SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาสาเหตุการตัดสินใจของผู้ปกครองชาวอาเภอแม่ออน
จังหวัดเชียงใหม่ ในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อสถานศึกษาในเขตอาเภอเมืองเชียงใหม่ โดยผู้ศึกษา
ได้รวบรวมเอกสาร หลักการ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
1. บริบทของอาเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
1.1 ประวัติความเป็นมา
1.2 ลักษณะทางกายภาพ
1.3 การปกครองและประชากร
1.4 สภาพเศรษฐกิจ
1.5 การศึกษา
2. การตัดสินใจ
2.1 ความหมายของการตัดสินใจ
2.2 ประเภทของการตัดสินใจ
2.3 ทฤษฎีการตัดสินใจ
2.4 กระบวนการตัดสินใจ
2.5 ขั้นตอนการตัดสินใจ
2.6 องค์ประกอบในการตัดสินใจ
2.7 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ
3. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บริบทของอาเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่
ประวัติความเป็นมา
ตามหลักฐานศิลาจารึกที่ค้นพบ ณ วัดเชียงแสน ตาบลออนใต้ อาเภอสันกาแพง
จังหวัดเชียงใหม่ สันนิษฐานว่าชาวอาเภอสันกาแพงอพยพมาจากพันนาภูเลา แขวงเมืองเชียงแสน
(ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเชียงราย) มาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้าแม่ออน นอกจากนั้น ยังเป็นที่น่าสังเกตว่า
ชาวบ้านในหลายท้องที่ของอาเภอสันกาแพง เป็นไทยยองและไทยลื้อ มีสาเนียงพูดคล้ายชาวบ้านใน
อาเภอเชียงแสน จึงเป็นข้อสันนิษฐานได้ว่า ชาวอาเภอสันกาแพง(แม่ออน) อพยพมาจากอาเภอเชียง
แสน จังหวัดเชียงราย
ต่อมา เมื่อมีความเจริญขึ้นจึงได้ รับการยกฐานะเป็นอาเภอ ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า
“แขวงแม่ออน” อยู่ในการปกครองของนครเชียงใหม่ จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2445 รัชสมัยของพระเจ้า
อินทวโรรส ได้เกิดกบฏเงี้ยวที่อาเภอแพร่ และที่แขวงแม่ออน มีชาวเงี้ยว 11 คน มีอาวุธครบมือบุก
ปล้นโรงกลั่นสุราที่บ้านปุาไผ่ ตาบลแช่ช้าง แล้วเผาที่ทาการแขวงแม่ออน เสียหายทั้งหลัง ประกอบกับ
แขวงแม่ออน มีอาณาเขตที่กว้างขวาง ท้องที่ตาบลอยู่ไกลจากอาเภอ เจ้าหน้าที่ออกตรวจตราดูแล
ทุกข์สุขของราษฎรไม่ทั่วถึง และสภาพท้องที่โดยทั่วไปเชื่อว่าจะเจริญต่อไปในภายหลัง ดังนั้น ในปี
พ.ศ. 2446 ทางการจึ งได้ย้ายที่ทาการแขวงแม่ออน มาปลูกสร้างขึ้นใหม่ที่บ้านสันกาแพง เรียกว่า
“อาเภอแม่ออน” และต่อมา ในปี พ.ศ.2460 ได้เปลี่ยนชื่อจาก “อาเภอแม่ออน” เป็น “อาเภอสัน
กาแพง”
ในปี พ.ศ.2537 กระทรวงมหาดไทย ได้ แ บ่ ง ท้ อ งที่ อ าเภอสั น ก าแพง จั ง หวั ด
เชียงใหม่

ตั้งเป็นกิ่งอาเภอเรียกชื่อว่า “กิ่งอาเภอแม่ออน” ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2537 และ

ได้รับการยกฐานะเป็น “อาเภอแม่ออน” ตามโครงการอาเภอเฉลิมพระเกียรติ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม
2550 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2550 (ที่ทาการปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า
1)
ลักษณะทางกายภาพ
อาเภอแม่ออน เป็นอาเภอลาดับที่ 23 ของจังหวัดเชียงใหม่ อยู่ห่างจากตัวเมือง
เชียงใหม่ไปทางทิศตะวันออก ตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1006 (เชียงใหม่–สันกาแพง–ออนหลวย)
คิดเป็นระยะทางประมาณ 27 กิโลเมตร และตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1317 ( เชียงใหม่–บ้าน
สหกรณ์ ) เป็นระยะทางยาวประมาณ 29 กิโลเมตร เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 492.83 ตารางกิโลเมตร
หรือคิดเป็นพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 30,2628.25 ไร่
ลักษณะภูมิประเทศของอาเภอแม่ออน มี ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบและพื้นที่
ภูเขา พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่ทางตอนกลางของอาเภอ และอยู่ในระดับความสูงประมาณ 300 เมตร
ลาดเอียงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในบริเวณลาแม่น้าออน ซึ่งประกอบไปด้วย ตาบลบ้านสหกรณ์
ตาบลออนเหนือ(บางส่วน) และตาบลออนกลาง พื้นที่ภูเขาอยู่บริเวณทางทิศเหนือ ตามทิวเขาเรียง
ขนานกันไปตามแนวทิศตะวันตก (ที่ทาการปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า
1)
การปกครองและประชากร
การปกครองแบ่งออกเป็น 6 ตาบล 49 หมู่บ้าน และองค์การบริหารส่วนตาบลทั้ง 6
แห่ง ได้แก่ ตาบลออนเหนือ ตาบลออนกลาง ตาบลบ้านสหกรณ์ ตาบลห้วยแก้ว ตาบลทาเหนือ
และตาบลแม่ทา และมีประชากรทั้งสิ้น 21,214 คน (สานักทะเบียนกลาง ณ วันที่ 31 สิงหาคม
2555 อ้างใน ที่ทาการปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า 3 )
สภาพเศรษฐกิจ
1. อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพด้านการเกษตรและปศุสัตว์ ได้แก่
การเลี้ยงโคนม โคเนื้อ กระบือ แพะ สุกร ไก่ไข่ การปลูกข้าวโพดฝักอ่อน ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ
การปลูกชา(เมี่ยง) กาแฟ และลาไย
2. พื้นที่การเกษตร มีพื้นที่ทั้งหมด จานวน 38,417 ไร่ แยกพื้นที่การปลูก ดังนี้
พื้นที่ทานา

8,618

ไร่

พื้นที่ทาสวน

17,897

ไร่
พื้นที่ทาไร่

11,447

ไร่

พื้นที่ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ

455

ไร่

38,417

ไร่

รวมทั้งสิ้น

3. พืชเศรษฐกิจที่สาคัญ เรียงตามลาดับพื้นที่เพาะปลูก ได้แก่
3.1 ข้าว

พื้นที่ปลูก

10,355 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 647 กิโลกรัม/ไร่

3.2 ชา

พื้นที่ปลูก

6,535 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 500 กิโลกรัม/ไร่

3.3 โพดฝักอ่อน พื้นที่ปลูก 2,843 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 1,200 กิ โ ลกรั ม /ไร่
3.4 ลาไย

พื้นที่ปลูก

1,402 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 570 กิโลกรัม/ไร่

3.5 มะม่วง พื้นที่ปลูก

1,319 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 700 กิโลกรัม/ไร่

3.6 ลิ้นจี่

พื้นที่ปลูก

200

ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 500 กิโลกรัม/ไร่

4. สหกรณ์และกลุ่มเลี้ยงโคนม จานวน 6 แห่ง ได้แก่
4.1 สหกรณ์การเกษตรหมู่บ้านสหกรณ์สันกาแพง จากัด มีทุนหมุนเวียนปีละ
ประมาณ 20,000,000 บาท
4.2 สหกรณ์โคนมอาเภอแม่ออน หมู่ที่ 2 ตาบลออนเหนือ มีจานวนโคนม
3,300 ตัว ปริมาณน้านมดิบ 18,000 กิโลกรัม/ วัน
4.3

สหกรณ์โคนมผาตั้งจากัด หมู่ที่ 9 ตาบลออนกลาง มีจานวนโคนม

1,993 ตัว ปริมาณน้านมดิบ 12,000 กิโลกรัม/ วัน
4.4

สหกรณ์โคนมปุาตึง (อาเภอแม่ออน) มีจานวนโคนม 494 ตัว ปริมาณ

น้านมดิบ 500 กิโลกรัม/ วัน
4.5 กลุ่มผู้เลี้ยงโคนม ออนหลวย (บริษัทเฟรชมิล ค์) หมู่ที่ 6 ตาบลออนเหนือ
มีจานวนโคนม 1,906 ตัว ปริมาณน้านมดิบ 6,500 กิโลกรัม/ วัน
4.6 กลุ่มผู้เลี้ยงโคนมแม่ทา (บริษัท ที.เค. แดริโกลด์ จากัด) มีจานวนโคนม
1,600 ตัว ปริมาณน้านมดิบ 3,800 กิโลกรัม/ วัน
5. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จานวน 5 แห่ง ได้แก่
5.1 โครงการหมู่ บ้า นสหกรณ์ สั น ก าแพง หมู่ ที่ 1-6 ต าบลบ้า นสหกรณ์ และ
โครงการพระราชดาริน้าพุร้อนสันกาแพง หมู่ที่ 7 ตาบลบ้านสหกรณ์
5.2 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ทาเหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลทาเหนือ
5.3 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงตีนตก หมู่ที่ 8 ตาบลห้วยแก้ว
5.4 ศูนย์ศิลปาชีพบ้านแม่ตะไคร้ หมู่ที่ 1 ตาบลทาเหนือ
5.5 โครงการธนาคารโคกระบืออันเนื่องมาจากพระราชดาริหมู่ที่1-7ตาบลแม่ทา
6. ด้านสถาบันการเงิน มีธนาคารจานวน 1 แห่ง คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณ์การเกษตร สาขาอาเภอแม่ออน จานวนลูกค้าเงินฝาก 8,756 บัญชี ลูกค้าเงินกู้ 64 กลุ่ม
จานวน 1,759 ราย จานวนสมาชิกจานาผลผลิตข้าวนาปรัง ( ธ.ก.ส.สาขาแม่ออน, 2555. อ้างใน ที่ทา
การปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า 4)
ตาบลออนเหนือ

สมาชิก 26 ราย จานวนเงิน 2,346,061 บาท

ตาบลออนกลาง

สมาชิก 60 ราย จานวนเงิน 5,591,156 บาท

ตาบลห้วยแก้ว

สมาชิก 6 ราย จานวนเงิน 186,700

ตาบลบ้านสหกรณ์

สมาชิก 4 ราย จานวนเงิน 564,273 บาท

ตาบลทาเหนือ

สมาชิก 1 ราย จานวนเงิน

บาท

33,393 บาท
7. รายได้เฉลี่ย ของประชากร จากข้อมูล จปฐ ปี พ.ศ. 2555 ภาพรวมอาเภอ
47,390 บาท/ คน /ปี โดยแยกเป็นภาพรวมตาบลตามลาดับ ดังนี้
ลาดับ

ตาบล

รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท)

