายหรือนอยกวา ควร มีการลดทอนสัญญาณเฉลี่ยไมเกินรอยละ 110 ของคาที่กําหนดในตารางที่ 3.5 3.4.1.7 การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย (Crosstalk Loss) การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย ที่ปลายดานไกล (FEXT) และปลายดานใกล (NEXT) ควรเปนไปตามที่กําหนดในตารางที่ 3.5 3.4.1.8 ความตานทานของฉนวน ตัวนําหุมฉนวนของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ควรมีความตานทานของฉนวนมากกวาที่กําหนด ในตารางที่ 3.5 3.4.1.9 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับตัวนํา (Conduct to Conduct dc Proof) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองไมเสียสภาพฉับพลัน 3.4.1.10 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับชิลด (Conduct to Shield dc Proof) สายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองไมเสียสภาพฉับพลัน 3.4.1.11 ความตอเนื่องของชิลด (Shield Continuity) ชิลดของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองมีการนําไฟฟาไดอยางตอเนื่อง 3.4.1.12 ความตอเนื่องของตัวนํา (Conduct Continuity) แตละตัวนําในสายเคเบิลคูบิดตีเกลียวตองมีการนําไฟฟาไดอยางตอเนื่อง
  • 27. 25 ตารางที่ 3.5 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 1.1 – 1.10 รายละเอียด หนวย ขนาดตัวนํา(มิลลิเมตร) 0.4 0.5 0.65 0.9 1. ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา - ความตานทานไฟฟากระแสตรงสูงสุด Ω/km 144.4 90.2 57.1 28.5 2. ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนํา - ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงแตละคูสายสูงสุด - ความไมสมดุลของความตานทานไฟฟากระแสตรงเฉลี่ยสูงสุด % % 5.0 2.0 5.0 1.5 4.0 1.5 4.0 1.5 3. ความจุไฟฟารวม 3.1 กรณีมีคูสายนอยกวา 25 คูสาย - ความจุไฟฟารวมเฉลี่ย 3.2 กรณีมีคูสายตั้งแต 25 คูสายขึ้นไป - ความจุไฟฟารวมเฉลี่ย nF/km nF/km 52 ± 4 52 ± 2 52 ± 4 52 ± 2 52 ± 4 52 ± 2 52 ± 4 52 ± 2 4. ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสาย - ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับคูสายสูงสุด - คารากของกําลังสองเฉลี่ยของความไมสมดุลของความจุไฟฟา ระหวางคูสายกับคูสาย pF/km pF/km 145 45 145 45 145 45 145 45 5. ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดิน - ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินสูงสุด - ความไมสมดุลของความจุไฟฟาระหวางคูสายกับสายดินเฉลี่ยสูงสุด pF/km pF/km 2625 656 2625 656 2625 656 2625 656 6. การลดทอนสัญญาณที่ความถี่ 772 กิโลเฮิรตซ - การลดทอนสัญญาณเฉลี่ยสูงสุด dB/km 23.28 18.36 14.75 10.49 7. การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย 7.1 ปลายดานไกล ที่ความถี่ 150 กิโลเฮิรตซ - คารากกําลังสองเฉลี่ยของการสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวน ขามคูสายต่ําสุด - การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสายต่ําสุด 7.2 ปลายดานใกลที่ความถี่ 772 กิโลเฮิรตซ ผลตางระหวางคาเฉลี่ยกับคาเบี่ยงเบนมาตรฐานต่ําสุด - ขนาดยูนิตไมเกิน 13 คูสาย - ขนาดยูนิตเปน 18 และ 25 คูสาย - ขนาดยูนิตไมเกิน 13 คูสายคูสายแตละคูอยูติดกัน dB/km dB/km dB dB dB 67.8 57.8 56 60 65 67.8 57.8 56 60 65 67.8 57.8 56 60 65 67.8 57.8 56 60 65