1

ออนกลาง

72,453

2

บ้านสหกรณ์

69,755

3

ออนเหนือ

62,457

4

ห้วยแก้ว

61,614

5

แม่ทา

55,549

6

ทาเหนือ

41,163

รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีของคนในอาเภอ

60,495

การศึกษา
มีสถานศึกษา จานวน 13 แห่ง แบ่งเป็น ประเภทประถมศึกษา 8 แห่ง ประเภท
ขยายโอกาส 3 แห่ง ประเภทมัธยมศึกษา 1 แห่ง และวิทยาลัยเทคนิค 1 แห่ง
มีครูและอาจารย์ รวมจานวน 206 คน ศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์ จานวน 17 แห่ง มี
เด็กเล็ กจ านวน 250 คน ศูน ย์ บ ริ การการศึกษานอกระบบและการศึก ษาตามอัธ ยาศัย 1 แห่ ง
ห้องสมุดประชาชนประจาตาบล จานวน 6 แห่ง และที่อ่านหนังสือประจาหมู่บ้าน จานวน 30 แห่ง
(ที่ทาการปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า 6)
การตัดสินใจ
การตัดสิ นใจ จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้ทาการตัดสิ นใจประสบกับเหตุการณ์ที่มีความ
ขัดแย้งหรือเกิดปัญหาจึงต้องมีการสร้างทางเลือกตั้งแต่ 2 ทางขึ้นไป และจาเป็นต้องเลือกทางเลือกใด
ทางเลือกเพื่อผลประโยชน์ที่ดีที่สุด และการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับอนาคตจะเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก
เพราะเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นเรื่องที่ไม่แน่นอน ซึ่งไม่มีใครทราบว่าจะสอดคล้องกับ
ทางเลือกที่ได้ตัดสินใจเลือกไว้หรือไม่
ความหมายของการตัดสินใจ
การตัดสินใจนั้น เป็นคาตอบในการตัดสินปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างทางเลือกหลาย
ทาง โดยจะตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดเพียงทางเลือกเดียว หรือเหมาะสมที่สุดภายใต้สภาวการณ์
ที่แน่นอน แต่บางปัญหา ผู้ตัดสินใจอาจตัดสินใจอยู่ภายใต้สภาวะที่ไม่แน่นอน หรือความเสี่ยงที่ทาให้
การตัดสินใจเป็นไปได้ไม่ง่ายนัก โดยใช้ข้อมูลเท่าที่มีอยู่มาประกอบในการพิจารณา แต่อย่างไรก็ตาม
ไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจภายใต้เหตุการณ์ใด สุดท้าย ผู้ตัดสินใจจะต้องได้ทางเลือกที่คิดว่าเหมาะสม
ที่สุดสาหรับตนเอง ในความหมายของการตัดสินใจ มีผู้ให้ความหมายไว้มากมาย อาทิ
ราชบัณฑิตยสถาน (พจนานุกรมอิเลกทรอนิกส์ เมื่อ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2556) ได้ให้
ความหมายของคาว่า ตัดสินใจ ไว้ว่า หมายถึง ตกลงใจ นอกจากนี้ ยังมีนักการศึกษาของไทยและ
ต่างประเทศอีกหลายท่าน ได้ให้ความหายของการตัดสินใจไว้ดังนี้
วรรณา พรหมบุนย์ (2540, หน้า 41) ได้กล่าวถึงกระบวนการตัดสินใจไว้ว่า เป็น
การคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น คือ การตัดสินใจที่เหมาะสม ถูกต้องเป็นประโยชน์ต่อตนเองและ
ผู้อื่น การคิดเป็น การนาความคิดและการกระทามาสัมพันธ์กันเพื่อให้เกิดการปฏิบัติ คือ ตัดสินใจ
สถิตาภรณ์ วงศ์เขียว (2547, หน้า 4) ได้กล่าวว่า สถานการณ์ที่มีทางเลือกอยู่
หลายทาง โดยจะต้องมีการตัดสินใจเพื่อให้มีทางเลือกน้อยลง ซึ่งจะต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ การ
คิด การวิเคราะห์ การชั่งใจ เพื่อให้ได้มาซึ่งทางเลือกที่ดีที่สุด
ทิพย์วัลย์ สีจันทร์ และคณะ (2546, หน้า 99) ได้ให้ความหมายของการตัดสินใจไว้
ว่า หมายถึง การเลือกทางเลือกมาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา อาจกล่าวได้ว่าการจัดสินใจจะเกิด
ขึ้ น มาได้ ต้ อ งมี ท างเลื อ กหลายๆทางเกิ ด ขึ้ น ก่ อ น จากนั้ น จึ ง น าทางเลื อ กเหล่ า นั้ น มาพิ จ ารณา
เปรี ย บเที ย บกั น จนได้ ท างเลื อ กที่ เ หมาะสมที่สุ ด แล้ ว จึ ง นาทางเลื อ กนั้ น มาเป็น แนวทางในการ
แก้ปัญหาต่อไป
แพตเทอร์สัน (สิโรตม์ เสนาอาจ. 2547 ; อ้างอิงจาก Patterson. 1980 หน้า 107)
ได้ให้ความเห็นว่า การตัดสินใจหมายถึงการที่บุคคลเข้าไปสู่การเสี่ยงโดยมีการรวบรวมและประเมิน
ข้อมูล มีทางเลือกหลายทางและมีสิ่งประกอบอื่นๆ อย่างน้อย 2 ทางเลือก ซึ่งจะเป็นไปตามลาดับ
ขั้นตอนในอันที่จะเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกมาสาหรับปฏิบัติจริง
จากความหมายของการตั ดสิ นใจข้ างต้น ที่ได้ก ล่ าวมาแล้ ว พอสรุปว่ า ได้ว่า การ
ตัดสินใจ หมายถึง กระบวนการคิดเพื่อสร้างทางเลือกอย่างน้อย 2 ทางเลือก โดยใช้ความสามารถ
ทางการคิดในการพิจารณาเลือก เปรียบเทียบกัน อย่างเป็นเหตุ เป็นผล อันนาไปสู่การตัดสินใจในการ
เลือกทางเลือกที่เหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุด แล้วจึงนาทางเลือกนั้น ไปปฏิบัติ
ประเภทของการตัดสินใจ
กระบวนการตัดสินใจหมายถึง การตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลต่างๆ และข้อมูลที่เป็น
ข้อมูลทางสถิติจะแบ่งการตัดสินใจออกเป็น 2 ประเภท (วุฒิชัย จานงค์, 2533, หน้า 111) คือ
1. การตัดสิ นใจภายใต้สภาวการณ์ที่แน่นนอน (Decision Making Under
Certainly) เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจทราบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคตอย่างถูกต้องแน่นอน แต่
เลือกทางเลือกที่ดีที่สุดสาหรับเหตุการณ์นั้น และต้องหาทางเลือกที่ดีที่สุดภายใต้ข้อจากัดต่างๆของ
ปัญหานั้น ในกรณีมีข้อจากัดมาก สามารถวิเคราะห์ได้ด้ว ยวิธีอื่น เช่น แม่บ้านบางรายที่อยู่ไกลจาก
ตลาด อยู่ในซอยหรือในหมู่บ้านเล็กๆ ยังมีความคิดว่า การมีตู้เย็นเป็นสิ่งที่ฟุมเฟือย จึงต้องออกไป
ตลาดทุกวัน พนักงานขายคนหนึ่งเมื่อไปซักถามแม่บ้านแล้วได้ข้อมูลดังนี้ การไปตลาดทุกวันต้องเสีย
ค่ารถวันละ 20 บาท เดือนหนึ่ง 600 บาท คิดแล้วตกปีละ 7,200 บาท ซึ่งต้องเสียเวลาออกจากบ้าน
วันหนึ่งๆ เป็นชั่วโมง หรือซื้อสินค้าใกล้บ้านก็มีราคาแพงกว่าและอาจไม่ได้ของสด พนักงานขายคนนี้ก็
อธิบายให้แม่บ้านฟังว่า ถ้ามีตู้เย็นจะช่วยประหยัดเงินได้ และไม่ต้องเอาเงินสดมาซื้อตู้เย็น เพียงแต่เอา
ค่ารถเดือนละ 600 บาท มาผ่อนตู้เย็นแค่ปีเดียว ก็ได้ทุนคืนแล้ว ดีกว่าจะไปเสียเงินและเสียเวลานั่งรถ
โดยไม่ได้อะไรขึ้นมาเลย แม่บ้านคนนี้ก็ตัดสินใจซื้อตู้เย็น
2. การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน (Decision Making Under
Uncertainly) เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจไม่ทราบล่วงหน้าว่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
ที่เกิดขึ้นในอนาคตมากน้อยเพียงใด แต่พอจะมีข้อมูลที่ที่สามารถหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์
เหล่านั้นได้ ความน่าจะเป็นดังกล่าวอาจได้จากประสบการณ์ในอดีตหรือข้อมูลทางสถิติ
ความไม่แน่นอนคือการไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ไม่มี
ข้อมูลหรือความน่าจะเป็น ในการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ หรือไม่สามารถคาดเดาได้เกี่ยวกับอนาคต
วิธีการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์นี้มีดังต่อไปนี้
2.1 MaxiMax Criterion เป็นการตัดสินใจโดยเลือก สิ่งที่ดีที่สุดก่อนในแต่ละ
ทางเลือก(พิจารณาทีละทางเลือกโดยดูทุกเหตุการณ์ ) แล้วเลือกดีที่สุดของดีที่สุดอีกครั้งหนึ่ง (วิธีนี้ผู้
ตัดสินใจเลือกเฉพาะทางที่ดีที่สุดเท่านั้น) ผู้ที่ใช้วิธีนี้จัดเป็นผู้ที่มองโลกในแง่ดี
2.2 MaxiMin Criterion มีหลักในการตัดสินใจคือเลือกผลได้ที่น้อยที่สุดใน
แต่ละทางเลือกการณ์จากนั้นเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ผู้ที่ใช้วิธีนี้มักเป็นผู้ที่มองโลกในแง่ร้ายและไม่
ค่อยกล้าเสี่ยง
2.3 Minimax Regret Criterion เป็นวิธีที่ใช้หลักค่าเสียโอกาส คือต้องสร้าง
ตารางค่าเสียโอกาสขึ้นมาก่อน จากนั้นเลือกค่าเสียโอกาสสูงสุดในแต่ละทางเลือกแล้วก็เลือกทางเลือก
ที่มีค่าเสียโอกาสน้อยที่สุด
การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน จะต้องพิจารณาถึงผลตอบแทนหรือ
ผลจากการศูนย์เสียที่เกิดจากการเลือกภายใต้สภาวะหนึ่งๆ แล้วใช้ความน่าจะเป็นของแต่ละสภาวะ ผู้
ตัดสินใจจะเลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนเฉลี่ยสูงสุด หรือการสูญเสียเฉลี่ยต่าสุด ตัวอย่างเช่น คุณ
กฤษณะ กฤตมโรถ อาชีพขายประกันชีวิต เขานัดลูกค้าว่าจะไปพบแต่พ อถึงเวลานัดฝนเกิดตกลงมา
อย่างหนัก ในใจตอนนั้นเขาคิดอยู่สองอย่างคือ “ไปหรือไม่ไป” ไปเพราะนัดลูกค้าไว้แล้วจะเสียคาพูด
ไม่ได้ หรือไม่ไปเพราะฝนตกหนักมากอาจต้องเสี่ยงกับการไม่สบาย ไม่คุ้มกัน ความคิดทั้งสองนั้ นหัก
ร้างกัน อย่างแรง ในที่สุ ดก็ตัดสิ นใจไป เขารีบหาถุงพลาสติกมาหนึ่งใบ เอาแฟูมที่มีใบสมัครขอทา
ประกันชีวิตและของคนอื่นๆที่ต้องใช้ร่วมกันลงในถุงแล้วเอาเชือกรัดไว้ท้ายรถมอเตอร์ไซต์แล้วขับรถ
ออกไป พอถึงบริษัทลูกค้าก็เปียกไปทั้งตัวเหมือนลูกนกเปียกน้า ยกเว้นสองอย่างที่ไม่เปียก คือใบ
สมัครทาประกันชีวิตและหั วใจของเขา บ้านลูกค้าเป็นบริษัทท่องเที่ยวติดแอร์และปูพรมทั้งออฟฟิศ
ตอนนั้นรู้สึกหนาวมาก ทาให้วันนั้นเขาเสนอการขายไม่รู้เรื่อง แต่ในที่สุดลูกค้าตกลงซื้อประกันกับเขา
ตัวเขาเองรู้สึกงงเหมือนกันว่า ขายมาได้อย่างไร วันรุ่งขึ้นเขาส่งมอบกรรมธรรม์และตั้งใจถามลูกค้า ว่า
ทาไมจึงซื้อ แต่พอไปถึง ยังไม่ทันไดทาอะไร ลูกค้าก็บอกให้เขาอธิบายเสนอการขายใหม่เนื่องจากเมื่อ
วานเขาฟังไม่รู้เรื่องและไม่ได้ตั้งใจฟัง แต่สาเหตุที่เขาซื้อประกันเพราะเขาเห็นว่า คุณกฤษณะมีความ
ตั้งใจ ขนาดฝนตกหนักยังอุตสาห์มาขาย แสดงว่าคุณกฤษณะชนะใจตนเองตั้งแต่ ตอนฝนตกแล้ว เขา
เคยพูดเสมอว่าก่อนการเอาชนะอะไรต้องชนะใจตนเองให้ได้ก่อน ตอนนั้นทาให้เขาขายอะไรก็ขายได้
หมด
การตัดสินใจ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือการตัดสินใจในสภาวการณ์ที่แน่นอนและการ
ตัดสินใจในสภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน ซึ่งในบางตาราอาจเพิ่มเรื่องการตัดสินใจในสภาวการณ์เ สี่ยง แต่
อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจนั้นถือเป็นการบริหารความเสี่ยงอย่างหนึ่ง ซึ่งเราจะไม่สามารถทราบได้เลย
ว่าผลที่จะเกิดมานั้น จะออกมาเช่นไร แต่เราสามารถที่จะคาดคะเนผลที่จะเกิดได้หากมีข้อมูลและ
วิเคราะห์เลือกทางที่เหมาะสมที่สุด
ทฤษฎีการตัดสินใจ
เฮอร์เบิร์ต เอ.ไซมอน (Herbert A. Simon) คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งทฤษฎีการ
ตัดสินใจได้กล่าวว่า “การบริห ารก็คือการตัดสินใจนั่นเอง” ทั้งนี้เนื่องจากว่าคนที่เป็นผู้บริหาร
จะต้องเผชิญกับภาวะที่จะต้องตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งจากทางเลือกหลาย ๆ ทางที่มี
อยู่ ไม่ว่าจะเป็นทางเลือกในการกาหนดแผนในการทางาน หรือว่าทางเลือกในการแก้ไขปัญหาถ้านัก
บริหารสามารถที่จะเลือกทางเลือกที่ดีมีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาได้ ก็จะสามารถทาให้งาน
บรรลุเปูาหมายได้ ถ้าเลือกทางเลือกที่ไม่ดีมา ก็ทาให้การทางานล้มเหลว ดังนั้นในลักษณะ การ
ตัดสินใจเพื่อให้ได้ทางเลือกที่ดีจะต้องมีขั้นตอนของการตัดสินใจที่สาคัญอยู่ 4 ขั้นตอน ดังนี้ คือ
(ธงชัย สันติวงษ์, 2542, หน้า 196)
1. การพิจารณาถึงตัวปัญหา ในขั้นตอนแรกนี้ก็คือ นักบริหารที่เป็นผู้ที่ทาหน้าที่ใน
การตัดสินใจ จะต้องสามารถระบุให้ทราบสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาที่เกิดขึ้นให้ได้เสียก่อน ในขั้นตอนนี้
เหมือนกับการที่หมอทาการวินิจฉัยโรค ถ้าหมอวินิจฉัยโรคได้ถูกก็จะทาให้กระบวนการรักษาที่ตามมา
ได้ผล แต่ถ้าวินิจฉัยโรคผิดกระบวนการรักษาโรคที่ตามมาก็จะผิดไปด้วย ทาให้การรักษาโรคล้มเหลว
2. การพิจารณาค้นหาทางเลือก ทางเลือกในการแก้ปัญหาอาจจะมีหลายทาง มีกี่
ทางเลือก เราจะต้องนามาพิจารณาให้หมดเพราะจะทาให้เรามีทางเลือกที่หลากหลายขึ้น
3. การประเมินผลทางเลือก คือการทาการพิจารณาทางเลือกแต่ละทางว่ามีข้อดี
อย่างไรบ้าง ข้อเสียอย่างไรบ้าง ในขั้นตอนของการประเมินผลทางเลือก ถ้าจะให้ดีควรที่จะมีการ
นาเอาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาช่วยในการประเมินผลทางเลือกด้วย เพราะจะทาให้การ
ตัดสินใจเลือกทางเลือกทาได้ง่ายขึ้น
4. การตัดสินใจเลือกทางเลือกและการนาทางเลือกไปปฏิบัติ เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด
และนาไปปฏิบัติเพื่อที่จะแก้ไขปัญหา แล้วตรวจสอบประสิทธิผลของการนาทางเลือกนั้นไปปฏิบัติ
จากข้อมูลย้อนกลับ ของกระบวนการในการตัดสินใจ
พิจารณา
ถึงตัวปัญหา

การค้นหา
ทางเลือก

การประเมิน
ผลทางเลือก

การตัดสินใจเลือก
ทางเลือก และการนา
ทางเลือกไปปฏิบัติ

ข้อมูลย้อนกลับจาก
การประเมินผล

ภาพที่ 1.1 แสดงขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการตัดสินใจตามแนวคิดของ เฮอร์เบิร์ต เอ.ไซมอน
ที่มา (ธงชัย สันติวงษ์, 2542, หน้า 197)
สุรวัฒน์ ชมพูพงษ์ (คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2547.) ได้กล่าวถึง
การตัดสินใจคือ การเลือกระหว่างทางเลือกต่าง ๆและปฏิบัติไปตามนั้น แสดงว่า

มีทางเลือก

มากกว่าหนึ่งทาง ถ้าไม่มีทางเลือกเลยก็ต้องตัดสินใจจะเลือกได้อย่างไร เพราะเลือกไม่ได้แล้ว ถ้า
แปลว่าต้องตัดสินใจแสดงว่า ไม่ ต้องมีทางเลือกแล้วเราจะเลือกอย่างไร การเลือกจะต้องมีข้อมูล
แล้วใช้อะไรบ้างที่เป็นตัวตัดสินเพื่อที่จะได้ปฏิบัติไปตามนั้นนี้คือตัวทางเลือก โดยได้ให้สถานการณ์ที่
ต้องมีการตัดสินใจไว้ดังนี้
1. มีทางเลือก
2. มีจุดมุ่งหมายในการเลือก
3. ใช้กระบวนการคิดพินิจพิจารณาในการเลือก ไม่ใช่เป็นไปตามอารมณ์ ความ
พอใจหรือยถากรรม
4. มุ่งผลที่เกิดขึ้นในอนาคต
5. เป็นสถานการณ์ที่มีทั้งความแน่นอน ความเสี่ยง ความไม่แน่นอน
กระบวนการตัดสินใจ
กระบวนการตัดสินใจ (Decision Making Process ) คือการกาหนดขั้นตอนในการ
ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์กรอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ Herbert
Simon ได้แบ่งระยะของการตัดสินใจเป็น 3 ขั้นตอน (ชาญชัย อาจินสมาจาร, 2551, หน้า 71-89 )
ดังนี้
1. กิจกรรมการคิด (Intelligent) คือการหาโอกาสเพื่อการตัดสินใจการหาเหตุผล
ของปัญหา
2. กิจกรรมการออกแบบ (Design) คือการระบุ พัฒนา และวิเคราะห์แนวทางการ
กระทาที่เป็นไปได้ เป็นขั้นตอนการสร้างและวิเคราะห์ทางเลือกในการตัดสินใจ โดยทางเลือกที่สร้าง
ขึ้นต้องเป็นทางเลือกที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหาให้ได้ประโยชน์สูงสุด
3. กิจกรรมทางเลือก (Choice) คือการคัดเลือกแนวทางการดาเนินการจากแนว
ทางการดาเนิ น การที่มี อยู่ ประเมินทางเลื อ กต่า งๆที่ไ ด้จากการออกแบบและคัดเลื อกให้ เหลื อ
ทางเลือกเดียว ที่จะนาไปใช้จริงในการแก้ปัญหา
แนวคิดนี้ ต่อมา George Huber ได้นามารวบรวมเข้ากับกระบวนการแก้ไขปัญหา
จึงทาให้การตัดสินใจและกระบวนการแก้ไขปัญหามีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ที่เพิ่มมาภายหลัง คือ
4. การนาไปใช้ (Implementation)
5. การติดตามผล (Monitering)
จานง พรายแย้มแข (2534, หน้า 25-26) ได้กล่าวว่า ในการตัดสินใจของคนเรา
แต่ละครั้งไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กหรือเรืองใหญ่ก็ตาม จะต้องเป็นไปตามกระบวนการอย่างเดียวกันทั้งสิ้น
เว้นแต่จะใช้เวลามากน้อยต่างกัน ในบางขั้นตอนเท่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับทักษะความสามารถของแต่ละ
บุคคลเป็นสาคัญ
เมื่อบุ คคลเผชิญกับสถานการณ์ที่ จะต้องแก้ปัญหาโดยฉั บพลั นทันทีหรือไม่ก็ตาม
ขั้นตอนสาคัญก่อนเริ่มเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจก็คือ บุคคลนั้นจะต้องมีสติสัมปชัญญะที่มั่นคง ไม่ตื่น
ตระหนกต่อเหตุการณ์ที่เผชิญอยู่ และพร้อมกันนั้นจะต้องขจัดอคติหรือความลาเอียงออกจากจิตใจให้
หมดเสียก่อน แล้วจึงเริ่มปฏิบัติไปตามขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ซึ่งบ่อยครั้งทีเดียวที่เราเห็นบุคคลบางคนชอบทาเรื่องเล็กให้เป็นเรื่องใหญ่ หรือทาเรื่องง่ายให้เป็นเรื่อง
ยากเพราะขาดสติ และมีอคติขณะตัดสินใจแก้ปัญหานั้นๆ
จึงกล่าวได้ว่า ก่อนที่จะตัดสินใจแก้ปัญหาใดๆ จะต้องมีสติสัมปชัญญะและปราศจาก
อคติ จึงทาให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดน้อยที่สุด และแก้ปัญหาได้ดีที่สุด
รศนา อัชชะกิจ (2537, หน้า 97-98) ได้กล่าวถึงกระบวนการตัดสินใจอย่างมี
ประสิ ทธิภ าพ ซึ่ งขั้น ตอนที่นิ ย มปฏิบัติในกระบวนการตัดสิ นใจมี ห ลายรูปแบบ จะแตกต่างเพีย ง
รายละเอียดปลีกย่อย ตัวอย่างเช่น
รูปแบบที่ 1
กระบวนการตัดสินใจประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. กาหนดวัตถุประสงค์หรือเปูาหมายของการตัดสินใจอย่างชัดเจน
2. กาหนดทางเลือกเพื่อพิจารณาตัดสินใจ
3. ตรวจหาเพื่อหลีกเลี่ยงหรือยอมจานนต่อข้อจากัด
4. ดาเนินการวิเคราะห์การตัดสินใจ
5. ตัดสินใจโดยยึดวัตถุประสงค์
รูปแบบที่ 2
เมื่อการตัดสินใจ ความซับซ้อนยุ่งยากมาเท่าใด การดาเนินงานแต่ละขั้นตอน
จะเพิ่มความสาคัญมากเป็น เงาตาม แล้วกระบวนการสาหรับรูปแบบที่สองจึงมุ่งความสนใจไปยัง
หลักการพื้นฐานที่สาคัญ 3 ขั้นตอน ดังนี้
1. กาหนดวัตถุประสงค์
2. กาหนดทางเลือกของการตัดสินใจ
3. พิจารณาความเสี่ยงที่มีโอกาสเป็นไปได้
รูปแบบที่ 3
กระบวนการตัดสินใจ สาหรับรูปแบบที่สามมีแนวทางค่อนข้างคล้ายคลึงกับ
รูปแบบที่สอง แต่แจกแจงขั้นตอนละเอียดกว่า มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้
1. กาหนดวัตถุประสงค์
2. ระบุคุณลักษณะของสิ่งที่พึง ประสงค์ หรือเปูาหมาย โดยจาแนกความ
แตกต่างเป็น 2 ประการ ดังนี้
2.1 คุณลักษณะที่จาเป็น “ต้องได้”
2.2 คุณลั กษณะที่เพียงแต่ “ต้องการ” ถ้าได้ก็ดี แต่ก็ไม่เน้นมาก
เท่ากับลักษณะแรก
3. พิจ ารณากลั่ น กรอง คั ดแยกเพราะทางเลื อ กที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะที่จ าเป็ น
“ต้องได้”
4. นาคุณลักษณะที่ “ต้องการ” เฉพาะเป็นพิเศษของทางเลือก ซึ่งคัดแยกใน
ขั้นตอนข้อที่สาม ปรับเปลี่ยนให้เป็นค่าที่ประเมินด้วยตัวเลข 1 – 10
5. นาทางเลือกทั้งหมดที่ผ่านการประเมินค่าคุณลักษณะ “ต้องได้” และ
“ต้องการ” มาพิจารณาข้อเสียของแต่ละทางเลือกอีกครั้ง ด้วยวิธีปรับตัวเลขเช่นเดียวกับขั้ นที่ 4 ใน
กรณีนี้ ถ้าทางเลือกใดได้คะแนนสูงมากแสดงว่ามีข้อเสียมาก
วรรณา พรหมบุนย์ (2540, หน้า 41) ได้กล่าวถึงกระบวนการตัดสินใจว่า เป็นการ
คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น คือการตัดสินใจที่เหมาะสม ถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น
การคิดเป็น การน าความคิด และการกระทามาสั มพันธ์กันเพื่อให้เกิดการปฏิบั ติ คือการตัดสิ นใจ
กระทาการที่จะนาความคิด และการกระทาให้สัมพันธ์กัน จะต้องฝึกตั้งแต่ขั้นตอนการคิดหาเหตุผล
เลือก การรู้สึกซาบซึ้งกับสิ่งดีงามที่กระทา และการลงมือกระทา ถ้าศึกษารูปแบบ จะได้ดังนี้
1. การคิดเป็น ทาเป็น แก้ปญหาเป็น คือการตัดสินใจ
ั
2. การตัดสินใจ คือการนาความคิดและการกระทามาสัมพันธ์กัน เพื่อเกิดการ
กระทา
3. การนาความคิดและการกระทามาสัมพันธ์กัน คือ การศึกษาค่านิยม
4. ค่านิยม คือสิ่งที่เรายึดถือเป็นแนวทางในการเลือกตัดสินใจ
5. สิ่งที่เรายึดถือแนวทางในการเลือกตัดสินใจ จะต้องศึกษากระบวนการดังนี้
5.1 สารวจและเลือก คือ หาเหตุ ผล
5.2 นิยม มองพวก ประกาศยืนยัน
5.3 แสดง และทาซ้าจนเป็นนิสัยที่เรียกว่า ขั้นในการพิจารณาสร้างเสริม
ค่านิยม
สรุปได้ว่า กระบวนการตัดสินใจนั้ น คือกระบวนการคิดเพื่อ สร้างทางเลือกขึ้นมา
หลายทางในสถานการณ์หนึ่งๆ แล้วพิจารณาไตร่ตรองถึงปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
อย่างมีเหตุผล มีขั้นตอน จนถึงการนาเทคนิคต่างๆเข้ามาใช้ในการลดจานวนทางเลือกให้เหลือน้อยลง
จนเหลือเพียงทางเลือกเดียวที่ผู้ตัดสินใจเห็นว่าเป็นประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตนเองและผู้อื่น จึงทาการ
ตัดสินใจเลือกทางเลือกและนาทางเลือกนั้นไปปฏิบัติจริง อาจกล่าวได้ว่า กระบวนการตัดสินใจคื อการ
คิดเพื่อหาทางเลือกในการแก้ปัญหา และนาทางเลือกนั้นมาปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของงาน
นั้นๆ
ขั้นตอนการตัดสินใจ (Step in Decision Making)
จากกระบวนการตัดสินใจที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น พบว่าการตัดสินใจอะไรบางอย่างใน
แต่ล ะครั้งนั้ น ต้องเป็ นไปตามล าดับขั้นตอน ซึ่งได้มีนักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้เสนอแนวคิด
ขั้นตอนการตัดสินใจไว้ดังนี้
วุฒิชัย จานง (2523, หน้า 4-7) ได้กล่าวว่า ธรรมชาติของการตัดสินใจนั้น ตาม
ความหมายของ Herbert A. Simon เป็นลาดับขั้นตอน 3 ประการในการที่จะเลือกทางใดทางหนึ่ง
ขึ้นมา และก็มักจะเข้าใจว่า ทางที่เลือกขึ้นมานั้นเป็นทั้งหมดของการตัดสินใจ และอาจคิดตอไปว่า ไม่
ว่าการตัดสินไม่ว่าการตัดสินใจเรื่องอะไร จะรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม ผู้จะทาการตัดสินใจนั้นต้องผ่านขั้นตอน
ต่างๆของการตัดสินใจ ซึ่งสิ่งที่ Simon ได้เสนอมานั้น สอดคล้องกับแนวความคิดของ Frederic W.
Taylor เกี่ยวกับการจัดการตามแนววิทยาศาสตร์ ว่าจริงๆแล้วขั้นตอนที่ Taylor เสนอมานั้น เป็น
ขั้นตอนของแก้ปัญหา ซึ่งแน่นอนว่าการตัดสินใจก็เป็นการแก้ปัญหาอย่างหนึ่งนั่นเอง จึงแบ่งขั้นตอน
ต่างๆออกได้เป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. การแยกแยะปัญหา (Problem Identification ) คือการค้นหาข้อเท็จจริง
ในตัวปัญหา เมื่อเรารู้ตัวปัญหาที่แท้จริงก็เท่ากับการแก้ปัญหาได้ครึ่งหนึ่งแล้ว
2. การหาข่ า วสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ตั ว ปั ญ หานั้ น (Information

Search)

กล่าวคือการหาสิ่งที่เป็นสาเหตุโดยสืบจากข่าวสารต่างๆให้ครอบคลุม ซึ่งข่าวสารนั้นต้องเกี่ยวข้องและ
จาเป็น ตลอดจนเพียงพอในการแก้ปัญหานั้นได้มากที่สุด
3. การประเมินข่าวสาร (Evaluation of Information) จาเป็นต้องมีการ
ประเมินดูว่าข่าวสารที่ได้มานั้น ถูกต้อง เพียงพอ ตรงกับเวลาและเหมาะสม สามารถนาไปวิเคราะห์ใน
การแก้ปัญหาได้หรือไม่ หากข่าวสารใดเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องเท่าที่ควร ก็จาเป็นต้องตัดออก
4. การกาหนดทางเลือก (Listing of Alternatives) เป็นการพยายาม
ครอบคลุมทุกวิถีทางเพื่อจะแก้ปัญหาให้ไดในหลายๆวิธี ซึ่งในการกาหนดทางเลือกหลายๆทางนั้น
ทางเลือกทุกทางอาจจะมีความจาเป็นและสาคัญในการช่วยเราแก้ปัญหาในระดับที่ต่างกัน โดยการ
ลาดับความสาคัญของการแก้ปัญหา เพื่อที่จะสรุปในการที่จะเลือกในขั้นตอนต่อไป
5. การเลือกทางเลือก (Selection of Alternatives) เป็นการเลือกทางเลือก
ที่จะปฏิบัติการต่อไป ซึ่งขั้นตอนนี้เป็นที่ยอมรับการอย่างทั่วไปว่าเป็นการตัดสินใจอย่างแท้จริง แต่ยัง
ไม่สมบูรณ์ เพราะเหตุที่ว่าจาเป็นต้องมีขั้นจอนอีกขั้นหนึ่งที่จะสร้างความสมบูรณ์ให้กับการตัดสินใจ
6. การปฏิบัติตามการตัดสินใจ (Implement of Decision) เป็นการปฏิบัติ
ตามผลของการตัดสินใจ ซึ่งเราจะทราบได้ว่าการตัดสินใจนั้น ถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับผล
ของการตัดสินใจนั้นที่นามาปฏิบัติแล้ว สามารถแก้ปัญหาที่ได้แยกแยะไว้ในขั้นตอนแรกหรือไม่
ทิพวัลย์ สีจันทร์ (2546, หน้า 101) ได้กล่าวว่าขั้นตอนการตัดสินใจมี 6 ขั้นตอน
ได้แก่
1. การหาข้อ มูล และวิเ คราะห์ ข้อ มูล ได้แ ก่ก ารรวบรวมข่ าวสารต่า งๆจาก
สภาพแวดล้อม หรือปัญหาที่เกี่ยวข้อง
2. คาดคะเนผลที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต ซึ่ ง จะต้ อ งก าหนดกฎเกณฑ์ ใ นการ
ตัดสินใจด้วย
3. การพิจารณาแนวทางหรือเปรียบเทียบเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเพื่อนาไป
ปฏิบัติ
4. เลือกทางปฏิบัติทางใดทางหนึ่ง โดยเลือกทางที่จะเกิดประโยชน์สูงสุด
5. ตัดสินใจสั่งการให้ปฏิบัติวินิจฉัยเปรียบเทียบเพื่อจัดลาดับความสาคัญของ
ทางเลือกต่างๆ ภายใต้เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินแต่ละเกณฑ์
6. พิจารณาเลือกที่ดีที่สุด และวัดผลการปฏิบัติโดยนาไปเปรียบเทียบกับการ
คาดคะเนที่ตั้งไว้ตั้งแต่ต้น
สุรวัฒน์ ชมพูพงษ์ (คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2547.) ได้บรรยาย
ถึงขั้นตอนของตัดสินใจว่า มีด้วยกันทั้งหมด 5 ขั้นตอนได้แก่
1. การกาหนดปัญหา
2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหา
3. การพิจารณาและกาหนดทางเลือก
4. การประเมินและวิเคราะห์ผลของทางเลือกและข้อจากัดต่าง ๆ
5. การตัดสินใจโดยยึดจุด
วิทยา ดารงเกียรติศักดิ์ (2542, หน้า 50-52) กล่าวว่า การที่บุคคลจะตัดสินใจ
ยอมรับสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้น จะต้องมีขั้นตอน และต้องใช้เวลา โดยมีขั้นตอนในการตัดสินใจ ดังนี้
1. ขั้นรับรู้ (awareness) เป็นขั้นแรกของกระบวนการตัดสินใจ เนื่องจากผู้รับ
สารได้รับรู้เรื่องใหม่ๆเป็นครั้งแรก ทั้งนี้ผู้รับสารจะมีความคิดอย่างกว้างๆ และรู้อย่างเล็กน้อยในเรื่อง
คุณสมบัติ แต่หากเขาสนใจ เขาจะพยายามเรียนรู้มากขึ้น
2. ขั้นสนใจ (interest) เป็นขั้นที่ผู้รับสารพัฒนาความสนใจขึ้นมา และพยายาม
หาข้อมูลรายละเอียด เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม
3. ขั้นประเมินผล (evaluation) ขั้นนี้เป็นการประเมินค่าของข้อมูลข่าวสารที่
ได้รับมาเพื่อนามาใช้ในการประเมินทางเลือกในการตัดสินใจ โดยอาจใช้ประสบการณ์ในอดีตผสมกับ
ทัศนคติที่เกิดจากการยอมรับข่าวสาร
4. ขั้น ตัดสิน ใจ (decision) หลั งจากผ่ านการประเมินทางเลื อกแล้ว ผู้รับสาร
จะต้องเลือกทางเลือกที่คิดว่าดีที่สุด
จากกระบวนการในการตัดสินใจของทุกท่านที่กล่าวมา ในทรรศนะของผู้วิจัยเห็นว่า
กระบวนการตัดสินใจ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่
1. การกาหนดปัญหา
2. การศึกษาสภาพแวดล้อมและรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง
3. การพิจารณากาหนดทางเลือก
4. การวิเคราะห์ ประเมินผลทางเลือก และลาดับความสาคัญ
5. การตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุด
6. การปฏิบัติตามทางเลือกที่เราได้ตัดสินใจเลือก
การแก้ปัญหาและการตัดสินใจนั้นเป็นของควบคู่กัน เมื่อใดที่เกิดปัญหา การสร้าง
ทางเลือกเพื่อตัดสินใจใจการแก้ปัญหานั้นๆย่อมตามมา เราเห็นได้ว่า ไม่ว่าเราจะเลือกทางเลือกใดๆก็
ตามที่เราสร้างขึ้นมานั้น ล้วนแต่ผ่านขั้นตอน กระบวนการในการสร้าง และลดทอนทางเลือกลงจนให้
เหลือทางเลือกที่ดีที่สุดเพียงทางเลือกเดียวทั้งนั้น ซึ่งในแต่ละปัญหาหรือข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น เราไม่
สามารถบอกได้ว่า กระบวนการตัดสินใจในรูปแบบของใครดีที่สุด ซึ่งผู้ตัดสินใจต้องนาไปประยุกต์ใช้
เองให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ เราจะรู้ว่าทางเลือกที่เราเลือกนั้นดีเยี่ยมแค่ไหน ก็ต่อเมื่อเราได้ลงมือ
ปฏิบัติ
องค์ประกอบในการตัดสินใจ
การตัดสินใจใดๆก็ตาม ต้องอาศัยหลักการของการมีเหตุ มีผล ซึ่งในการตัดสินใจ
หนึ่งๆ จะส่งผลออกมาในลักษณะ 2 ด้าน นั่นคือ ประสบความสาเร็จ หรือล้มเหลว ซึ่งองค์ประกอบ
หลายอย่างที่มีผลต่อการตัดสินใจ (ยุดา รักไทย, 2544 อ้างใน ทิพย์วัลย์ สีจันทร์, 2546 หน้า 107 111) มีดังนี้
1. ลักษณะการตัดสินใจ
2. เชาวน์อารมณ์
3. อคติทางการรับรู้
4. ผลกระทบทางการเมือง
1. ลักษณะการตัดสินใจ มีลักษณะที่สาคัญ 3 ประการ ดังนี้
1.1 คุณภาพ (Quality) หมายถึง การตัดสินใจที่ทาให้ได้รับโอกาสโดยการใช้
ทรัพยากรที่มีอย่างเหมาะสมและคุ้มค่า เพื่อให้เกิดการตัดสินใจที่ได้ประโยชน์สูงสุด
1.2 ความเร็ว (Speed) การตัดสินใจด้วยความรวดเร็วทันต่อสถานการณ์
1.3 พันธะหน้าที่ (Mission) กล่าวคือ ต้องทาหน้าที่ของตนเองให้สาเร็จลุล่วง
ซึ่งนอกจากจะรับผิดชอบในหน้าที่ของเราแล้ว เราต้องพยายามให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน
ด้วย และยอมรับหน้าที่ด้วยความเต็มใจ
2. เชาว์อารมณ์ (EQ) หมายถึง ความฉลาดทางอารมณ์เป็นความสามารถในการ
รับรู้และเข้าใจอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น ตลอดจนสามารถควบคุมได้อย่างเหมาะสมกับสภาพการณ์
ดังนั้น การตัดสินใจทุกอย่าง ต้องได้รับอิทธิพลจากอารมณ์เสมอ ไม่มากก็น้อย แต่ผลกระทบจาก
อารมณ์จะเกิดผลร้าย ก็ต่อเมื่อความถูกต้องถูกบดบัง เช่น การหมกม่นกับเปูาหมายมากเกินไป การ
ท้ อ แท้ ท าให้ ค วามมั่ น ในลดลง หรื อ ความลิ ง โลด ก็ เ ป็ น อั น ตรายพอๆกั บ ความท้ อ แท้ เป็ น ต้ น
เพราะฉะนั้น เราจึงควรหลีกเลี่ยงการทาพันธะหน้าที่ ข้อตกลงใดๆ เมื่อใจเราผิดปกติ ก่อนตัดสินใจ
อะไร ควรทาใจให้ปกติ พิจารณาให้รอบครอบเสียก่อน
3. อคติทางการรับรู้ หมายถึง การที่เรานาเอาความคิดของเรามาเป็นหลัก มีความ
เชื่อและสนั บ สนุ น ในความคิดของตนเองมากกว่าข้อที่ขัดแย้ง และพยายามหาข้อ มูล ที่ส นับสนั น
ความคิดของตนเอง อีกทั้งยังหลีกเลี่ยงข้อมูลที่มีความขัดแย้งกับความคิดของตนเอง ซึ่งอคติต่อการ
รับรู้นี้ สามารถทาให้เราบิดเบือนความจริงได้ ถึงแม้เราจะรับข้อมูลที่เป็นลบ เราก็ยังดื้อรั้นตัดสินใจ
แบบนั้น ถ้าทาให้เราเชื่อว่าปัญหานั้นเป็นเรื่องชั่วคราว เปูาหมายอยู่ไม่ไกล ปัญหานี้มาจากอิทธิพล
ภายนอก
4. ผลกระทบทางการเมือง ซึ่งการเมือง มีปรากฏอยู่ในทุกแห่ง เราคงเคยได้ยิน
คาพูดว่า “ผู้หญิงคนนี้เป็นเด็กของหัวหน้ากอง เลยก้าวเร็วกว่าใคร” หรือ “เขาเส้นใหญ่ออกจะตาย
ไป” คากล่าวเหล่านี้ล้วนเป็นลักษณะทางการเมืองที่มีผลต่อการตัดสินใจ ว่าใครจะได้รับรางวัลอะไร
ตาแหน่งใด ซึ่งธรรมชาติทางการเมือง โดยทั่วไปมีลักษณะดังนี้
4.1 มีความขัดแย้ง
4.2 มีความหลากหลาย ทั้งเปูาหมาย ทัศนคติ ที่ต่างกันออกไป และความ
หลากหลายนี้มักมาพร้อมกับความไม่เสมอภาคในด้านต่างๆ เช่นอานาจ ผลประโยชน์ เป็นต้น
4.3 ผลประโยชน์ เป็นสิ่งที่คนหริอกลุ่มคนสนใจต้องการ ซึ่งเป็นต้นเหตุอย่าง
หนึ่งทีทาให้เกิดการโต้เถียงอย่างดุเดือดในการตัดสินใจ
จากองค์ประกอบในการตัดสินใจที่กล่าวมาจะพบว่า ทุกองค์ประกอบมีความสาคัญ
และส่งผลถึงการตัดสินใจของมนุษย์ ซึ่ง ผลที่ออกมา จะประสบผลสาเร็จหรือล้มเหลวนั้น ขึ้นอยู่กับ
ความมีเหตุ มีผลของผู้ตัดสินใจ ที่จะพิจารณาเลือกทางอันเหมาะสมและสร้างประโยชน์สูงสุด ซึ่งใน
บางครั้ง การตัดสินใจที่เป็นปัญหายากลาบาก ไม่มีหลักวิ ชาหรือกฎเกณฑ์อะไรที่ช่วยในการตัดสินใจ
เมื่อไตร่ตรองอย่างละเอียดแล้ว ยังไม่สามารถเลือกได้ ให้ผู้ตัดสินใจจงพิจารณาเลือกในทางที่เกิดผล
เสียน้อยที่สุด หรือเลือกในทางที่แม้จะทาผิดแต่ไม่เสียใจภายหลังเพราะได้ทาอย่างดีที่สุดแล้ว ก็ให้
เลือกเอาทางนั้น
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจนั้น มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภทด้วยกัน (ทิพย์วัลย์ สีจันทร์,
2546 หน้า 107 - 111) ได้แก่
1. ปัจจัยภายนอก
ปั จ จั ย ภายใน เป็ นลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การตั ด สิ นใจ ซึ่ ง ทุ ก
ขั้นตอนของการตัดสินใจ ถูกกระทบมาจากความจริงที่ ว่าแต่ละคนมองตนเองและโลกรอบข้ างจาก
ทัศนะที่เป็นลักษณะเฉพาะของตนเอง ทัศนะส่วนบุคคลสามารถอธิบายในเชิงส่วนประกอบได้สาม
ส่วน ซึ่งทั้งสามส่วนนี้ ผสมผสานกันยากที่จะแยกให้ออกไปได้ คือ
1.1 กรอบของความคิ ด หมายถึ ง กรอบความคิ ด ของแต่ ล ะคน ได้ แ ก่ การ
จัดระบบความรู้และประสบการณ์ที่ได้สะสมมาหรือที่แต่ละคนตีความหมายจากประสบการณ์ใหม่ พื้น
ฐานความรู้เดิมมีส่วนในการกาหนดกรอบความคิด และกรอบแนวคิดนี้มีส่วนในการจากัดการรับรู้ของ
ปัญหา ทาให้คนเรามองข้ามปัญหาที่สาคัญบางอย่างไป ในขณะเดียวกัน กรอบความคิดนี้ ยังส่ง ผลถึง
ความสามารถในการแปลหรือตีความหมายเพื่อใช้แก้ปัญหา รวมไปถึงการจากัดความรู้เพื่อให้ ได้
ความรู้ ใ หม่ ๆ ดั งนั้ น พื้น ฐานความรู้ที่ม าก ถูก ต้อ งย่อ มเป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อ การช่ว ยให้ เราคิ ดอย่ างมี
ประสิทธิภาพ เพราะข้อมูลที่เรามีอยู่มีผลต่อการกาหนดอนาคต
1.2 ค่านิ ยม เป็นส่ วนประกอบส าคัญของลั กษณะส่ วนบุคคล ค่านิยมนี้ได้แก่
มาตรฐานและสิ่งที่บุคคลให้ความสาคัญในการดาเนินชีวิต ไม่ว่าจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม ค่านิยมที่เข
ยึดถือจะเป็นสิ่งชี้นาในการดาเนินชีวิต ซึ่งค่านิยมที่ควรยึดถือปฏิบัติ คือ
1.2.1 การพึ่งตนเอง การขยันหมั่นเพียรและมีความรับผิ ดชอบ คือ การ
รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตนเองที่ควรกระทา รู้จักการรับผิดชอบตนเอง ไม่ทาตัวให้เป็นภาระแก่ผู้อื่น มี
การปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น มีความมานะพากเพียร ขยัน อดทนต่อการฟันฝุาอุปสรรค
1.2.2 การประหยัดและอดออม การประหยัดและอดออมเป็นการสอนให้
คนมีความละเอียดและรอบครอบรู้จักการวางแผนในการใช้เงินและสิ่งของให้คุ้มค่า ซึ่งเท่ากับเป็นการ
ออมเพื่อสร้างหลักฐานให้มั่นคงขึ้นไปในวันข้างหน้า
1.2.3