  • 28. 26 ตารางที่ 3.5 คุณสมบัติทางไฟฟา ขอ 1.1 – 1.10 (ตอ) รายละเอียด หนวย ขนาดตัวนํา(มิลลิเมตร) 0.4 0.5 0.65 0.9 7. การสูญเสียเนื่องจากสัญญาณรบกวนขามคูสาย - ขนาดยูนิตไมเกิน 25 คูสาย คูสายแตละคูอยูติดกัน - ขนาดยูนิตใดๆ คูสายแตละคูไมอยูติดกัน dB dB 66 81 66 81 66 81 66 81 8. ความตานทานฉนวนต่ําสุด MΩ.km 1600 1600 1600 1600 9. ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับตัวนําต่ําสุด เมื่อ ทดสอบเปนเวลา 3 วินาที V 2000 2000 3500 3500 10. ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรงระหวางตัวนํากับชิลดต่ําสุด เมื่อ ทดสอบเปนเวลา 3 วินาที V 5000 5000 10000 10000 3.4.2 คุณสมบัติทางกล คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น สําหรับการติดตั้งในชอง เดินสาย แสดงไดดังแสดงในตารางที่ 3.6 3.5 สายดรอฟไวร ตัวนําทองแดง สําหรับการติดตั้งแบบแขวนในอากาศ 3.5.1 คุณสมบัติทางไฟฟา 3.5.1.1 ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําที่ 20°C ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําในสายดรอฟไวรควรเปนไปตามที่กําหนดไวใน ตารางที่ 3.7 3.5.1.2 ความตอเนื่องของตัวนํา แตละตัวนําในสายดรอฟไวรตองมีการนําไฟฟาอยางตอเนื่อง 3.5.1.3 ความตานทานของฉนวนที่ 20°C ตัวนําหุมฉนวนของสายดรอฟไวร ควรมีความตานทานของฉนวนไมนอยกวาที่กําหนดไวใน ตารางที่ 3.7 3.5.1.4 ความทนแรงดันไฟฟากระแสตรง (dc Proof) เมื่อทดสอบดวยแรงดันไฟฟาที่กําหนดในตารางที่ 3.7 สายดรอฟไวรตองไมเสียสภาพฉับพลัน 3.5.2 คุณสมบัติทางกล จากตารางที่ 3.8 แสดงคุณสมบัติทางกลของสายดรอฟไวร
  • 29. 27 ตารางที่ 3.6 คุณสมบัติทางกลของสายเคเบิลคูบิดตีเกลียว ที่แกนสายเคเบิลเติมสารกันชื้น ติดตั้งในชองเดินสาย รายละเอียด หนวย ฉนวน เปลือก พอลิเอทิลีน พอลิโพรพิลีน พอลิเอทิลีน ชนิดความ หนาแนนต่ํา น้ําหนัก โมเลกุลสูง พอลิเอทิลีนชนิด ความหนาแนน ปานกลาง 1. ความตานทานแรงดึงต่ําสุด 2. การยืดตัวต่ําสุด 3. การหดตัว - อุณหภูมิทดสอบ - เกณฑความคลาดเคลื่อน - ระยะเวลาที่ใชอบ - การหดตัวของฉนวนสูงสุด - การหดตัวของเปลือกสูงสุด 4. การเยื้องศูนยของเปลือกสูงสุด Kg/cm2 % °C °C h mm % % 1.5 300 115 ± 1 4 10 - - 126 300 130 ± 1 4 10 - - 119 400 100 ± 1 4 - 5 43 154 400 115 ± 1 4 - 5 43 ตารางที่ 3.7 คุณสมบัติทางไฟฟา รายละเอียด หนวย ขนาดตัวนํา (มิลลิเมตร) 0.65 0.9 1. ความตานทานไฟฟากระแสตรงของตัวนําสูงสุด 2. ความตานทานของฉนวนต่ําสุด 3. ความทนแรงดันไฟฟาต่ําสุด Ω/km MΩ.km V 57.1 400 1500 ac หรือ 4500 dc 28.5 400 1500 ac หรือ 4500 dc
  • 30. 28 ตารางที่ 3.8 คุณสมบัติทางกลของสายดรอฟไวร รายละเอียด หนวย คาที่ระบุ 1. กอนอบเรงอายุใชงาน 1.1 ความตานทานแรงดึงต่ําสุด 1.2 การยืดตัวต่ําสุด 2. หลังเรงอายุใชงาน 2.1 ความตานทานแรงดึงหลังเรงอายุใชงานเทียบกอนเรงอายุใชงาน 2.2 การยืดตัวหลังเรงอายุใชงานเทียบกอนเรงอายุใชงาน 3. การเปลี่ยนแปลงรูปขณะมีแรงกดที่อุณหภูมิสูงสุด 4. น้ําหนักของฉนวนที่ลดลงเนื่องจากความรอนสูงสุด Kg/mm2 % % % % % 1.41 1.50 80-120 75 25 10