การมีระเบียบวินัยและการเคารพกฎหมาย ได้แก่ การรู้จักทาตาม

กฎเกณฑ์ ไม่ฝุาฝืน ไม่เห็นแก่ความสบายเล็กๆน้อยๆ หรือเห็นประโยชน์ของตนเองเป็นหลักจนขาด
ระเบียบ เช่น การทิ้งขยะลงท้องถนนเพราะขี้เกียจเดินไปทิ้งที่ถังขยะ ส่วนกฎหมาย เป็นแนวทางให้
คนปฏิบัติตาม เพื่อให้สังคมเกิดความสงบสุข หากฝุาฝืนต้องได้รับโทษ
1.2.4

การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา ทุกศาสนาสอนให้คนมีความ

เมตตากรุณาต่อกัน และมีการกระทาที่ดี มีจิตใจที่งดงาม มีพฤติกรรมที่ประกอบด้วยคุณธรรม สุจริต
ทั้งกาย วาจา ใจ
1.2.5

ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ชาติ คือ กลุ่มคนที่มีเชื้อชาติ ศาสนา

วัฒนธรรม และความเป็นมาในประวัติศาสตร์อย่างเดียวกัน ชาติจึงเป็นสมบัติของส่วนรวม ศาสน์ เป็น
สถาบั น ที่ บุ ค คลให้ ก ารคาราวะอย่ า งสู ง สุ ด เพราะเป็ น สถาบั น ที่ส อนให้ ค นเป็ น คนดี โดยเฉพาะ
สังคมไทยที่เปิดโอกาสให้คนไทยเลือกนับถือศาสนาใดก็ได้ตามศรัทธา ส่วนกษัตริย์ หมายถึง แบบ
แผนการปกครองโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และเป็นปัจจัยที่ช่วย
ให้คนในชาติมีชีวิตอยู่รอด ดารงความเป็นเอกราชอยู่ได้ ดังนั้น พระมหากษัตริย์ไทยจึงเป็นมิ่งขวัญ
และที่รักเคารพเทิดทูนของคนทั้งชาติ
ส่วนค่านิยมที่ควรแก้ไข เช่น การขาดระเบียบวินัย การรักพวกพ้องในทางที่ผิด การ
นิยมความสนุกสนาน นิยมของต่างประเทศ การเห็นแก่ตัว การเห็นแก่เงิน อิงผู้มีอานาจ การนิยมวัตถุ
การฟุุ มเฟื อ ย หรู ห รา การเชื่ อ ถื อโชคลางไสยศาสตร์ เห็ น ใครดี ก ว่า ไม่ ไ ด้ การขาดแคลนความ
รับผิดชอบ การไม่ละอายต่อบาป การพูดมากกว่าทา
1.3 ความรู้สึกนึ กคิดเกี่ยวกับตน หรือ อัตมโนทัศน์ คือความคิดเห็นส่วนตัว
ซึ่งเป็นส่วนประกอบสาคัญส่วนที่สามของลักษณะส่วนบุคคล การที่บุคคลคิดว่าเขาเองเป็นคนเช่นไร
ส่งผลต่อการคิดและการตัดสินใจของเขามาก แรงจูงใจสาหรับการคิดส่วนมากมาจากความต้องการ
พื้นฐาน เพื่อพัฒนาและรักษาความคิดเห็นเป็นส่วนตัวที่พึงพอใจ ถ้าบุคคลอยู่คนเดียวในปุาดงดิบ
ตลอดชีวิต ความสาคัญของความคิดเห็นเป็นส่วนตัวจะมีความสาคัญน้อยกว่าความปลอดภัยและสุข
สบายทางกาย แต่ในสังคมที่ซับซ้อน สิ่งจาเป็นพื้นฐานสาหรับการดาเนินชีวิตได้มาไม่ยาก การรักษา
ความคิดเห็นเป็นส่วนตัวที่ คนพึงพอใจย่อมมีความสาคัญมาก เพื่อรักษาความคิดเห็นเพียงส่วนตัวไว้
คนส่วนใหญ่จะยอมทนทรมานทางกาย หรือแม้แต่การที่เสี่ยงชีวิตของตนเอง เช่น ทหาร ตารวจ นักกู้
ระเบิด เป็นต้น
2. ปัจจัยภายนอก
2.1 ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ
เป็ น ปั จ จั ย ที่ ชี้ ถึ ง การจั ด สรรการใช้ ท รั พ ยากรขององค์ ก ร ภายใต้
สิ่งแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ เช่น ประชากร ปัจจัยรายได้ประชาชาติ อัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟูอ
ทรัพยากรธรรมชาติ ระดับค่าจ้างและเงินเดือน เป็นต้น
2.2 ปัจจัยทางด้านสังคม
เป็น การอธิบายถึงโครงสร้างทางสั งคมที่องค์กรจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้อง
เช่น ระดับการศึกษา ค่านิยม ความเชื่อ วิถีชีวิต อายุ เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยดังกล่าว ไม่
ว่าจะเป็นไปอย่างช้าๆ หรือย่างรวดเร็วต่างมีผลกระทบต่อการดาเนินงานขององค์กรทั้งสิ้น
2.3 ปัจจัยทางด้านการเมืองและกฎหมาย
การพิจารณาถึงรูปแบบการปกครอง ความมั่นคงของรัฐบาล นโยบายของ
รั ฐ และกฎหมายของรั ฐ ออกบั งคับ ใช้ เช่น นโยบายการจัด เก็บ ภาษี กฎหมายคุ้ม ครองผู้ บ ริโ ภค
กฎหมายเรื่องคุณภาพและมาตรฐานสินค้า เป็นต้น
2.4 ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
เช่น การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ
ออกสู่ตลาด การพัฒนาระบบการทางาน การใช้เครื่องมือ เครื่องจักรใหม่ๆ การนาคอมพิวเตอร์เข้ามา
ช่วยในการทางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
จะเห็นได้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจนั้น มีทั้งจากปัจจัยที่มาจากภายในตั วเรา
ได้แก่ กรอบแนวคิด ความเชื่อ ค่านิยม ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง และปัจจัยภายนอก ได้แก่
เศรษฐกิจ สังคม กฎหมาย การเมืองการปกครอง และเทคโนโลยี
บรรณานุกรม
จานง แย้มพราย. (2534). เทคนิคการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 4.
กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนพานิช.
ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2551). ทฤษฎีการบริหาร ตามแนวคิดของปราชญ์ตะวันตก.
กรงเทพมหานคร : ปัญญาชน.
ชนงกรณ์ กุลฑลบุตร. (2546). หลักการจัดการ : องค์การและการจัดการแนวคิดการบริหารธุรกิจใน
สถานการณ์ปัจจุบัน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทิพย์วัลย์ สีจันทร์ และคณะ. (2546.). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร :
สถาบันราชภัฎสวนดุสิต.
ธงชัย สันติวงษ์. (2542). การบริหารงานบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 10 กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
นารี จันทร์ภิรมย์. (2551). การตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนระดับปฐมวัย
ในโรงเรียนกลุ่มวัดเกต เทศบาลนครเชียงใหม่. บัณฑิตวิทยาลัย :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2556
จาก http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp
รศนา อัชชะกิจ. (2537). กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2.
กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย.
วรรณา พรหมบุนย์. (2540). การศึกษาทักษะชีวิต ค่านิยมที่ใช้ในการให้คาปรึกษา. กรุงเทพฯ :
ศูนย์การศึกษาแนะแนวและอาชีพ กรมวิชาการ.
วิทยา ดารงเกียรติศักดิ์. (2542). สรุปทฤษฎีการสื่อสาร, เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
วุฒิชัย จานงค์. (2523). พฤติกรรมการตัดสินใจ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
สถิตาภรณ์ วงศ์เขียว.(2547). เหตุผลที่ผู้ปกครองส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนเชียงใหม่
คณาวิทย์ เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สิโรตม์ เสนาอาจ. (2547). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการตัดสินใจของ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนหน่วยมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมด้วยการสอนการ
แก้ปัญหาแบบอุดมการณ์ และการสอนโดยกระบวนการกระจ่างค่านิยม. บัณฑิต
วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุรวัฒน์ ชมพูพงษ์. (2547). กระบวนการตัดสินใจนักบริหาร. เอกสารถอดเทปการบรรยายเรื่อง
“กระบวนการตัดสินใจนักบริหาร”จากหลักสูตรนายอาเภอรุ่นที่ 56 ประจาปี
2547 วันที่ 30 กันยายน 2547 ณ โรงเรียนนายอาเภอ จัดโดย วิทยาลัยการ
ปกครอง, กรมการปกครอง :กระทรวงมหาดไทย.
เอกสารเผยแพร่. (2555). แผนยุทธศาสตร์พัฒนาอาเภอแม่ออน ปี 2555 – 2558 . ที่ทาการปกครอง
อาเภอแม่ออน, กรมการปกครอง : กระทรวงมหาดไทย.

More Related Content

Similar to บทที่ 2

แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษาข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษาbowing3925
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาSuriyawaranya Asatthasonthi
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูTheyok Tanya
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูSuwaraporn Chaiyajina
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูJutarat Piamrod
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูshalala2
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
ข้อสอบ O-net 49 วิชา สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net 49 วิชา สังคมศึกษาข้อสอบ O-net 49 วิชา สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net 49 วิชา สังคมศึกษา
Suwicha Tapiaseub
 

Similar to บทที่ 2 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษาข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net - สังคมศึกษา
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5
Pat5Pat5
Pat5
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครูPat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
Pat5 ความถนัดทางวิชาชีพครู
 
Pat5 53
Pat5 53Pat5 53
Pat5 53
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
Social onet
Social onetSocial onet
Social onet
 
Social onet
Social onetSocial onet
Social onet
 
ข้อสอบ O-net 49 วิชา สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net 49 วิชา สังคมศึกษาข้อสอบ O-net 49 วิชา สังคมศึกษา
ข้อสอบ O-net 49 วิชา สังคมศึกษา
 
4.social o-net-m6-49
4.social o-net-m6-494.social o-net-m6-49
4.social o-net-m6-49
 
4.social o-net-m6-49
4.social o-net-m6-494.social o-net-m6-49
4.social o-net-m6-49
 
Social
SocialSocial
Social
 
Social o net
Social o netSocial o net
Social o net
 
Social o net
Social o netSocial o net
Social o net
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาสาเหตุการตัดสินใจของผู้ปกครองชาวอาเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อสถานศึกษาในเขตอาเภอเมืองเชียงใหม่ โดยผู้ศึกษา ได้รวบรวมเอกสาร หลักการ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ 1. บริบทของอาเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ 1.1 ประวัติความเป็นมา 1.2 ลักษณะทางกายภาพ 1.3 การปกครองและประชากร 1.4 สภาพเศรษฐกิจ 1.5 การศึกษา 2. การตัดสินใจ 2.1 ความหมายของการตัดสินใจ 2.2 ประเภทของการตัดสินใจ 2.3 ทฤษฎีการตัดสินใจ 2.4 กระบวนการตัดสินใจ 2.5 ขั้นตอนการตัดสินใจ 2.6 องค์ประกอบในการตัดสินใจ 2.7 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ 3. เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
  • 2. บริบทของอาเภอแม่ออน จังหวัดเชียงใหม่ ประวัติความเป็นมา ตามหลักฐานศิลาจารึกที่ค้นพบ ณ วัดเชียงแสน ตาบลออนใต้ อาเภอสันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่ สันนิษฐานว่าชาวอาเภอสันกาแพงอพยพมาจากพันนาภูเลา แขวงเมืองเชียงแสน (ปัจจุบันอยู่ในจังหวัดเชียงราย) มาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้าแม่ออน นอกจากนั้น ยังเป็นที่น่าสังเกตว่า ชาวบ้านในหลายท้องที่ของอาเภอสันกาแพง เป็นไทยยองและไทยลื้อ มีสาเนียงพูดคล้ายชาวบ้านใน อาเภอเชียงแสน จึงเป็นข้อสันนิษฐานได้ว่า ชาวอาเภอสันกาแพง(แม่ออน) อพยพมาจากอาเภอเชียง แสน จังหวัดเชียงราย ต่อมา เมื่อมีความเจริญขึ้นจึงได้ รับการยกฐานะเป็นอาเภอ ซึ่งในสมัยนั้นเรียกว่า “แขวงแม่ออน” อยู่ในการปกครองของนครเชียงใหม่ จนกระทั่งถึง พ.ศ. 2445 รัชสมัยของพระเจ้า อินทวโรรส ได้เกิดกบฏเงี้ยวที่อาเภอแพร่ และที่แขวงแม่ออน มีชาวเงี้ยว 11 คน มีอาวุธครบมือบุก ปล้นโรงกลั่นสุราที่บ้านปุาไผ่ ตาบลแช่ช้าง แล้วเผาที่ทาการแขวงแม่ออน เสียหายทั้งหลัง ประกอบกับ แขวงแม่ออน มีอาณาเขตที่กว้างขวาง ท้องที่ตาบลอยู่ไกลจากอาเภอ เจ้าหน้าที่ออกตรวจตราดูแล ทุกข์สุขของราษฎรไม่ทั่วถึง และสภาพท้องที่โดยทั่วไปเชื่อว่าจะเจริญต่อไปในภายหลัง ดังนั้น ในปี พ.ศ. 2446 ทางการจึ งได้ย้ายที่ทาการแขวงแม่ออน มาปลูกสร้างขึ้นใหม่ที่บ้านสันกาแพง เรียกว่า “อาเภอแม่ออน” และต่อมา ในปี พ.ศ.2460 ได้เปลี่ยนชื่อจาก “อาเภอแม่ออน” เป็น “อาเภอสัน กาแพง” ในปี พ.ศ.2537 กระทรวงมหาดไทย ได้ แ บ่ ง ท้ อ งที่ อ าเภอสั น ก าแพง จั ง หวั ด เชียงใหม่ ตั้งเป็นกิ่งอาเภอเรียกชื่อว่า “กิ่งอาเภอแม่ออน” ตั้งแต่วันที่ 30 เมษายน 2537 และ ได้รับการยกฐานะเป็น “อาเภอแม่ออน” ตามโครงการอาเภอเฉลิมพระเกียรติ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 เมื่อวันที่ 8 กันยายน 2550 (ที่ทาการปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า 1)
  • 3. ลักษณะทางกายภาพ อาเภอแม่ออน เป็นอาเภอลาดับที่ 23 ของจังหวัดเชียงใหม่ อยู่ห่างจากตัวเมือง เชียงใหม่ไปทางทิศตะวันออก ตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1006 (เชียงใหม่–สันกาแพง–ออนหลวย) คิดเป็นระยะทางประมาณ 27 กิโลเมตร และตามเส้นทางหลวงหมายเลข 1317 ( เชียงใหม่–บ้าน สหกรณ์ ) เป็นระยะทางยาวประมาณ 29 กิโลเมตร เนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 492.83 ตารางกิโลเมตร หรือคิดเป็นพื้นที่ทั้งหมด ประมาณ 30,2628.25 ไร่ ลักษณะภูมิประเทศของอาเภอแม่ออน มี ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบและพื้นที่ ภูเขา พื้นที่ราบส่วนใหญ่อยู่ทางตอนกลางของอาเภอ และอยู่ในระดับความสูงประมาณ 300 เมตร ลาดเอียงไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ ในบริเวณลาแม่น้าออน ซึ่งประกอบไปด้วย ตาบลบ้านสหกรณ์ ตาบลออนเหนือ(บางส่วน) และตาบลออนกลาง พื้นที่ภูเขาอยู่บริเวณทางทิศเหนือ ตามทิวเขาเรียง ขนานกันไปตามแนวทิศตะวันตก (ที่ทาการปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า 1) การปกครองและประชากร การปกครองแบ่งออกเป็น 6 ตาบล 49 หมู่บ้าน และองค์การบริหารส่วนตาบลทั้ง 6 แห่ง ได้แก่ ตาบลออนเหนือ ตาบลออนกลาง ตาบลบ้านสหกรณ์ ตาบลห้วยแก้ว ตาบลทาเหนือ และตาบลแม่ทา และมีประชากรทั้งสิ้น 21,214 คน (สานักทะเบียนกลาง ณ วันที่ 31 สิงหาคม 2555 อ้างใน ที่ทาการปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า 3 ) สภาพเศรษฐกิจ 1. อาชีพ ประชากรส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพด้านการเกษตรและปศุสัตว์ ได้แก่ การเลี้ยงโคนม โคเนื้อ กระบือ แพะ สุกร ไก่ไข่ การปลูกข้าวโพดฝักอ่อน ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ การปลูกชา(เมี่ยง) กาแฟ และลาไย 2. พื้นที่การเกษตร มีพื้นที่ทั้งหมด จานวน 38,417 ไร่ แยกพื้นที่การปลูก ดังนี้ พื้นที่ทานา 8,618 ไร่ พื้นที่ทาสวน 17,897 ไร่
  • 4. พื้นที่ทาไร่ 11,447 ไร่ พื้นที่ปลูกไม้ดอกไม้ประดับ 455 ไร่ 38,417 ไร่ รวมทั้งสิ้น 3. พืชเศรษฐกิจที่สาคัญ เรียงตามลาดับพื้นที่เพาะปลูก ได้แก่ 3.1 ข้าว พื้นที่ปลูก 10,355 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 647 กิโลกรัม/ไร่ 3.2 ชา พื้นที่ปลูก 6,535 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 500 กิโลกรัม/ไร่ 3.3 โพดฝักอ่อน พื้นที่ปลูก 2,843 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 1,200 กิ โ ลกรั ม /ไร่ 3.4 ลาไย พื้นที่ปลูก 1,402 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 570 กิโลกรัม/ไร่ 3.5 มะม่วง พื้นที่ปลูก 1,319 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 700 กิโลกรัม/ไร่ 3.6 ลิ้นจี่ พื้นที่ปลูก 200 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 500 กิโลกรัม/ไร่ 4. สหกรณ์และกลุ่มเลี้ยงโคนม จานวน 6 แห่ง ได้แก่ 4.1 สหกรณ์การเกษตรหมู่บ้านสหกรณ์สันกาแพง จากัด มีทุนหมุนเวียนปีละ ประมาณ 20,000,000 บาท 4.2 สหกรณ์โคนมอาเภอแม่ออน หมู่ที่ 2 ตาบลออนเหนือ มีจานวนโคนม 3,300 ตัว ปริมาณน้านมดิบ 18,000 กิโลกรัม/ วัน 4.3 สหกรณ์โคนมผาตั้งจากัด หมู่ที่ 9 ตาบลออนกลาง มีจานวนโคนม 1,993 ตัว ปริมาณน้านมดิบ 12,000 กิโลกรัม/ วัน 4.4 สหกรณ์โคนมปุาตึง (อาเภอแม่ออน) มีจานวนโคนม 494 ตัว ปริมาณ น้านมดิบ 500 กิโลกรัม/ วัน 4.5 กลุ่มผู้เลี้ยงโคนม ออนหลวย (บริษัทเฟรชมิล ค์) หมู่ที่ 6 ตาบลออนเหนือ มีจานวนโคนม 1,906 ตัว ปริมาณน้านมดิบ 6,500 กิโลกรัม/ วัน 4.6 กลุ่มผู้เลี้ยงโคนมแม่ทา (บริษัท ที.เค. แดริโกลด์ จากัด) มีจานวนโคนม 1,600 ตัว ปริมาณน้านมดิบ 3,800 กิโลกรัม/ วัน
  • 5. 5. โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จานวน 5 แห่ง ได้แก่ 5.1 โครงการหมู่ บ้า นสหกรณ์ สั น ก าแพง หมู่ ที่ 1-6 ต าบลบ้า นสหกรณ์ และ โครงการพระราชดาริน้าพุร้อนสันกาแพง หมู่ที่ 7 ตาบลบ้านสหกรณ์ 5.2 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงแม่ทาเหนือ หมู่ที่ 2 ตาบลทาเหนือ 5.3 ศูนย์พัฒนาโครงการหลวงตีนตก หมู่ที่ 8 ตาบลห้วยแก้ว 5.4 ศูนย์ศิลปาชีพบ้านแม่ตะไคร้ หมู่ที่ 1 ตาบลทาเหนือ 5.5 โครงการธนาคารโคกระบืออันเนื่องมาจากพระราชดาริหมู่ที่1-7ตาบลแม่ทา 6. ด้านสถาบันการเงิน มีธนาคารจานวน 1 แห่ง คือ ธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณ์การเกษตร สาขาอาเภอแม่ออน จานวนลูกค้าเงินฝาก 8,756 บัญชี ลูกค้าเงินกู้ 64 กลุ่ม จานวน 1,759 ราย จานวนสมาชิกจานาผลผลิตข้าวนาปรัง ( ธ.ก.ส.สาขาแม่ออน, 2555. อ้างใน ที่ทา การปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า 4) ตาบลออนเหนือ สมาชิก 26 ราย จานวนเงิน 2,346,061 บาท ตาบลออนกลาง สมาชิก 60 ราย จานวนเงิน 5,591,156 บาท ตาบลห้วยแก้ว สมาชิก 6 ราย จานวนเงิน 186,700 ตาบลบ้านสหกรณ์ สมาชิก 4 ราย จานวนเงิน 564,273 บาท ตาบลทาเหนือ สมาชิก 1 ราย จานวนเงิน บาท 33,393 บาท
  • 6. 7. รายได้เฉลี่ย ของประชากร จากข้อมูล จปฐ ปี พ.ศ. 2555 ภาพรวมอาเภอ 47,390 บาท/ คน /ปี โดยแยกเป็นภาพรวมตาบลตามลาดับ ดังนี้ ลาดับ ตาบล รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปี (บาท) 1 ออนกลาง 72,453 2 บ้านสหกรณ์ 69,755 3 ออนเหนือ 62,457 4 ห้วยแก้ว 61,614 5 แม่ทา 55,549 6 ทาเหนือ 41,163 รายได้เฉลี่ยต่อคนต่อปีของคนในอาเภอ 60,495 การศึกษา มีสถานศึกษา จานวน 13 แห่ง แบ่งเป็น ประเภทประถมศึกษา 8 แห่ง ประเภท ขยายโอกาส 3 แห่ง ประเภทมัธยมศึกษา 1 แห่ง และวิทยาลัยเทคนิค 1 แห่ง มีครูและอาจารย์ รวมจานวน 206 คน ศูนย์เด็กเล็กก่อนเกณฑ์ จานวน 17 แห่ง มี เด็กเล็ กจ านวน 250 คน ศูน ย์ บ ริ การการศึกษานอกระบบและการศึก ษาตามอัธ ยาศัย 1 แห่ ง ห้องสมุดประชาชนประจาตาบล จานวน 6 แห่ง และที่อ่านหนังสือประจาหมู่บ้าน จานวน 30 แห่ง (ที่ทาการปกครองอาเภอแม่ออน กระทรวงมหาดไทย, 2555, หน้า 6)
  • 7. การตัดสินใจ การตัดสิ นใจ จะเกิดขึ้นก็ต่อเมื่อผู้ทาการตัดสิ นใจประสบกับเหตุการณ์ที่มีความ ขัดแย้งหรือเกิดปัญหาจึงต้องมีการสร้างทางเลือกตั้งแต่ 2 ทางขึ้นไป และจาเป็นต้องเลือกทางเลือกใด ทางเลือกเพื่อผลประโยชน์ที่ดีที่สุด และการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับอนาคตจะเป็นเรื่องที่ค่อนข้างยาก เพราะเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เป็นเรื่องที่ไม่แน่นอน ซึ่งไม่มีใครทราบว่าจะสอดคล้องกับ ทางเลือกที่ได้ตัดสินใจเลือกไว้หรือไม่ ความหมายของการตัดสินใจ การตัดสินใจนั้น เป็นคาตอบในการตัดสินปัญหาข้อขัดแย้งระหว่างทางเลือกหลาย ทาง โดยจะตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ดีที่สุดเพียงทางเลือกเดียว หรือเหมาะสมที่สุดภายใต้สภาวการณ์ ที่แน่นอน แต่บางปัญหา ผู้ตัดสินใจอาจตัดสินใจอยู่ภายใต้สภาวะที่ไม่แน่นอน หรือความเสี่ยงที่ทาให้ การตัดสินใจเป็นไปได้ไม่ง่ายนัก โดยใช้ข้อมูลเท่าที่มีอยู่มาประกอบในการพิจารณา แต่อย่างไรก็ตาม ไม่ว่าจะเป็นการตัดสินใจภายใต้เหตุการณ์ใด สุดท้าย ผู้ตัดสินใจจะต้องได้ทางเลือกที่คิดว่าเหมาะสม ที่สุดสาหรับตนเอง ในความหมายของการตัดสินใจ มีผู้ให้ความหมายไว้มากมาย อาทิ ราชบัณฑิตยสถาน (พจนานุกรมอิเลกทรอนิกส์ เมื่อ 17 ตุลาคม พ.ศ. 2556) ได้ให้ ความหมายของคาว่า ตัดสินใจ ไว้ว่า หมายถึง ตกลงใจ นอกจากนี้ ยังมีนักการศึกษาของไทยและ ต่างประเทศอีกหลายท่าน ได้ให้ความหายของการตัดสินใจไว้ดังนี้ วรรณา พรหมบุนย์ (2540, หน้า 41) ได้กล่าวถึงกระบวนการตัดสินใจไว้ว่า เป็น การคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น คือ การตัดสินใจที่เหมาะสม ถูกต้องเป็นประโยชน์ต่อตนเองและ ผู้อื่น การคิดเป็น การนาความคิดและการกระทามาสัมพันธ์กันเพื่อให้เกิดการปฏิบัติ คือ ตัดสินใจ สถิตาภรณ์ วงศ์เขียว (2547, หน้า 4) ได้กล่าวว่า สถานการณ์ที่มีทางเลือกอยู่ หลายทาง โดยจะต้องมีการตัดสินใจเพื่อให้มีทางเลือกน้อยลง ซึ่งจะต้องผ่านกระบวนการเรียนรู้ การ คิด การวิเคราะห์ การชั่งใจ เพื่อให้ได้มาซึ่งทางเลือกที่ดีที่สุด ทิพย์วัลย์ สีจันทร์ และคณะ (2546, หน้า 99) ได้ให้ความหมายของการตัดสินใจไว้ ว่า หมายถึง การเลือกทางเลือกมาเป็นแนวทางในการแก้ปัญหา อาจกล่าวได้ว่าการจัดสินใจจะเกิด
  • 8. ขึ้ น มาได้ ต้ อ งมี ท างเลื อ กหลายๆทางเกิ ด ขึ้ น ก่ อ น จากนั้ น จึ ง น าทางเลื อ กเหล่ า นั้ น มาพิ จ ารณา เปรี ย บเที ย บกั น จนได้ ท างเลื อ กที่ เ หมาะสมที่สุ ด แล้ ว จึ ง นาทางเลื อ กนั้ น มาเป็น แนวทางในการ แก้ปัญหาต่อไป แพตเทอร์สัน (สิโรตม์ เสนาอาจ. 2547 ; อ้างอิงจาก Patterson. 1980 หน้า 107) ได้ให้ความเห็นว่า การตัดสินใจหมายถึงการที่บุคคลเข้าไปสู่การเสี่ยงโดยมีการรวบรวมและประเมิน ข้อมูล มีทางเลือกหลายทางและมีสิ่งประกอบอื่นๆ อย่างน้อย 2 ทางเลือก ซึ่งจะเป็นไปตามลาดับ ขั้นตอนในอันที่จะเลือกสิ่งใดสิ่งหนึ่งออกมาสาหรับปฏิบัติจริง จากความหมายของการตั ดสิ นใจข้ างต้น ที่ได้ก ล่ าวมาแล้ ว พอสรุปว่ า ได้ว่า การ ตัดสินใจ หมายถึง กระบวนการคิดเพื่อสร้างทางเลือกอย่างน้อย 2 ทางเลือก โดยใช้ความสามารถ ทางการคิดในการพิจารณาเลือก เปรียบเทียบกัน อย่างเป็นเหตุ เป็นผล อันนาไปสู่การตัดสินใจในการ เลือกทางเลือกที่เหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุด แล้วจึงนาทางเลือกนั้น ไปปฏิบัติ ประเภทของการตัดสินใจ กระบวนการตัดสินใจหมายถึง การตัดสินใจโดยอาศัยข้อมูลต่างๆ และข้อมูลที่เป็น ข้อมูลทางสถิติจะแบ่งการตัดสินใจออกเป็น 2 ประเภท (วุฒิชัย จานงค์, 2533, หน้า 111) คือ 1. การตัดสิ นใจภายใต้สภาวการณ์ที่แน่นนอน (Decision Making Under Certainly) เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจทราบเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอนาคตอย่างถูกต้องแน่นอน แต่ เลือกทางเลือกที่ดีที่สุดสาหรับเหตุการณ์นั้น และต้องหาทางเลือกที่ดีที่สุดภายใต้ข้อจากัดต่างๆของ ปัญหานั้น ในกรณีมีข้อจากัดมาก สามารถวิเคราะห์ได้ด้ว ยวิธีอื่น เช่น แม่บ้านบางรายที่อยู่ไกลจาก ตลาด อยู่ในซอยหรือในหมู่บ้านเล็กๆ ยังมีความคิดว่า การมีตู้เย็นเป็นสิ่งที่ฟุมเฟือย จึงต้องออกไป ตลาดทุกวัน พนักงานขายคนหนึ่งเมื่อไปซักถามแม่บ้านแล้วได้ข้อมูลดังนี้ การไปตลาดทุกวันต้องเสีย ค่ารถวันละ 20 บาท เดือนหนึ่ง 600 บาท คิดแล้วตกปีละ 7,200 บาท ซึ่งต้องเสียเวลาออกจากบ้าน วันหนึ่งๆ เป็นชั่วโมง หรือซื้อสินค้าใกล้บ้านก็มีราคาแพงกว่าและอาจไม่ได้ของสด พนักงานขายคนนี้ก็ อธิบายให้แม่บ้านฟังว่า ถ้ามีตู้เย็นจะช่วยประหยัดเงินได้ และไม่ต้องเอาเงินสดมาซื้อตู้เย็น เพียงแต่เอา
  • 9. ค่ารถเดือนละ 600 บาท มาผ่อนตู้เย็นแค่ปีเดียว ก็ได้ทุนคืนแล้ว ดีกว่าจะไปเสียเงินและเสียเวลานั่งรถ โดยไม่ได้อะไรขึ้นมาเลย แม่บ้านคนนี้ก็ตัดสินใจซื้อตู้เย็น 2. การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน (Decision Making Under Uncertainly) เป็นการตัดสินใจที่ผู้ตัดสินใจไม่ทราบล่วงหน้าว่าเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ที่เกิดขึ้นในอนาคตมากน้อยเพียงใด แต่พอจะมีข้อมูลที่ที่สามารถหาความน่าจะเป็นของเหตุการณ์ เหล่านั้นได้ ความน่าจะเป็นดังกล่าวอาจได้จากประสบการณ์ในอดีตหรือข้อมูลทางสถิติ ความไม่แน่นอนคือการไม่รู้อะไรเลยเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ไม่มี ข้อมูลหรือความน่าจะเป็น ในการเกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ หรือไม่สามารถคาดเดาได้เกี่ยวกับอนาคต วิธีการตัดสินใจภายใต้สถานการณ์นี้มีดังต่อไปนี้ 2.1 MaxiMax Criterion เป็นการตัดสินใจโดยเลือก สิ่งที่ดีที่สุดก่อนในแต่ละ ทางเลือก(พิจารณาทีละทางเลือกโดยดูทุกเหตุการณ์ ) แล้วเลือกดีที่สุดของดีที่สุดอีกครั้งหนึ่ง (วิธีนี้ผู้ ตัดสินใจเลือกเฉพาะทางที่ดีที่สุดเท่านั้น) ผู้ที่ใช้วิธีนี้จัดเป็นผู้ที่มองโลกในแง่ดี 2.2 MaxiMin Criterion มีหลักในการตัดสินใจคือเลือกผลได้ที่น้อยที่สุดใน แต่ละทางเลือกการณ์จากนั้นเลือกทางเลือกที่ดีที่สุด ผู้ที่ใช้วิธีนี้มักเป็นผู้ที่มองโลกในแง่ร้ายและไม่ ค่อยกล้าเสี่ยง 2.3 Minimax Regret Criterion เป็นวิธีที่ใช้หลักค่าเสียโอกาส คือต้องสร้าง ตารางค่าเสียโอกาสขึ้นมาก่อน จากนั้นเลือกค่าเสียโอกาสสูงสุดในแต่ละทางเลือกแล้วก็เลือกทางเลือก ที่มีค่าเสียโอกาสน้อยที่สุด การตัดสินใจภายใต้สภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน จะต้องพิจารณาถึงผลตอบแทนหรือ ผลจากการศูนย์เสียที่เกิดจากการเลือกภายใต้สภาวะหนึ่งๆ แล้วใช้ความน่าจะเป็นของแต่ละสภาวะ ผู้ ตัดสินใจจะเลือกทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนเฉลี่ยสูงสุด หรือการสูญเสียเฉลี่ยต่าสุด ตัวอย่างเช่น คุณ กฤษณะ กฤตมโรถ อาชีพขายประกันชีวิต เขานัดลูกค้าว่าจะไปพบแต่พ อถึงเวลานัดฝนเกิดตกลงมา อย่างหนัก ในใจตอนนั้นเขาคิดอยู่สองอย่างคือ “ไปหรือไม่ไป” ไปเพราะนัดลูกค้าไว้แล้วจะเสียคาพูด ไม่ได้ หรือไม่ไปเพราะฝนตกหนักมากอาจต้องเสี่ยงกับการไม่สบาย ไม่คุ้มกัน ความคิดทั้งสองนั้ นหัก
  • 10. ร้างกัน อย่างแรง ในที่สุ ดก็ตัดสิ นใจไป เขารีบหาถุงพลาสติกมาหนึ่งใบ เอาแฟูมที่มีใบสมัครขอทา ประกันชีวิตและของคนอื่นๆที่ต้องใช้ร่วมกันลงในถุงแล้วเอาเชือกรัดไว้ท้ายรถมอเตอร์ไซต์แล้วขับรถ ออกไป พอถึงบริษัทลูกค้าก็เปียกไปทั้งตัวเหมือนลูกนกเปียกน้า ยกเว้นสองอย่างที่ไม่เปียก คือใบ สมัครทาประกันชีวิตและหั วใจของเขา บ้านลูกค้าเป็นบริษัทท่องเที่ยวติดแอร์และปูพรมทั้งออฟฟิศ ตอนนั้นรู้สึกหนาวมาก ทาให้วันนั้นเขาเสนอการขายไม่รู้เรื่อง แต่ในที่สุดลูกค้าตกลงซื้อประกันกับเขา ตัวเขาเองรู้สึกงงเหมือนกันว่า ขายมาได้อย่างไร วันรุ่งขึ้นเขาส่งมอบกรรมธรรม์และตั้งใจถามลูกค้า ว่า ทาไมจึงซื้อ แต่พอไปถึง ยังไม่ทันไดทาอะไร ลูกค้าก็บอกให้เขาอธิบายเสนอการขายใหม่เนื่องจากเมื่อ วานเขาฟังไม่รู้เรื่องและไม่ได้ตั้งใจฟัง แต่สาเหตุที่เขาซื้อประกันเพราะเขาเห็นว่า คุณกฤษณะมีความ ตั้งใจ ขนาดฝนตกหนักยังอุตสาห์มาขาย แสดงว่าคุณกฤษณะชนะใจตนเองตั้งแต่ ตอนฝนตกแล้ว เขา เคยพูดเสมอว่าก่อนการเอาชนะอะไรต้องชนะใจตนเองให้ได้ก่อน ตอนนั้นทาให้เขาขายอะไรก็ขายได้ หมด การตัดสินใจ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือการตัดสินใจในสภาวการณ์ที่แน่นอนและการ ตัดสินใจในสภาวการณ์ที่ไม่แน่นอน ซึ่งในบางตาราอาจเพิ่มเรื่องการตัดสินใจในสภาวการณ์เ สี่ยง แต่ อย่างไรก็ตาม การตัดสินใจนั้นถือเป็นการบริหารความเสี่ยงอย่างหนึ่ง ซึ่งเราจะไม่สามารถทราบได้เลย ว่าผลที่จะเกิดมานั้น จะออกมาเช่นไร แต่เราสามารถที่จะคาดคะเนผลที่จะเกิดได้หากมีข้อมูลและ วิเคราะห์เลือกทางที่เหมาะสมที่สุด ทฤษฎีการตัดสินใจ เฮอร์เบิร์ต เอ.ไซมอน (Herbert A. Simon) คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งทฤษฎีการ ตัดสินใจได้กล่าวว่า “การบริห ารก็คือการตัดสินใจนั่นเอง” ทั้งนี้เนื่องจากว่าคนที่เป็นผู้บริหาร จะต้องเผชิญกับภาวะที่จะต้องตัดสินใจเลือกทางเลือกใดทางเลือกหนึ่งจากทางเลือกหลาย ๆ ทางที่มี อยู่ ไม่ว่าจะเป็นทางเลือกในการกาหนดแผนในการทางาน หรือว่าทางเลือกในการแก้ไขปัญหาถ้านัก บริหารสามารถที่จะเลือกทางเลือกที่ดีมีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาได้ ก็จะสามารถทาให้งาน บรรลุเปูาหมายได้ ถ้าเลือกทางเลือกที่ไม่ดีมา ก็ทาให้การทางานล้มเหลว ดังนั้นในลักษณะ การ
  • 11. ตัดสินใจเพื่อให้ได้ทางเลือกที่ดีจะต้องมีขั้นตอนของการตัดสินใจที่สาคัญอยู่ 4 ขั้นตอน ดังนี้ คือ (ธงชัย สันติวงษ์, 2542, หน้า 196) 1. การพิจารณาถึงตัวปัญหา ในขั้นตอนแรกนี้ก็คือ นักบริหารที่เป็นผู้ที่ทาหน้าที่ใน การตัดสินใจ จะต้องสามารถระบุให้ทราบสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาที่เกิดขึ้นให้ได้เสียก่อน ในขั้นตอนนี้ เหมือนกับการที่หมอทาการวินิจฉัยโรค ถ้าหมอวินิจฉัยโรคได้ถูกก็จะทาให้กระบวนการรักษาที่ตามมา ได้ผล แต่ถ้าวินิจฉัยโรคผิดกระบวนการรักษาโรคที่ตามมาก็จะผิดไปด้วย ทาให้การรักษาโรคล้มเหลว 2. การพิจารณาค้นหาทางเลือก ทางเลือกในการแก้ปัญหาอาจจะมีหลายทาง มีกี่ ทางเลือก เราจะต้องนามาพิจารณาให้หมดเพราะจะทาให้เรามีทางเลือกที่หลากหลายขึ้น 3. การประเมินผลทางเลือก คือการทาการพิจารณาทางเลือกแต่ละทางว่ามีข้อดี อย่างไรบ้าง ข้อเสียอย่างไรบ้าง ในขั้นตอนของการประเมินผลทางเลือก ถ้าจะให้ดีควรที่จะมีการ นาเอาเทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณมาช่วยในการประเมินผลทางเลือกด้วย เพราะจะทาให้การ ตัดสินใจเลือกทางเลือกทาได้ง่ายขึ้น 4. การตัดสินใจเลือกทางเลือกและการนาทางเลือกไปปฏิบัติ เลือกทางเลือกที่ดีที่สุด และนาไปปฏิบัติเพื่อที่จะแก้ไขปัญหา แล้วตรวจสอบประสิทธิผลของการนาทางเลือกนั้นไปปฏิบัติ จากข้อมูลย้อนกลับ ของกระบวนการในการตัดสินใจ
  • 12. พิจารณา ถึงตัวปัญหา การค้นหา ทางเลือก การประเมิน ผลทางเลือก การตัดสินใจเลือก ทางเลือก และการนา ทางเลือกไปปฏิบัติ ข้อมูลย้อนกลับจาก การประเมินผล ภาพที่ 1.1 แสดงขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการตัดสินใจตามแนวคิดของ เฮอร์เบิร์ต เอ.ไซมอน ที่มา (ธงชัย สันติวงษ์, 2542, หน้า 197) สุรวัฒน์ ชมพูพงษ์ (คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2547.) ได้กล่าวถึง การตัดสินใจคือ การเลือกระหว่างทางเลือกต่าง ๆและปฏิบัติไปตามนั้น แสดงว่า มีทางเลือก มากกว่าหนึ่งทาง ถ้าไม่มีทางเลือกเลยก็ต้องตัดสินใจจะเลือกได้อย่างไร เพราะเลือกไม่ได้แล้ว ถ้า แปลว่าต้องตัดสินใจแสดงว่า ไม่ ต้องมีทางเลือกแล้วเราจะเลือกอย่างไร การเลือกจะต้องมีข้อมูล แล้วใช้อะไรบ้างที่เป็นตัวตัดสินเพื่อที่จะได้ปฏิบัติไปตามนั้นนี้คือตัวทางเลือก โดยได้ให้สถานการณ์ที่ ต้องมีการตัดสินใจไว้ดังนี้ 1. มีทางเลือก 2. มีจุดมุ่งหมายในการเลือก 3. ใช้กระบวนการคิดพินิจพิจารณาในการเลือก ไม่ใช่เป็นไปตามอารมณ์ ความ พอใจหรือยถากรรม 4. มุ่งผลที่เกิดขึ้นในอนาคต 5. เป็นสถานการณ์ที่มีทั้งความแน่นอน ความเสี่ยง ความไม่แน่นอน
  • 13. กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการตัดสินใจ (Decision Making Process ) คือการกาหนดขั้นตอนในการ ตัดสินใจ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์กรอย่างมีหลักเกณฑ์ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ที่ต้องการ Herbert Simon ได้แบ่งระยะของการตัดสินใจเป็น 3 ขั้นตอน (ชาญชัย อาจินสมาจาร, 2551, หน้า 71-89 ) ดังนี้ 1. กิจกรรมการคิด (Intelligent) คือการหาโอกาสเพื่อการตัดสินใจการหาเหตุผล ของปัญหา 2. กิจกรรมการออกแบบ (Design) คือการระบุ พัฒนา และวิเคราะห์แนวทางการ กระทาที่เป็นไปได้ เป็นขั้นตอนการสร้างและวิเคราะห์ทางเลือกในการตัดสินใจ โดยทางเลือกที่สร้าง ขึ้นต้องเป็นทางเลือกที่เป็นไปได้ในการแก้ปัญหาให้ได้ประโยชน์สูงสุด 3. กิจกรรมทางเลือก (Choice) คือการคัดเลือกแนวทางการดาเนินการจากแนว ทางการดาเนิ น การที่มี อยู่ ประเมินทางเลื อ กต่า งๆที่ไ ด้จากการออกแบบและคัดเลื อกให้ เหลื อ ทางเลือกเดียว ที่จะนาไปใช้จริงในการแก้ปัญหา แนวคิดนี้ ต่อมา George Huber ได้นามารวบรวมเข้ากับกระบวนการแก้ไขปัญหา จึงทาให้การตัดสินใจและกระบวนการแก้ไขปัญหามีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ที่เพิ่มมาภายหลัง คือ 4. การนาไปใช้ (Implementation) 5. การติดตามผล (Monitering) จานง พรายแย้มแข (2534, หน้า 25-26) ได้กล่าวว่า ในการตัดสินใจของคนเรา แต่ละครั้งไม่ว่าจะเป็นเรื่องเล็กหรือเรืองใหญ่ก็ตาม จะต้องเป็นไปตามกระบวนการอย่างเดียวกันทั้งสิ้น เว้นแต่จะใช้เวลามากน้อยต่างกัน ในบางขั้นตอนเท่านั้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับทักษะความสามารถของแต่ละ บุคคลเป็นสาคัญ
  • 14. เมื่อบุ คคลเผชิญกับสถานการณ์ที่ จะต้องแก้ปัญหาโดยฉั บพลั นทันทีหรือไม่ก็ตาม ขั้นตอนสาคัญก่อนเริ่มเข้าสู่กระบวนการตัดสินใจก็คือ บุคคลนั้นจะต้องมีสติสัมปชัญญะที่มั่นคง ไม่ตื่น ตระหนกต่อเหตุการณ์ที่เผชิญอยู่ และพร้อมกันนั้นจะต้องขจัดอคติหรือความลาเอียงออกจากจิตใจให้ หมดเสียก่อน แล้วจึงเริ่มปฏิบัติไปตามขั้นตอนของกระบวนการตัดสินใจได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ซึ่งบ่อยครั้งทีเดียวที่เราเห็นบุคคลบางคนชอบทาเรื่องเล็กให้เป็นเรื่องใหญ่ หรือทาเรื่องง่ายให้เป็นเรื่อง ยากเพราะขาดสติ และมีอคติขณะตัดสินใจแก้ปัญหานั้นๆ จึงกล่าวได้ว่า ก่อนที่จะตัดสินใจแก้ปัญหาใดๆ จะต้องมีสติสัมปชัญญะและปราศจาก อคติ จึงทาให้การตัดสินใจมีความผิดพลาดน้อยที่สุด และแก้ปัญหาได้ดีที่สุด รศนา อัชชะกิจ (2537, หน้า 97-98) ได้กล่าวถึงกระบวนการตัดสินใจอย่างมี ประสิ ทธิภ าพ ซึ่ งขั้น ตอนที่นิ ย มปฏิบัติในกระบวนการตัดสิ นใจมี ห ลายรูปแบบ จะแตกต่างเพีย ง รายละเอียดปลีกย่อย ตัวอย่างเช่น รูปแบบที่ 1 กระบวนการตัดสินใจประกอบด้วย 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. กาหนดวัตถุประสงค์หรือเปูาหมายของการตัดสินใจอย่างชัดเจน 2. กาหนดทางเลือกเพื่อพิจารณาตัดสินใจ 3. ตรวจหาเพื่อหลีกเลี่ยงหรือยอมจานนต่อข้อจากัด 4. ดาเนินการวิเคราะห์การตัดสินใจ 5. ตัดสินใจโดยยึดวัตถุประสงค์ รูปแบบที่ 2 เมื่อการตัดสินใจ ความซับซ้อนยุ่งยากมาเท่าใด การดาเนินงานแต่ละขั้นตอน จะเพิ่มความสาคัญมากเป็น เงาตาม แล้วกระบวนการสาหรับรูปแบบที่สองจึงมุ่งความสนใจไปยัง หลักการพื้นฐานที่สาคัญ 3 ขั้นตอน ดังนี้
  • 15. 1. กาหนดวัตถุประสงค์ 2. กาหนดทางเลือกของการตัดสินใจ 3. พิจารณาความเสี่ยงที่มีโอกาสเป็นไปได้ รูปแบบที่ 3 กระบวนการตัดสินใจ สาหรับรูปแบบที่สามมีแนวทางค่อนข้างคล้ายคลึงกับ รูปแบบที่สอง แต่แจกแจงขั้นตอนละเอียดกว่า มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ดังนี้ 1. กาหนดวัตถุประสงค์ 2. ระบุคุณลักษณะของสิ่งที่พึง ประสงค์ หรือเปูาหมาย โดยจาแนกความ แตกต่างเป็น 2 ประการ ดังนี้ 2.1 คุณลักษณะที่จาเป็น “ต้องได้” 2.2 คุณลั กษณะที่เพียงแต่ “ต้องการ” ถ้าได้ก็ดี แต่ก็ไม่เน้นมาก เท่ากับลักษณะแรก 3. พิจ ารณากลั่ น กรอง คั ดแยกเพราะทางเลื อ กที่ มี คุ ณ ลั ก ษณะที่จ าเป็ น “ต้องได้” 4. นาคุณลักษณะที่ “ต้องการ” เฉพาะเป็นพิเศษของทางเลือก ซึ่งคัดแยกใน ขั้นตอนข้อที่สาม ปรับเปลี่ยนให้เป็นค่าที่ประเมินด้วยตัวเลข 1 – 10 5. นาทางเลือกทั้งหมดที่ผ่านการประเมินค่าคุณลักษณะ “ต้องได้” และ “ต้องการ” มาพิจารณาข้อเสียของแต่ละทางเลือกอีกครั้ง ด้วยวิธีปรับตัวเลขเช่นเดียวกับขั้ นที่ 4 ใน กรณีนี้ ถ้าทางเลือกใดได้คะแนนสูงมากแสดงว่ามีข้อเสียมาก วรรณา พรหมบุนย์ (2540, หน้า 41) ได้กล่าวถึงกระบวนการตัดสินใจว่า เป็นการ คิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น คือการตัดสินใจที่เหมาะสม ถูกต้อง เป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่น การคิดเป็น การน าความคิด และการกระทามาสั มพันธ์กันเพื่อให้เกิดการปฏิบั ติ คือการตัดสิ นใจ
  • 16. กระทาการที่จะนาความคิด และการกระทาให้สัมพันธ์กัน จะต้องฝึกตั้งแต่ขั้นตอนการคิดหาเหตุผล เลือก การรู้สึกซาบซึ้งกับสิ่งดีงามที่กระทา และการลงมือกระทา ถ้าศึกษารูปแบบ จะได้ดังนี้ 1. การคิดเป็น ทาเป็น แก้ปญหาเป็น คือการตัดสินใจ ั 2. การตัดสินใจ คือการนาความคิดและการกระทามาสัมพันธ์กัน เพื่อเกิดการ กระทา 3. การนาความคิดและการกระทามาสัมพันธ์กัน คือ การศึกษาค่านิยม 4. ค่านิยม คือสิ่งที่เรายึดถือเป็นแนวทางในการเลือกตัดสินใจ 5. สิ่งที่เรายึดถือแนวทางในการเลือกตัดสินใจ จะต้องศึกษากระบวนการดังนี้ 5.1 สารวจและเลือก คือ หาเหตุ ผล 5.2 นิยม มองพวก ประกาศยืนยัน 5.3 แสดง และทาซ้าจนเป็นนิสัยที่เรียกว่า ขั้นในการพิจารณาสร้างเสริม ค่านิยม สรุปได้ว่า กระบวนการตัดสินใจนั้ น คือกระบวนการคิดเพื่อ สร้างทางเลือกขึ้นมา หลายทางในสถานการณ์หนึ่งๆ แล้วพิจารณาไตร่ตรองถึงปัญหา ข้อเท็จจริง ข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง อย่างมีเหตุผล มีขั้นตอน จนถึงการนาเทคนิคต่างๆเข้ามาใช้ในการลดจานวนทางเลือกให้เหลือน้อยลง จนเหลือเพียงทางเลือกเดียวที่ผู้ตัดสินใจเห็นว่าเป็นประโยชน์สูงสุดทั้งต่อตนเองและผู้อื่น จึงทาการ ตัดสินใจเลือกทางเลือกและนาทางเลือกนั้นไปปฏิบัติจริง อาจกล่าวได้ว่า กระบวนการตัดสินใจคื อการ คิดเพื่อหาทางเลือกในการแก้ปัญหา และนาทางเลือกนั้นมาปฏิบัติเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของงาน นั้นๆ
  • 17. ขั้นตอนการตัดสินใจ (Step in Decision Making) จากกระบวนการตัดสินใจที่ได้กล่าวมาแล้วนั้น พบว่าการตัดสินใจอะไรบางอย่างใน แต่ล ะครั้งนั้ น ต้องเป็ นไปตามล าดับขั้นตอน ซึ่งได้มีนักการศึกษาและนักจิตวิทยาได้เสนอแนวคิด ขั้นตอนการตัดสินใจไว้ดังนี้ วุฒิชัย จานง (2523, หน้า 4-7) ได้กล่าวว่า ธรรมชาติของการตัดสินใจนั้น ตาม ความหมายของ Herbert A. Simon เป็นลาดับขั้นตอน 3 ประการในการที่จะเลือกทางใดทางหนึ่ง ขึ้นมา และก็มักจะเข้าใจว่า ทางที่เลือกขึ้นมานั้นเป็นทั้งหมดของการตัดสินใจ และอาจคิดตอไปว่า ไม่ ว่าการตัดสินไม่ว่าการตัดสินใจเรื่องอะไร จะรู้ตัวหรือไม่ก็ตาม ผู้จะทาการตัดสินใจนั้นต้องผ่านขั้นตอน ต่างๆของการตัดสินใจ ซึ่งสิ่งที่ Simon ได้เสนอมานั้น สอดคล้องกับแนวความคิดของ Frederic W. Taylor เกี่ยวกับการจัดการตามแนววิทยาศาสตร์ ว่าจริงๆแล้วขั้นตอนที่ Taylor เสนอมานั้น เป็น ขั้นตอนของแก้ปัญหา ซึ่งแน่นอนว่าการตัดสินใจก็เป็นการแก้ปัญหาอย่างหนึ่งนั่นเอง จึงแบ่งขั้นตอน ต่างๆออกได้เป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1. การแยกแยะปัญหา (Problem Identification ) คือการค้นหาข้อเท็จจริง ในตัวปัญหา เมื่อเรารู้ตัวปัญหาที่แท้จริงก็เท่ากับการแก้ปัญหาได้ครึ่งหนึ่งแล้ว 2. การหาข่ า วสารที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ตั ว ปั ญ หานั้ น (Information Search) กล่าวคือการหาสิ่งที่เป็นสาเหตุโดยสืบจากข่าวสารต่างๆให้ครอบคลุม ซึ่งข่าวสารนั้นต้องเกี่ยวข้องและ จาเป็น ตลอดจนเพียงพอในการแก้ปัญหานั้นได้มากที่สุด 3. การประเมินข่าวสาร (Evaluation of Information) จาเป็นต้องมีการ ประเมินดูว่าข่าวสารที่ได้มานั้น ถูกต้อง เพียงพอ ตรงกับเวลาและเหมาะสม สามารถนาไปวิเคราะห์ใน การแก้ปัญหาได้หรือไม่ หากข่าวสารใดเห็นว่าไม่เกี่ยวข้องเท่าที่ควร ก็จาเป็นต้องตัดออก 4. การกาหนดทางเลือก (Listing of Alternatives) เป็นการพยายาม ครอบคลุมทุกวิถีทางเพื่อจะแก้ปัญหาให้ไดในหลายๆวิธี ซึ่งในการกาหนดทางเลือกหลายๆทางนั้น ทางเลือกทุกทางอาจจะมีความจาเป็นและสาคัญในการช่วยเราแก้ปัญหาในระดับที่ต่างกัน โดยการ ลาดับความสาคัญของการแก้ปัญหา เพื่อที่จะสรุปในการที่จะเลือกในขั้นตอนต่อไป
  • 18. 5. การเลือกทางเลือก (Selection of Alternatives) เป็นการเลือกทางเลือก ที่จะปฏิบัติการต่อไป ซึ่งขั้นตอนนี้เป็นที่ยอมรับการอย่างทั่วไปว่าเป็นการตัดสินใจอย่างแท้จริง แต่ยัง ไม่สมบูรณ์ เพราะเหตุที่ว่าจาเป็นต้องมีขั้นจอนอีกขั้นหนึ่งที่จะสร้างความสมบูรณ์ให้กับการตัดสินใจ 6. การปฏิบัติตามการตัดสินใจ (Implement of Decision) เป็นการปฏิบัติ ตามผลของการตัดสินใจ ซึ่งเราจะทราบได้ว่าการตัดสินใจนั้น ถูกต้องเหมาะสมหรือไม่ ก็ขึ้นอยู่กับผล ของการตัดสินใจนั้นที่นามาปฏิบัติแล้ว สามารถแก้ปัญหาที่ได้แยกแยะไว้ในขั้นตอนแรกหรือไม่ ทิพวัลย์ สีจันทร์ (2546, หน้า 101) ได้กล่าวว่าขั้นตอนการตัดสินใจมี 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การหาข้อ มูล และวิเ คราะห์ ข้อ มูล ได้แ ก่ก ารรวบรวมข่ าวสารต่า งๆจาก สภาพแวดล้อม หรือปัญหาที่เกี่ยวข้อง 2. คาดคะเนผลที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ในอนาคต ซึ่ ง จะต้ อ งก าหนดกฎเกณฑ์ ใ นการ ตัดสินใจด้วย 3. การพิจารณาแนวทางหรือเปรียบเทียบเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเพื่อนาไป ปฏิบัติ 4. เลือกทางปฏิบัติทางใดทางหนึ่ง โดยเลือกทางที่จะเกิดประโยชน์สูงสุด 5. ตัดสินใจสั่งการให้ปฏิบัติวินิจฉัยเปรียบเทียบเพื่อจัดลาดับความสาคัญของ ทางเลือกต่างๆ ภายใต้เกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินแต่ละเกณฑ์ 6. พิจารณาเลือกที่ดีที่สุด และวัดผลการปฏิบัติโดยนาไปเปรียบเทียบกับการ คาดคะเนที่ตั้งไว้ตั้งแต่ต้น สุรวัฒน์ ชมพูพงษ์ (คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2547.) ได้บรรยาย ถึงขั้นตอนของตัดสินใจว่า มีด้วยกันทั้งหมด 5 ขั้นตอนได้แก่ 1. การกาหนดปัญหา 2. การกาหนดจุดมุ่งหมายในการแก้ปัญหา
  • 19. 3. การพิจารณาและกาหนดทางเลือก 4. การประเมินและวิเคราะห์ผลของทางเลือกและข้อจากัดต่าง ๆ 5. การตัดสินใจโดยยึดจุด วิทยา ดารงเกียรติศักดิ์ (2542, หน้า 50-52) กล่าวว่า การที่บุคคลจะตัดสินใจ ยอมรับสิ่งใดสิ่งหนึ่งนั้น จะต้องมีขั้นตอน และต้องใช้เวลา โดยมีขั้นตอนในการตัดสินใจ ดังนี้ 1. ขั้นรับรู้ (awareness) เป็นขั้นแรกของกระบวนการตัดสินใจ เนื่องจากผู้รับ สารได้รับรู้เรื่องใหม่ๆเป็นครั้งแรก ทั้งนี้ผู้รับสารจะมีความคิดอย่างกว้างๆ และรู้อย่างเล็กน้อยในเรื่อง คุณสมบัติ แต่หากเขาสนใจ เขาจะพยายามเรียนรู้มากขึ้น 2. ขั้นสนใจ (interest) เป็นขั้นที่ผู้รับสารพัฒนาความสนใจขึ้นมา และพยายาม หาข้อมูลรายละเอียด เพื่อให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม 3. ขั้นประเมินผล (evaluation) ขั้นนี้เป็นการประเมินค่าของข้อมูลข่าวสารที่ ได้รับมาเพื่อนามาใช้ในการประเมินทางเลือกในการตัดสินใจ โดยอาจใช้ประสบการณ์ในอดีตผสมกับ ทัศนคติที่เกิดจากการยอมรับข่าวสาร 4. ขั้น ตัดสิน ใจ (decision) หลั งจากผ่ านการประเมินทางเลื อกแล้ว ผู้รับสาร จะต้องเลือกทางเลือกที่คิดว่าดีที่สุด จากกระบวนการในการตัดสินใจของทุกท่านที่กล่าวมา ในทรรศนะของผู้วิจัยเห็นว่า กระบวนการตัดสินใจ ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การกาหนดปัญหา 2. การศึกษาสภาพแวดล้อมและรวบรวมข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง 3. การพิจารณากาหนดทางเลือก 4. การวิเคราะห์ ประเมินผลทางเลือก และลาดับความสาคัญ 5. การตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เห็นว่าเหมาะสมที่สุด 6. การปฏิบัติตามทางเลือกที่เราได้ตัดสินใจเลือก
  • 20. การแก้ปัญหาและการตัดสินใจนั้นเป็นของควบคู่กัน เมื่อใดที่เกิดปัญหา การสร้าง ทางเลือกเพื่อตัดสินใจใจการแก้ปัญหานั้นๆย่อมตามมา เราเห็นได้ว่า ไม่ว่าเราจะเลือกทางเลือกใดๆก็ ตามที่เราสร้างขึ้นมานั้น ล้วนแต่ผ่านขั้นตอน กระบวนการในการสร้าง และลดทอนทางเลือกลงจนให้ เหลือทางเลือกที่ดีที่สุดเพียงทางเลือกเดียวทั้งนั้น ซึ่งในแต่ละปัญหาหรือข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้น เราไม่ สามารถบอกได้ว่า กระบวนการตัดสินใจในรูปแบบของใครดีที่สุด ซึ่งผู้ตัดสินใจต้องนาไปประยุกต์ใช้ เองให้เหมาะสมกับสภาวการณ์ เราจะรู้ว่าทางเลือกที่เราเลือกนั้นดีเยี่ยมแค่ไหน ก็ต่อเมื่อเราได้ลงมือ ปฏิบัติ องค์ประกอบในการตัดสินใจ การตัดสินใจใดๆก็ตาม ต้องอาศัยหลักการของการมีเหตุ มีผล ซึ่งในการตัดสินใจ หนึ่งๆ จะส่งผลออกมาในลักษณะ 2 ด้าน นั่นคือ ประสบความสาเร็จ หรือล้มเหลว ซึ่งองค์ประกอบ หลายอย่างที่มีผลต่อการตัดสินใจ (ยุดา รักไทย, 2544 อ้างใน ทิพย์วัลย์ สีจันทร์, 2546 หน้า 107 111) มีดังนี้ 1. ลักษณะการตัดสินใจ 2. เชาวน์อารมณ์ 3. อคติทางการรับรู้ 4. ผลกระทบทางการเมือง 1. ลักษณะการตัดสินใจ มีลักษณะที่สาคัญ 3 ประการ ดังนี้ 1.1 คุณภาพ (Quality) หมายถึง การตัดสินใจที่ทาให้ได้รับโอกาสโดยการใช้ ทรัพยากรที่มีอย่างเหมาะสมและคุ้มค่า เพื่อให้เกิดการตัดสินใจที่ได้ประโยชน์สูงสุด 1.2 ความเร็ว (Speed) การตัดสินใจด้วยความรวดเร็วทันต่อสถานการณ์ 1.3 พันธะหน้าที่ (Mission) กล่าวคือ ต้องทาหน้าที่ของตนเองให้สาเร็จลุล่วง ซึ่งนอกจากจะรับผิดชอบในหน้าที่ของเราแล้ว เราต้องพยายามให้ผู้อื่นมีส่วนร่วมในการดาเนินงาน ด้วย และยอมรับหน้าที่ด้วยความเต็มใจ
  • 21. 2. เชาว์อารมณ์ (EQ) หมายถึง ความฉลาดทางอารมณ์เป็นความสามารถในการ รับรู้และเข้าใจอารมณ์ของตนเองและผู้อื่น ตลอดจนสามารถควบคุมได้อย่างเหมาะสมกับสภาพการณ์ ดังนั้น การตัดสินใจทุกอย่าง ต้องได้รับอิทธิพลจากอารมณ์เสมอ ไม่มากก็น้อย แต่ผลกระทบจาก อารมณ์จะเกิดผลร้าย ก็ต่อเมื่อความถูกต้องถูกบดบัง เช่น การหมกม่นกับเปูาหมายมากเกินไป การ ท้ อ แท้ ท าให้ ค วามมั่ น ในลดลง หรื อ ความลิ ง โลด ก็ เ ป็ น อั น ตรายพอๆกั บ ความท้ อ แท้ เป็ น ต้ น เพราะฉะนั้น เราจึงควรหลีกเลี่ยงการทาพันธะหน้าที่ ข้อตกลงใดๆ เมื่อใจเราผิดปกติ ก่อนตัดสินใจ อะไร ควรทาใจให้ปกติ พิจารณาให้รอบครอบเสียก่อน 3. อคติทางการรับรู้ หมายถึง การที่เรานาเอาความคิดของเรามาเป็นหลัก มีความ เชื่อและสนั บ สนุ น ในความคิดของตนเองมากกว่าข้อที่ขัดแย้ง และพยายามหาข้อ มูล ที่ส นับสนั น ความคิดของตนเอง อีกทั้งยังหลีกเลี่ยงข้อมูลที่มีความขัดแย้งกับความคิดของตนเอง ซึ่งอคติต่อการ รับรู้นี้ สามารถทาให้เราบิดเบือนความจริงได้ ถึงแม้เราจะรับข้อมูลที่เป็นลบ เราก็ยังดื้อรั้นตัดสินใจ แบบนั้น ถ้าทาให้เราเชื่อว่าปัญหานั้นเป็นเรื่องชั่วคราว เปูาหมายอยู่ไม่ไกล ปัญหานี้มาจากอิทธิพล ภายนอก 4. ผลกระทบทางการเมือง ซึ่งการเมือง มีปรากฏอยู่ในทุกแห่ง เราคงเคยได้ยิน คาพูดว่า “ผู้หญิงคนนี้เป็นเด็กของหัวหน้ากอง เลยก้าวเร็วกว่าใคร” หรือ “เขาเส้นใหญ่ออกจะตาย ไป” คากล่าวเหล่านี้ล้วนเป็นลักษณะทางการเมืองที่มีผลต่อการตัดสินใจ ว่าใครจะได้รับรางวัลอะไร ตาแหน่งใด ซึ่งธรรมชาติทางการเมือง โดยทั่วไปมีลักษณะดังนี้ 4.1 มีความขัดแย้ง 4.2 มีความหลากหลาย ทั้งเปูาหมาย ทัศนคติ ที่ต่างกันออกไป และความ หลากหลายนี้มักมาพร้อมกับความไม่เสมอภาคในด้านต่างๆ เช่นอานาจ ผลประโยชน์ เป็นต้น 4.3 ผลประโยชน์ เป็นสิ่งที่คนหริอกลุ่มคนสนใจต้องการ ซึ่งเป็นต้นเหตุอย่าง หนึ่งทีทาให้เกิดการโต้เถียงอย่างดุเดือดในการตัดสินใจ
  • 22. จากองค์ประกอบในการตัดสินใจที่กล่าวมาจะพบว่า ทุกองค์ประกอบมีความสาคัญ และส่งผลถึงการตัดสินใจของมนุษย์ ซึ่ง ผลที่ออกมา จะประสบผลสาเร็จหรือล้มเหลวนั้น ขึ้นอยู่กับ ความมีเหตุ มีผลของผู้ตัดสินใจ ที่จะพิจารณาเลือกทางอันเหมาะสมและสร้างประโยชน์สูงสุด ซึ่งใน บางครั้ง การตัดสินใจที่เป็นปัญหายากลาบาก ไม่มีหลักวิ ชาหรือกฎเกณฑ์อะไรที่ช่วยในการตัดสินใจ เมื่อไตร่ตรองอย่างละเอียดแล้ว ยังไม่สามารถเลือกได้ ให้ผู้ตัดสินใจจงพิจารณาเลือกในทางที่เกิดผล เสียน้อยที่สุด หรือเลือกในทางที่แม้จะทาผิดแต่ไม่เสียใจภายหลังเพราะได้ทาอย่างดีที่สุดแล้ว ก็ให้ เลือกเอาทางนั้น ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจ ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจนั้น มีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภทด้วยกัน (ทิพย์วัลย์ สีจันทร์, 2546 หน้า 107 - 111) ได้แก่ 1. ปัจจัยภายนอก ปั จ จั ย ภายใน เป็ นลั ก ษณะส่ ว นบุ ค คลที่ มี ผ ลกระทบต่ อ การตั ด สิ นใจ ซึ่ ง ทุ ก ขั้นตอนของการตัดสินใจ ถูกกระทบมาจากความจริงที่ ว่าแต่ละคนมองตนเองและโลกรอบข้ างจาก ทัศนะที่เป็นลักษณะเฉพาะของตนเอง ทัศนะส่วนบุคคลสามารถอธิบายในเชิงส่วนประกอบได้สาม ส่วน ซึ่งทั้งสามส่วนนี้ ผสมผสานกันยากที่จะแยกให้ออกไปได้ คือ 1.1 กรอบของความคิ ด หมายถึ ง กรอบความคิ ด ของแต่ ล ะคน ได้ แ ก่ การ จัดระบบความรู้และประสบการณ์ที่ได้สะสมมาหรือที่แต่ละคนตีความหมายจากประสบการณ์ใหม่ พื้น ฐานความรู้เดิมมีส่วนในการกาหนดกรอบความคิด และกรอบแนวคิดนี้มีส่วนในการจากัดการรับรู้ของ ปัญหา ทาให้คนเรามองข้ามปัญหาที่สาคัญบางอย่างไป ในขณะเดียวกัน กรอบความคิดนี้ ยังส่ง ผลถึง ความสามารถในการแปลหรือตีความหมายเพื่อใช้แก้ปัญหา รวมไปถึงการจากัดความรู้เพื่อให้ ได้ ความรู้ ใ หม่ ๆ ดั งนั้ น พื้น ฐานความรู้ที่ม าก ถูก ต้อ งย่อ มเป็ นสิ่ งจาเป็ นต่อ การช่ว ยให้ เราคิ ดอย่ างมี ประสิทธิภาพ เพราะข้อมูลที่เรามีอยู่มีผลต่อการกาหนดอนาคต
  • 23. 1.2 ค่านิ ยม เป็นส่ วนประกอบส าคัญของลั กษณะส่ วนบุคคล ค่านิยมนี้ได้แก่ มาตรฐานและสิ่งที่บุคคลให้ความสาคัญในการดาเนินชีวิต ไม่ว่าจะรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวก็ตาม ค่านิยมที่เข ยึดถือจะเป็นสิ่งชี้นาในการดาเนินชีวิต ซึ่งค่านิยมที่ควรยึดถือปฏิบัติ คือ 1.2.1 การพึ่งตนเอง การขยันหมั่นเพียรและมีความรับผิ ดชอบ คือ การ รู้จักสิทธิและหน้าที่ของตนเองที่ควรกระทา รู้จักการรับผิดชอบตนเอง ไม่ทาตัวให้เป็นภาระแก่ผู้อื่น มี การปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้น มีความมานะพากเพียร ขยัน อดทนต่อการฟันฝุาอุปสรรค 1.2.2 การประหยัดและอดออม การประหยัดและอดออมเป็นการสอนให้ คนมีความละเอียดและรอบครอบรู้จักการวางแผนในการใช้เงินและสิ่งของให้คุ้มค่า ซึ่งเท่ากับเป็นการ ออมเพื่อสร้างหลักฐานให้มั่นคงขึ้นไปในวันข้างหน้า 1.2.3 การมีระเบียบวินัยและการเคารพกฎหมาย ได้แก่ การรู้จักทาตาม กฎเกณฑ์ ไม่ฝุาฝืน ไม่เห็นแก่ความสบายเล็กๆน้อยๆ หรือเห็นประโยชน์ของตนเองเป็นหลักจนขาด ระเบียบ เช่น การทิ้งขยะลงท้องถนนเพราะขี้เกียจเดินไปทิ้งที่ถังขยะ ส่วนกฎหมาย เป็นแนวทางให้ คนปฏิบัติตาม เพื่อให้สังคมเกิดความสงบสุข หากฝุาฝืนต้องได้รับโทษ 1.2.4 การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา ทุกศาสนาสอนให้คนมีความ เมตตากรุณาต่อกัน และมีการกระทาที่ดี มีจิตใจที่งดงาม มีพฤติกรรมที่ประกอบด้วยคุณธรรม สุจริต ทั้งกาย วาจา ใจ 1.2.5 ความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ชาติ คือ กลุ่มคนที่มีเชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และความเป็นมาในประวัติศาสตร์อย่างเดียวกัน ชาติจึงเป็นสมบัติของส่วนรวม ศาสน์ เป็น สถาบั น ที่ บุ ค คลให้ ก ารคาราวะอย่ า งสู ง สุ ด เพราะเป็ น สถาบั น ที่ส อนให้ ค นเป็ น คนดี โดยเฉพาะ สังคมไทยที่เปิดโอกาสให้คนไทยเลือกนับถือศาสนาใดก็ได้ตามศรัทธา ส่วนกษัตริย์ หมายถึง แบบ แผนการปกครองโดยมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ซึ่งเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจ และเป็นปัจจัยที่ช่วย ให้คนในชาติมีชีวิตอยู่รอด ดารงความเป็นเอกราชอยู่ได้ ดังนั้น พระมหากษัตริย์ไทยจึงเป็นมิ่งขวัญ และที่รักเคารพเทิดทูนของคนทั้งชาติ
  • 24. ส่วนค่านิยมที่ควรแก้ไข เช่น การขาดระเบียบวินัย การรักพวกพ้องในทางที่ผิด การ นิยมความสนุกสนาน นิยมของต่างประเทศ การเห็นแก่ตัว การเห็นแก่เงิน อิงผู้มีอานาจ การนิยมวัตถุ การฟุุ มเฟื อ ย หรู ห รา การเชื่ อ ถื อโชคลางไสยศาสตร์ เห็ น ใครดี ก ว่า ไม่ ไ ด้ การขาดแคลนความ รับผิดชอบ การไม่ละอายต่อบาป การพูดมากกว่าทา 1.3 ความรู้สึกนึ กคิดเกี่ยวกับตน หรือ อัตมโนทัศน์ คือความคิดเห็นส่วนตัว ซึ่งเป็นส่วนประกอบสาคัญส่วนที่สามของลักษณะส่วนบุคคล การที่บุคคลคิดว่าเขาเองเป็นคนเช่นไร ส่งผลต่อการคิดและการตัดสินใจของเขามาก แรงจูงใจสาหรับการคิดส่วนมากมาจากความต้องการ พื้นฐาน เพื่อพัฒนาและรักษาความคิดเห็นเป็นส่วนตัวที่พึงพอใจ ถ้าบุคคลอยู่คนเดียวในปุาดงดิบ ตลอดชีวิต ความสาคัญของความคิดเห็นเป็นส่วนตัวจะมีความสาคัญน้อยกว่าความปลอดภัยและสุข สบายทางกาย แต่ในสังคมที่ซับซ้อน สิ่งจาเป็นพื้นฐานสาหรับการดาเนินชีวิตได้มาไม่ยาก การรักษา ความคิดเห็นเป็นส่วนตัวที่ คนพึงพอใจย่อมมีความสาคัญมาก เพื่อรักษาความคิดเห็นเพียงส่วนตัวไว้ คนส่วนใหญ่จะยอมทนทรมานทางกาย หรือแม้แต่การที่เสี่ยงชีวิตของตนเอง เช่น ทหาร ตารวจ นักกู้ ระเบิด เป็นต้น 2. ปัจจัยภายนอก 2.1 ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ เป็ น ปั จ จั ย ที่ ชี้ ถึ ง การจั ด สรรการใช้ ท รั พ ยากรขององค์ ก ร ภายใต้ สิ่งแวดล้อมทางด้านเศรษฐกิจ เช่น ประชากร ปัจจัยรายได้ประชาชาติ อัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟูอ ทรัพยากรธรรมชาติ ระดับค่าจ้างและเงินเดือน เป็นต้น 2.2 ปัจจัยทางด้านสังคม เป็น การอธิบายถึงโครงสร้างทางสั งคมที่องค์กรจะต้องเข้าไปเกี่ยวข้อง เช่น ระดับการศึกษา ค่านิยม ความเชื่อ วิถีชีวิต อายุ เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยดังกล่าว ไม่ ว่าจะเป็นไปอย่างช้าๆ หรือย่างรวดเร็วต่างมีผลกระทบต่อการดาเนินงานขององค์กรทั้งสิ้น
  • 25. 2.3 ปัจจัยทางด้านการเมืองและกฎหมาย การพิจารณาถึงรูปแบบการปกครอง ความมั่นคงของรัฐบาล นโยบายของ รั ฐ และกฎหมายของรั ฐ ออกบั งคับ ใช้ เช่น นโยบายการจัด เก็บ ภาษี กฎหมายคุ้ม ครองผู้ บ ริโ ภค กฎหมายเรื่องคุณภาพและมาตรฐานสินค้า เป็นต้น 2.4 ปัจจัยด้านเทคโนโลยี เช่น การนาเทคโนโลยีมาใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์และบริการใหม่ๆ ออกสู่ตลาด การพัฒนาระบบการทางาน การใช้เครื่องมือ เครื่องจักรใหม่ๆ การนาคอมพิวเตอร์เข้ามา ช่วยในการทางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น จะเห็นได้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจนั้น มีทั้งจากปัจจัยที่มาจากภายในตั วเรา ได้แก่ กรอบแนวคิด ความเชื่อ ค่านิยม ความรู้สึกนึกคิดเกี่ยวกับตนเอง และปัจจัยภายนอก ได้แก่ เศรษฐกิจ สังคม กฎหมาย การเมืองการปกครอง และเทคโนโลยี
  • 26. บรรณานุกรม จานง แย้มพราย. (2534). เทคนิคการสอนกลุ่มสร้างเสริมประสบการณ์ชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนพานิช. ชาญชัย อาจินสมาจาร. (2551). ทฤษฎีการบริหาร ตามแนวคิดของปราชญ์ตะวันตก. กรงเทพมหานคร : ปัญญาชน. ชนงกรณ์ กุลฑลบุตร. (2546). หลักการจัดการ : องค์การและการจัดการแนวคิดการบริหารธุรกิจใน สถานการณ์ปัจจุบัน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ทิพย์วัลย์ สีจันทร์ และคณะ. (2546.). การคิดและการตัดสินใจ. กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎสวนดุสิต. ธงชัย สันติวงษ์. (2542). การบริหารงานบุคคล. พิมพ์ครั้งที่ 10 กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. นารี จันทร์ภิรมย์. (2551). การตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าเรียนระดับปฐมวัย ในโรงเรียนกลุ่มวัดเกต เทศบาลนครเชียงใหม่. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. สืบค้นเมื่อ 17 ตุลาคม 2556 จาก http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp รศนา อัชชะกิจ. (2537). กระบวนการแก้ปัญหา และตัดสินใจเชิงวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรมหาวิทยาลัย. วรรณา พรหมบุนย์. (2540). การศึกษาทักษะชีวิต ค่านิยมที่ใช้ในการให้คาปรึกษา. กรุงเทพฯ : ศูนย์การศึกษาแนะแนวและอาชีพ กรมวิชาการ. วิทยา ดารงเกียรติศักดิ์. (2542). สรุปทฤษฎีการสื่อสาร, เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยแม่โจ้. วุฒิชัย จานงค์. (2523). พฤติกรรมการตัดสินใจ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์โอเดียนสโตร์. สถิตาภรณ์ วงศ์เขียว.(2547). เหตุผลที่ผู้ปกครองส่งบุตรหลานเข้าศึกษาต่อในโรงเรียนเชียงใหม่ คณาวิทย์ เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 27. สิโรตม์ เสนาอาจ. (2547). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และความสามารถในการตัดสินใจของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนหน่วยมนุษย์ และสิ่งแวดล้อมด้วยการสอนการ แก้ปัญหาแบบอุดมการณ์ และการสอนโดยกระบวนการกระจ่างค่านิยม. บัณฑิต วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. สุรวัฒน์ ชมพูพงษ์. (2547). กระบวนการตัดสินใจนักบริหาร. เอกสารถอดเทปการบรรยายเรื่อง “กระบวนการตัดสินใจนักบริหาร”จากหลักสูตรนายอาเภอรุ่นที่ 56 ประจาปี 2547 วันที่ 30 กันยายน 2547 ณ โรงเรียนนายอาเภอ จัดโดย วิทยาลัยการ ปกครอง, กรมการปกครอง :กระทรวงมหาดไทย. เอกสารเผยแพร่. (2555). แผนยุทธศาสตร์พัฒนาอาเภอแม่ออน ปี 2555 – 2558 . ที่ทาการปกครอง อาเภอแม่ออน, กรมการปกครอง : กระทรวงมหาดไทย.